ไปหน้าแรก

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 1

พระอภิธรรมปิฎก

เล่มที่ ๗

ปัฏฐาน ภาคที่ ๕

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

อนุโลมทุกปัฏฐาน (ต่อ)

๕๕. สารัมมณทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑] ๑. สารัมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ

อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม

เกิดขึ้น

๑. บาลีเล่มที่ ๔๓.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 2

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัย

สารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณ-

ธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๔. อนารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฎฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย

เกิดขึ้น.

๕. สารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัย

หทยวัตถุ.

๖. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัยอนา-

รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัยหทย-

วัตถุ. กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๗. สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนา-

รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 3

๘. อนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนา-

รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๙. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณ-

ธรรม และอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม และมหาภูตรูป

ทั้งหลาย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๒] ๑. สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะ

อารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. สารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัย

หทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 4

๓. สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนา

รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๓] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี

๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑

วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี

๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย

มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปป-

ยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ

ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๔] ๑. สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 5

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. อนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม ซึ่ง

เป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัย

สารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม

ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. อนารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ มหาภูตรูป

๑ ฯลฯ

๕. สารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 6

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัย

หทยวัตถุ.

๖. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัยอนา-

รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัย

หทยวัตถุ กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๗. สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนา-

รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณ-

ธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๘. อนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนา-

รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม ซึ่ง

เป็นอเหตุกะ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๙. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัย

สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย,

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณ-

ธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม และมหาภูตรูป

ทั้งหลาย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 7

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๕] ๑. อนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อนารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ ฯลฯ ตลอดจนถึงอสัญญสัตว์.

๓. อนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนา-

รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมันนตรปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 8

ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย

มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย

มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๗] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ. . . ใน

นอธิปติปัจจัยมี ๙ วาระ ฯลฯ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในนวิปปยุตต-

ปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๘] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ . . . ใน

สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙

วาระ.

ปฏิจจวาระ จบ

สหชาตวาระเหมือนกับปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 9

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๙] ๑. สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓) เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. อนารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๕. สารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๖. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัยอนา-

รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๗. สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนา-

รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 10

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรมและหทยวัตถุ

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๘. อนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนา-

รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๙. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัยสา-

รัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม และหทยวัตถุ

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม และมหา

ภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๐] ๑. สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัย

ขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 11

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. สารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัย

กายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนา-

รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และ

จักขายตนะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ และกายายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ

อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๑] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ใน

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 12

นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปาก-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ

ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓

วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย

มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๒] ๑. สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๒ - ๓) เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. อนารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัย

มหาภูตรูป ๑.

๕. สารัมมณธรรม อาศัยอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกา-

ยายตนะ, ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 13

ในปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ

อาศัยหทยวัตถุ.

๖. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัยอนา-

รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๗. สารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนา-

รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจัก

ขายตนะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ

อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๘. อนารัมมณธรรม อาศัยสารัมมณธรรม และอนา-

รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสามรัมมณธรรม ซึ่ง

เป็นอเหตุกะ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 14

๙. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม อาศัยสา-

รัมมณธรรมและอนารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม และหทยวัตถุ

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม ซึ่งเป็น

อเหตุกะ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม

ซึ่งเป็นอเหตุกะ และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

และมหาภูตรูปทั้งหลาย ฯลฯ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนวิปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ

ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 15

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ... ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในนวิปป-

ยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ.

ฯลฯ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.... ใน

อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย

มี ๙ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ

ปฏิจจวาระ จบ

นิสสยวาระ เหมือนกับปัจจยวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 16

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๖] ๑. สารัมมณธรรม เจือกับสารัมมณธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒

เจือกับขันธ์ ๒ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๗] ในเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี

๑ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๘] ๑. สารัมมณธรรม เจือกับสารัมมณธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 17

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เจือกับขันธ์

ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

นปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๑ วาระ ในนกันมปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๑ วาระ.

สังสัฏฐวาระ จบ

การนับจำนวนวาระสองวาระนอกจากนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึง

กระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 18

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๐] ๑. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ สารัมมณเหตุทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ สารัมมณเหตุทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม และ

อนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ สารัมมณเหตุทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 19

๒. อารัมมณปัจจัย

[๒๑] ๑. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรมแล้วพิจารณาซึ่ง

กุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น

ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมที่ตนสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน

ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายพิจารณาโคตรภู พิจารณาโวทาน.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค, พิจารณาผล,

พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว.

บุคคลรู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.

บุคคลพิจารณาขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสารัมมณธรรม โดยความเป็นของ

ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลรู้จิตของบุคคลที่พร้อมเพรียงด้วยสารัมมณจิต ด้วยเจโตปริย-

ญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญ-

จัญญายตนะ เป็นปัจจยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

สารัมมณขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่เจโตปริยญาณ

แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่

อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 20

๒. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่

อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูป ด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียง ด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น

ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

อนารัมมณขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิญญาณ, แก่เจโตปริย-

ญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ

แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๒๒] ๑. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทำกุศลกรรม

นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 21

เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น

ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ

พิจารณากุศลกรรมที่สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว

ทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว ทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น ฯลฯ ทำผลให้เป็นอารมณ์หนักแน่น ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำสารัมมณขันธ์

ทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำสารัมมณขันธ์นั้นให้เป็น

อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

สารัมมณอธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจ

ของอธิปติปัจจัย.

๒. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

สารัมมณอธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม และ

อนารัมมณธรรม

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 22

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

สารัมมณอธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐาน-

รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลายกระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว

พิจารณา.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่ โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ

๔. อนันตรปัจจัย

[๒๓] ๑. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ สารัมมณธรรมที่เกิดก่อน ๆ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 23

๕.สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยพลังอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ

เป็นปัจจัย ด้วยพลังอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ เหมือน

กับสหชาตปัจจัย ในปฏิจจวาระ

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ เหมือน

กับอัญญมัญญปัจจัยในปฏิจจวาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ เหมือนกับ

นิสสยปัจจัยในปฏิจจวาระ.

๙.อุปนิสสยปัจจัย

[๒๔] ๑. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลที่เข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ย่อมให้ทาน ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัย ศีล ฯลฯ ปัญญา ความปรารถนา สุขทางกาย

ทุกข์ทางกายแล้ว ย่อมให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด, ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลาย

สงฆ์.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 24

ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์

ทางกาย เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ราคะ แก่ความปราถนา แก่สุขทางกาย

แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัย อุตุ โภชนะ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยัง

สมาบัติให้เกิด ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

อุตุ โภชนะ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา

แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๒๕] ๑. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 25

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักษุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น

ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย

แก่กายวิณญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่สารัมมณขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเร-

ชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๒๖] ๑. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม

ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ.

๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๒๗] ๑. สารัมมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม ด้วย

อำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ.

๑๓.กัมมปัจจัย

[๒๘] ๑. สารัมมณปัจจัยแก่สารัมมณธรรม ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 26

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

สารัมมณเจตนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ

กัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

สารัมมณเจตนา เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ

กัมมปัจจัย.

๒. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

สารัมมณเจตนา เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ

ของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

สารัมมณเจตนา เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ

กัมมปัจจัย.

๓. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม และ

อนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 27

สารัมมณเจตนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

สารัมมณเจตนา เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๒๙] สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม ด้วย

อำนาจของวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ.

๑๕. อาหารปัจจัย

[๓๐] ๑. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม ด้วย

อำนาจของอาหารปัจจัย. มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑-๒-๓)

๔. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม

ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ กฬฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๑๖. อินทริยปัจจัย

[๓๑] ๑. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม ด้วย

อำนาจของอินทริยปัจจัย. มี ๓ วาระ (วาระ๑-๒-๓)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 28

๔. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม

ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ

อินทริยปัจจัย.

๕. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม

ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ เป็น

ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๖. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เป็นปัจจัย

แก่สารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ จักขุนทรีย์ และจักขุวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่

สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ และ

กายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ด้วยอำนาจ

ของอินทริยปัจจัย.

๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๓๒] ๑. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม ด้วย

อำนาจของฌานปัจจัย. มี ๓ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 29

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๓๓] ๑. สารัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

๒. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่สารัมมณขันธ์ทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย

แก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๓๔] ๑. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม เป็นปัจจัยขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจ

ของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 30

๒. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม และ

อนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย. เหมือนกับปฏิจจวาระ

๔. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม

ด้วยอำนาจอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๕. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ อาหาระ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่สารัมมณขันธ์ทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น

ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 31

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักษุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย

แก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่สารัมมณขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิ

ปัจจัย.

๖. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เป็นปัจจัย

แก่สารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ และกายายตนะ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ขันธ์ ๑ ที่เป็นสารัมมณธรรม หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๗. สารัมณธรรม และอนารัมมณธรรม เป็นปัจจัย

แก่อนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ

และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

สารัมมณขันธ์ และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 32

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

สารัมมณขันธ์ ที่เกิดภายหลัง และกพฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

สารัมมณขันธ์ที่เกิดขึ้นภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตา-

รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๓๕] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑

วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนิสสย-

ปัจจัยมี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ

ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓

วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ในอินทริยปัจจัย

มี ๖ วาระ ในฌานปัจจัยมี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตต-

ปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัตถิปัจจัย ๗ วาระ ใน

นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๓๖] ๑. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 33

ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. สารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม และ

อนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของกัมมปัจจัย.

๔. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนารัมมณธรรม

ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. อนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สารัมมณธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย.

๖. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่

สารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของปุเรชาตปัจจัย.

๗. สารัมมณธรรม และอนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่

อนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 34

ของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนารัมมณปัจจัย ๗ วาระ ฯลฯ

ในนสมนันตรปัจจัยมี ๗ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอัญญมัญญ-

ปัจจัย มี ๖ วาระ ในนิสสยปัจจัยมี ๖ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย ๗ วาระ ฯลฯ ใน

นมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๕ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ใน

โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๓๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ. . . ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญ-

มัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ

ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 35

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๓๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ.... ใน

อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา

ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

สารัมมณทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 36

๕๖. จิตตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๐] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป อาศัยจิต.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต, ขันธ์ ๑

และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ, อาศัยขันธ์ทั้งหลาย อาศัย

หทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๓. ธรรมที่เป็นจิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต.

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต.

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 37

๔. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรม

ที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒, จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต,

ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ จิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต.

ขันธ์ ๑, จิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต และธรรม

ที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต และจิต,

ขันธ์ ๒ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิตและมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต

และจิต, ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยจิต และหทยวัตถุ.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๔๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 38

คือ ขันธ์ ๒ อาศัย อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต, ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๓. ธรรมที่เป็นจิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต.

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต.

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทยวัตถุ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรม

ที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต, ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต,

ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต และธรรม

ที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต และจิต ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิต อาศัยจิต และหทยวัตถุ.

ฯลฯ

การนับจำนวนปัจจัยในอนุโลม

[๔๒] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 39

๕ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี

๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปาก-

ปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๕ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๕ วาระ

ในฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕

วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๕ ปัจจัย ในนัตถิ-

ปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๔๓] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอเหตุกจิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต ฯลฯ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่

สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยจิตที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ซึ่ง

เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 40

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๓. ธรรมที่เป็นจิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทยวัตถุ

๔. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรม

ที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒, จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต

ซึ่งเป็นอเหตุกะ, ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทย-

วัตถุ.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต และธรรม

ที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ซึ่ง

เป็นอเหตุกะ และจิต, ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่

ไม่ใช่จิต และจิต, ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 41

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่ไม่ใช่จิต อาศัยจิต และหทยวัตถุ,

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยยอุทธัจจะ อาศัยจิตที่สหรคตด้วย

วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๔๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต และธรรม

ที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต และสัปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, จิตต-

สมุฏฐานรูปอาศัยจิต และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

กฏัตตารูป อาศัยจิต และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 42

๓. นอธิปติปัจจัย

[๔๕] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต เกิดขึ้น

เพราะนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ.

๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย

เพราะนอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.

๘. นปุเรชาตปัจจัย

[๔๖] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต เกิดขึ้น

เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตาปัจจัย อาศัยจิต.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. ธรรมที่เป็นจิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

เพราะนปุเรชาตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 43

คือ ในอรูปภูมิ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต.

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทยวัตถุ.

๔. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรม

ที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต และธรรม

ที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ที่ไม่ใช่จิต และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต และจิต.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยจิต และหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย,

กฏัตตารูป อาศัยจิต และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย

เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย

๑๑. นกัมมปัจจัย

[๔๗] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต เกิดขึ้น

เพราะนกัมมปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 44

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยจิต.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

เพราะนกัมมปัจจัย

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต และธรรม

ที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต และจิต

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัยมี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี

๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มีวาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี

๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 45

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ. . . ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ.

ฯ ล ฯ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระปัจจนียะ

[๕๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ. . . ใน

อนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๕ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓

วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

สหชาตวาระ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 46

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ และจิต สมุฏฐานรูป อาศัยจิต, ในปฏิสนธิขณะ

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป, ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต

อาศัยหทยวัตถุ.

๓. ธรรมที่เป็นจิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต, จิต อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต.

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทยวัตถุ.

๔. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรม

ที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒, จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 47

จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒, จิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่

ใช่จิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต และธรรม

ที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต และ

จิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยจิตและหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต

และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยจิตและหทยวัตถุ.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๕๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยหทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 48

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักษุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ ขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต

อาศัยหทยวัตถุ.

๓. ธรรมที่เป็นจิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต, จิต อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต.

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทยวัตถุ.

จักษุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.

๔. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรม

ที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิณะ จักษุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย

จักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยกายายตนะ.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต และธรรม

ที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยจิต และหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยจิต และหทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 49

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักษุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ และจักขุ-

วิญญาณ ฯลฯ อาศัยกายายตนะ และกายวิญญาณ.

ฯ ล ฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๓] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย

มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอเหตุจิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต

ด้วยอุทธัจจะ อาศัยจิตที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ซึ่ง

เป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกะปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 50

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักษุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ ขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ซึ่งเป็นอเหตุกะ, จิต อาศัย

หทยวัตถุ.

อเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทยวัตถุ, จักขุวิญญาณ อาศัย

จักขายตนะ ฯลฯ อาศัยกายายตนะ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

ที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒, จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต

ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ อาศัยกายายตนะ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 51

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิต อาศัยธรรมที่เป็นจิต และธรรม

ที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ซึ่งเป็น

อเหตุกะ และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยจิต และหทยวัตถุ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต อาศัยจิต และ

หทยวัตถุ.

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักษุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ และจักขุ-

วิญญาณ ฯลฯ อาศัยกายายตนะ ฯลฯ

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และจิต.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย ที่ ๕ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ

ในฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 52

มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ

ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๖] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ . . . ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ.

ปัจจานียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจานียานุโลม

[๕๗] เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ... ใน

อนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๕ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ

ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

นิสสยวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 53

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๘] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เจือกับธรรมที่เป็นจิต เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เจือกับธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับธรรมที่ไม่ใช่จิต, ขันธ์ ๑ เจือกับขันธ์ ๒

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เจือกับธรรมที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เจือกับธรรม

ที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิต เจือกับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 54

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เจือกับธรรมที่เป็นจิต และธรรม

ที่ไม่ใช่จิต เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๙] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๕ วาระ.

การนับทั้งสองวาระนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้

ทั้งหมด.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 55

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่กรรมที่เป็นจิต และ

ธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์, จิต และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๖๒] ๑. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต ด้วย

ำนาจของอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 56

คือ จิต ปรารภจิต เกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๒)

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ปรารภจิต เกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ปรารภจิต เกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน รักษาศีล กระทำอุโบสถกรรม แล้วพิจารณา

ซึ่งกุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลนั้น ราคะ

ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น

พิจารณากุศลที่ตนอบรมมาดีแล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลาย ออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค, พิจารณาผล,

พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่

อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่ไม่ใช่จิต พิจารณากิเลส

ที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นในกาลก่อน.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ และ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต

โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 57

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วยเจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ ฯลฯ

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักษุวิญญาณ ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิญญาณ, แก่เจโตปริยญาณ,

แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่

อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

มีคำอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีตอนต้น ที่ว่าบุคคลให้ทาน ฯลฯ

ไม่มีแตกต่างกัน ข้อที่ต่างกันมีแต่ว่า รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักษุวิญญาณ ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ, ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต เป็น

ปัจจัยแก่อิทธิวิญญาณ ฯลฯ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมเป็นจิตและ

ธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

มีคำอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีตอนต้น ที่ว่าบุคคลให้ทาน ฯลฯ

ไม่มีแตกต่างกัน ข้อที่ต่างกันมีแต่ว่า รูปายตนะเป็นปัจจัยและก็จักษุวิญญาณ และ

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ และ

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ ฯลฯ

แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 58

๗. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่

ธรรมที่เป็นจิต ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ จิต ปรารภจิต เเละสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย มี ๓ วาระ (วาระ

ที่ ๗-๘-๙)

๓. อธิปติปัจจัย

[๖๓] ๑. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

จิต ทำจิตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมเกิดขึ้น.

๒. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ทำจิตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว

ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

จิตตาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต และ

ธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 59

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ทำจิตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

แล้ว ย่อมเกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ

บุคคลกระทำกุศลธรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา

ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลธรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลธรรมที่ตนอบรมมาดีแล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค, ผล ฯลฯ

นิพพาน ฯลฯ กระทำให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน แก่มรรค, แก่ผล, ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต

ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ

กระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ

ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 60

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

คำอธิบายทั้งสองอย่างนี้ เหมือนกับคำอธิบายตามบาลีตอนต้น ไม่มี

แตกต่างกัน พึงกระทำทั้งอารัมมณาธิปติ และสหชาตาอธิปติ.

๖. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่เป็นจิต ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ แม้ทั้ง ๓ วาระ (วาระที่๗ - ๙)

ธรรมที่พึงทำให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ก็เป็นอารัมมณาธิปติ

อย่างเดียว.

๔. อนันตรปัจจัย

[๖๔] ๑. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จิตที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

๒. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่เป็นจิต

อำนาจของอนันตรปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 61

คือ จิตที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตที่เกิด

หลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

จิต เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๓. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต และ

ธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จิตที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่จิต ที่เกิดหลัง ๆ และสัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตที่เกิดก่อน ๆ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

แม้ ๒ วาระเหล่านั้น (วาระที่ ๕ - ๖) พึงกระทำโดยบริบูรณ์ เหมือน

กับข้อความตามบาลีที่มีอยู่ตอนต้น.

๗. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัย

ธรรมที่เป็นจิต ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

คือ จิตที่เกิดก่อน ๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิต

ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย ฯลฯ

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๘)

จิตที่เกิดก่อนๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย

ที่ไม่ใช่จิตที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 62

จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจ

ของอนันตรปัจจัย.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๙)

จิตที่เกิดก่อน ๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิด

หลัง ๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ

เหมือนกับปฏิจจวาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ เหมือนกับ

ปัจจยวาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๖๕] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

จิต เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.

(วาระที่ ๑ - ๒ - ๓)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 63

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาให้ทาน ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

เข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะ ให้ทาน ฯสฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่

มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิตด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

แม้ ๒ วาระเหล่านี้ (วาระที่ ๕ - ๖) พึงกระทำให้สมบูรณ์ เหมือน

กับข้อความตามบาลี ที่มีอยู่ข้างต้น ไม่มีแตกต่างกัน.

๗. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่เป็นจิต ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗ - ๘ - ๙)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 64

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๖๖] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักษุวิญญาณ ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักษุวิญญาณ ฯลฯ

กายายตนะ ฯลฯ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ด้วยอำนาจ

ของปุเรชาตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัย แก่ธรรมที่เป็นจิต

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 65

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น

ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย

แก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต และ

ธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ และ

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 66

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจ

ของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๖๗] ๑. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต

ด้วยอำนาจของปัจฉาปัจจัย ฯลฯ

๒. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๓. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๖๘] ๑. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต ด้วย

อำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๖๙] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 67

เจตนาที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่วิบากจิต ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต และ

ธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย, จิต และกฏัตตารูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 68

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๖. อินทริยปัจจัย

[๗๐] ๑. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วย

อำนาจของวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๕ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๕ วาระ.

๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๗๑] ๑. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต

ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๗๒] ๑. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 69

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจ

ของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุ เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ

กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ด้วยอำนาจของ

วิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของวิปปยุตต-

ปัจจัย

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย

แก่กายวิญญาณ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 70

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต และ

ธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจ

ของวิปปยุตตปัจจัย.

๕. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ฯลฯ

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๗๓] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 71

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

และ อินทริยะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่จิต ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

เหมือนกับปุเรชาตะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต และ

ธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วยอำนาจอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 72

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒, จิต และจิตตสมุฏฐานรูป

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้ง

หลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ เหมือนกับปุเรชาตะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ปัจฉาชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่จิต และจิต เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐาน-

รูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

จิตและหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิต ด้วยอำนาจ

ของอัตถิปัจจัย

แม้ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มีทั้ง ๒ ข้อ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 73

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

จิตและมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด

ก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

จิต, สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เกิดภายหลัง และกพฬีการาหาร เป็น

ปัจจัยแก่กายเหล่านี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

จิต, สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็น

ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

การนับจำนวนในวาระอนุโลม

[๗๔] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ

ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาหารปัจจัย มี

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 74

๕ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๕ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคค

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕

วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

[๗๕] ๑. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของปัจฉาชาตปัจจัย.

๓. ธรรมที่เป็นจิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วย

ธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

อาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 75

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นจิต และ

ธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๗. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่เป็นจิต ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของอุปนิสยปัจจัย

๘. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๙. ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่เป็นจิต และธรรมที่ไม่ใช่จิต ด้วยอำนาจของอารัมมณ-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๗๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 76

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๗๗] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ. . . ฯลฯ

ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในน

อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ

ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๗๘] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติ-

ปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงกระทำอนุโลมมาติกา

จิตตทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 77

๕๗. เจตสิกทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๙] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิด-

ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก.

ในปฏิสนธิขณะ จิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก.

๓. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย

ธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก,

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 78

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต, หทยวัตถุ อาศัยจิต, จิต

อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตา

รูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๕. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก อาศัยหทยวัตถุ.

๖. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และ

ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ที่เป็นเจตสิก และจิต ฯลฯ

อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 79

๘. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และ

ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย.

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และมหาภูตรูป

ทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิกและจิต.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเจตสิกและ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ.

๙. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย

ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุ-

ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และ

จิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

เจตสิก และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และ

หทยวัตถุ, ขันธ์ ๑ และจิต อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๘๐] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิด

ขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 80

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก, ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก

เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย

ธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ฯลฯ อาศัย

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทยวัตถุ.

๕. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก อาศัยหทยวัตถุ.

๖. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 81

คือ ในปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และ

ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ฯลฯ อาศัย

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ฯลฯ

อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ .

๘. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และ

ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และ

หทยวัตถุ.

๙. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย

ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัม-

มณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก

และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๓. อธิปติปัจจัย

[๘๑] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิด

ขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 82

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๘๒] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี

๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัย

ทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๘๓] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิด

ขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ

อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย

อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ซึ่ง

เป็นอเหตุกะ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 83

๓. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย

ธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเจตสิก ซึ่ง

เป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิตซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต.

หทยวัตถุ อาศัยจิต จิต อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป

๑ ฯลฯ

๕. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิตซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะทั้งหลายที่เป็นเจตสิก อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยจิต ที่

สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๖. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 84

คือสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิตซึ่งเป็น

อเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูป

อาศัยจิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทย-

วัตถุ.

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก และอาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และ

ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ซึ่งเป็นอเหตุกะและจิต

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิกและจิต

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และ

หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย

ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และจิต.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และ

ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ซึ่งเป็น

อเหตุกะและจิต, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ซึ่งเป็น

อเหตุกะและมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 85

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก

และจิต

ในอเหตุกปฎิสนธิณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก

และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และ

หทยวัตถุ.

๙. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย

ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะนเหตุ-

ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ซึ่ง

เป็นอเหตุกะ และจิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่

เป็นเจตสิก และจิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๘๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก

เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 86

๒. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก

และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และมหาภูตรูป

ทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ วาระ ฯลฯ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๘๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๖ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี

๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโน

วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 87

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระอนุโลมปัจจนียะ

[๘๖] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ . . . ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๘๗] เพราะนเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ . . . ฯลฯ

ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย

มี ๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในมัคค-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 88

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๘] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิด

ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ (วาระที่ ๑-๓).

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

จิต อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต, หทยวัตถุ อาศัยจิต, จิต

อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๕. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต, สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็น

เจตสิก อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

๖. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 89

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก และ

ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก, จิต และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัย

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และ

ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และมหาภูตรูป

ทั้งหลาย.

จิตอาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงทำทั้ง ๓ วาระ.

๙. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย

ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุ-

ปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 90

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก

และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ ฯลฯ

อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๘๙] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิด

ขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนปฏิจจวาระ (วาระที่

๑-๒-๓)

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัย

กายายตนะ, จิต อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายทั้งสหรคตด้วยจักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ

อาศัยกายายตนะ.

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 91

๖. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ

อาศัยกายายตนะ ฯลฯ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มี ๑ วาระ

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก และ

ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขุ-

วิญญาณ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒, ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ

ขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ มี ๒ วาระ.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก

และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และ

จักขายตนะ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ

จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ มี ๑ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 92

๙. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก อาศัย

ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะ

อารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุ-

วิญญาณ และจักขายตนะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ ฯลฯ

อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มี ๑ วาระ.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๙๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๙๑] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก อาศัยธรรมที่เป็นเจตสิก เกิด

ขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ เจตสิกที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ มี ๙ วาระ แม้ปัญจวิญญาณ พึง

กระทำเหมือนอารัมมณปัจจัย โมหะ มีใน ๓ วาระเท่านั้น วาระทั้งปวง ผู้มี

ปัญญาพึงกระทำโดยปวัตติ และปฏิสนธิ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 93

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๙๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี

๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัยมี ๑ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี

๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๙๓] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ. . . ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระปัจจนียานุโลม

[๙๔] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ. . . ใน

อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓

วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 94

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๙๕] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เจือกับธรรมที่เป็นเจตสิก

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เจือกับธรรมที่เป็นเจตสิก

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๓. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เจือ

กับธรรมที่เป็นเจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก ฯลฯ เจือกับ

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๔. ธรรมที่เป็นเจตสิก เจือกับธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 95

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๕. ธรรมที่เป็นเจตสิก เจือกับธรรมที่เป็นเจตสิก และ

ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และจิต ฯลฯ เจือกับ

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๙๖] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๙๗] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เจือกับธรรมที่เป็นเจตสิก

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พึงกระทำเป็น ๕ วาระ อย่างนี้.

โมหะ มีใน ๓ วาระ เท่านั้น ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 96

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๙๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๕ วาระ.

การนับจำนวนวาระอีกสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำ

อย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 97

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๙๙] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๒. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจต-

สิก ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่จิต และจิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๓. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก

ธรรมที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย,

จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 98

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๐๐] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจต-

สิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก

ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๒)

จิต ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก

ย่อมเกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลาย ออกจากมรรค ฯลฯ พิจารณาผล พิจารณา

นิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่

อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก

โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภ

จักษุเป็นต้นนั้น จิต ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 99

บุคคลรู้ซึ่งจิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ซึ่งเป็นธรรมที่ไม่ใช่

เจตสิก ด้วยเจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ ฯลฯ อาภิญจัญญายตนะ ฯลฯ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่เจโต-

ปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ,

แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลาย ออกจากมรรค ฯลฯ พิจารณานิพพาน มี

คำอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีข้างต้น.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุขันธ์ที่ไม่ใช่เจตสิก โดย

ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยเจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญา-

นาสัญญายตนะ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่เจโต-

ปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ,

แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 100

๖. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัยจัย

คือ พระอริยะทั้งหลาย ออกจากมรรค ฯลฯ พิจารณานิพพาน มีคำ

อธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีข้างต้น.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก

โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภ

จักษุเป็นต้นนั้น จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่เจโต-

ปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ,

แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก

และจิต ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๘)

จิต ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๙)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 101

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก

และจิต ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๑๐๑] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก

เจตสิก ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเจตสิก ทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิกให้เป็น

อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๒)

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

จิต ทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว

ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 102

อธิปติธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่จิต และจิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๓)

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิกให้

เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, จิต

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

เจตสิก ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ ทำนิพพาน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว

พิจารณา.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิก ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุ

เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว จิต ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 103

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ ทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ

มีคำอธิบายเหมือนกับคำภาษาบาลีข้างต้น.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะการกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่เจตสิกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุ

เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อม

เกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

๖. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 104

พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ พิจารณานิพพาน ฯลฯ มีคำอธิบายเหมือนกับ

ข้อความตามบาลีข้างต้น.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์หลายที่ไม่ใช่

เจตสิกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่นแล้ว ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ.

มี ๓ วาระ เป็นอารัมมณาธิปติอย่างเดียว (วาระที่ ๗-๘-๙)

๔. อนันตรปัจจัย

[๑๐๒] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายทั้งเป็นเจตสิก ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๒)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 105

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิกที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลัง ๆ

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิกที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่

เป็นเจตสิกที่เกิดหลัง ๆ และจิต ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

เจตสิก ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย

คือ จิตที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

พึงกระทำเป็น ๓ วาระ (วาระที่ ๔-๕-๖) ดังที่กล่าวมา พึงยังคำ

อธิบายให้บริบูรณ์ เหมือนกับบาลีข้างต้น ไม่มีแตกต่างกัน.

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗-๘-๙)

อาวัชชนะก็ดี วุฏฐานะก็ดี ไม่มี.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 106

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

เหมือนกับปฏิจจวาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ

เหมือนกับปฏิจจวาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ

เหมือนกับปัจจยวาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๑๐๓] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๒) มี ๓ อุปนิสสยะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓) มี ๓ อุปนิสสยะ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 107

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก

และจิต ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

เจตสิก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัย อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ, จิต แล้ว

ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา

ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์

ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ อุปนิสสยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัย อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ, จิต แล้ว

ให้ทาน ฯลฯ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔-๕-๖) มีคำอธิบายเหมือนกับข้อความ

ตามบาลีข้างต้น ไม่มีแตกต่างกัน.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 108

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่เป็นเจตสิก

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗-๘-๙)

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๑๐๔] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

เจตสิก ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น จิต ย่อม

เกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น

ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย

แก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 109

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัทตุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ

ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น จิต และ

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 110

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ

กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจ

ของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๑๐๕] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

เจตสิก ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

เจตสิก ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๓. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

ฯลฯ

๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๑๐๖] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 111

๑๓. กัมมปัจจัย

[๑๐๗] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาเจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ

กัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาเจตสิก เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมม-

ปัจจัย.

๒. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

เจตสิก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาเจตสิก เป็นปัจจัยแก่จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย

อำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาเจตสิก เป็นปัจจัยแก่จิตที่เป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย

ด้วยอำนาจกัมมปัจจัย.

๓. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 112

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาเจตสิก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, จิต และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาเจตสิก เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย, จิต และ กฏัตตารูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๑๐๘] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิกด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๑๐๙] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

เจตสิก ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 113

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

เจตสิก ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

จิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตต-

ปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ จิต เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ

ของวิปปยุตตปัจจัย, จิต เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตต-

ปัจจัย, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตต-

ปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

จิต ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจ

วิปปยุตตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 114

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ

กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของ

วิปปยุตตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก

และจิต ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ

กายายตนะ, ฯลฯ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 115

๕. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ ฯลฯ

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๑๑๐] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

เจตสิก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๑ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

เจตสิก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

และ อินทริยะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 116

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

จิต เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ จิต ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

เหมือนปุเรชาตะ ไม่แตกต่างกัน.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นเจตสิก

และจิต ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

เหมือนกับปุเรชาตะ ไม่แตกต่างกัน.

เจตสก และ รรมท ไม่ใ ่เจตส้ก ดว่ยอำนาจ องอตั ปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือทีเป็น ส าตะ แล่ ปุเรฬาต

ท เป็น สทซาดะ ได้แก่ ้ ่

จิค เป็นปัจจัยยแก่สัมปยุต ชัน ์ และ.จิค สมุ ฐานรูปทง่หลาย คว้ย

อำนาจ องอั ่ ปัจจัยย.

ในปฏิสน ิขณะ จิ ฯลฯ

ในปฎิสนิ ณะ หทยวัตถุ เบ่หปัจจัยแก่ ัห์ ่งหลายทีเป็นเจตสิก

แล่จิค คว้ยอำนาจของอั ถิปัจจัย.

ท เป็น ปุเร าดะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โคยความเบืหของไห่่เท ยง ฯลฯ

เหหือนกบั ปุเรชา ะ ไ ่แคกค่างกนั ่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 117

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก

และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์

๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจ

ของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ วาระ

๘. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ , สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ,

ปัจฉาชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัย

แก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต เป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 118

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก, จิต และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๓ วาระ.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่

กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร

เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกัน อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเจตสิก และจิต ที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์

เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๙. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก และธรรมที่เป็นเจตสิก

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 119

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ และกายายตนะ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๒ และกายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ขันธ์ ๑ ที่เป็นเจตสิก และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิต

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๑๑] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ

ในกัมมปัจจัย ๓ วาระ ในวิปากปัจจัยมี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัยมี ๓ วาระ

ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัยมี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๑๑๒] ๑. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 120

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมม-

ปัจจัย.

๓. ธรรมที่เป็นเจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 121

๖. ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

เจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๗. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

๘. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย และด้วย

อำนาจของ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ

และรวมกับ อินทริยะ.

๙. ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นเจตสิก และธรรมที่ไม่ใช่เจตสิก ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย และ สหชาตะ รวมกับ

ปุเรชาตะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๐๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 122

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียานุโลม

[๑๑๔] เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ . . . ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย

มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ

ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจานียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๑๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ. . . ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

เจตสิกทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 123

๕๘. จิตตสัมปยุตตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๑๖] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ขันธ์ ๑ อาศัย-

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. จิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม

อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมป-

ยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 124

คือ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูป

ทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทา-

รูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๕. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม อาศัย

หทยวัตถุ.

๖. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม

อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม อาศัย

หทยวัตถุ กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๗. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม

และจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์๒.

๘. จิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม

และจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม

และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 125

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายเป็นจิตตสัมปยุตต-

ธรรม และภูตรูปทั้งหลาย

๙. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม

อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และมหา-

ภูตรูปทั้งหลาย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๑๗] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์๑ เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตธรรม อาศัย

หทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 126

๓. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม

และจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๑๘] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓

วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนิสสย-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ

ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙

วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตต-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๑๙] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 127

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ซึ่งเป็น

อเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย

อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

พึงกระทำทั้ง ๙ วาระ ดังกล่าวมา พึงกำหนดในบททั้งปวงว่าอเหตุกะ

โมหมูลอย่างเดียวเท่านั้น พึงให้เต็ม.

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๑๒๐] ๑. จิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. จิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. จิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม

และจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม

และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 128

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๒๑] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ

ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๒๒] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ. . .ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๕ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ

ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 129

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๒๓] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ. . .ใน

อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอัญญมัญญ-

ปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย มี๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑

วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคต-

ปัจจัย มี ๙ วาระ.

สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 130

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๒๔] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่๑-๓) เหมือนกับ

ปฏิจจวาระ

๔. จิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๕. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ

ในปฏิสนธิขันธ์ ฯลฯ

๖. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม

อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๗. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม

และจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 131

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และหทยวัตถุ

ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๘. จิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม

และจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม

และมหาภูตรูปทั้งหลาย

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๙. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม

อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ-

เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และหทยวัตถุ

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๒๕] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 132

๒. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ

อาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

๓. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม

และจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขา-

ยตนะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ และกายายตนะ.

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๒๖] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ

ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 133

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๒๗] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่๑-๓) เหมือนกับ

ปฏิจจวาระ.

๔. จิตตวิปปยุตตธรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๕. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ

อาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทย-

วัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ

อาศัยหทยวัตถุ.

๖. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม

อาศัยจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัย

หทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 134

๗. จิตตสัมปยุตตธรรม อาศัยจิตตสัมปยุตตธรรม

และจิตตวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขา-

ยตนะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณและกายายตนะ.

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกะปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย

อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ

และหทยวัตถุ.

อีก ๒ วาระ (วาระที่ ๘ - ๙) พึงกระทำ ทั้งปวัตติ และปฏิสนธิ.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๒๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ

ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 135

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๒๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ. . . ฯลฯ

ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในโนนัตถิ

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๓๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ. . .ฯลฯ

ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

นิสสยวาระ เหมือนกับปัจจยวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 136

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๓๑] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม เจือกับจิตตสัมปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ฯลฯ เจือ

กับขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๓๒] ในเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี

๑ วาระ.

ปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๓๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๑ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 137

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๓๔] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลาย ที่เป็นจิตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-

ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ-

ฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-

ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๓๕] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 138

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำซึ่งอุโบสถกรรม แล้ว

พิจารณาซึ่งกุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศล

กรรมนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น

พิจารณากุศลกรรมที่ตนอบรมดีแล้วในกาลก่อน.

บุคคลออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌาน.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค พิจารณาผล,

พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ละแล้ว, ที่ข่มแล้ว, รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลาย ที่เคยเกิดขึ้น

แล้วในกาลก่อน.

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม โดยความ

เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตตสัมปยุตตธรรม ด้วย

เจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญ-

ญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ

แก่เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่

อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๒. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพาน.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 139

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล,

แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตต-

วิปปยุตตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ

แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่

อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๑๓๖] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทำกุศลนั้น

ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง

เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น

ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 140

พิจารณากุศลกรรมที่เคยสั่งสมไว้ในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น ฯลฯ กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

จิตตสัมปยุตตธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้

เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 141

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลายทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว

พิจารณา.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู. แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล,

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตวิปปยุตตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น

กระทำจักษุเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น

ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

[๑๓๗] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็น

ปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ เหมือน-

กับปฏิจจวาระ ปัจจัยสงเคราะห์ไม่มี.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ

เหมือนกับปฏิจจวาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ เหมือนกับ

ปัจจยวาระ ปัจจัยสงเคราะห์ไม่มี.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 142

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๑๓๘] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ

ทุกข์ทางกาย แล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่มรรค

ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยอุตุ ฯลฯ โภชนะ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ

ทำลายสงฆ์.

อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่

ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 143

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๑๓๙] ๑. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ

กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๑๔๐] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 144

๑๓. กัมมปัจจัย

[๑๔๑] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 145

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และ

กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๑๔๒] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ.

๑๕. อาหารปัจจัย

[๑๔๓] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑-๓)

๔. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

ได้แก่ กพฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอาหาร-

ปัจจัย.

๑๖. อินทริยปัจจัย

[๑๔๔] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 146

๒. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ

อินทริยปัจจัย.

๓. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ

ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ

๔. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ จักขุนทรีย์ และอุเบกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่

สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์และ

สุขินทรีย์ ฯลฯ กายินทรีย์ และทุกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคต

ด้วยกายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 147

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๑๔๕] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตต-

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๑๔๖] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 148

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับ

ปฏิจจวาระ.

๔. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อยู่ คือที่เป็น สหชาตะ อาหาระ และ อินทริยะ ฯลฯ

๕. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตต-

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ เหมือนกับปุเรชาตะ.

๖. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 149

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๒ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ.

ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสัมปยุตตธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๒, ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๗. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และ

รวมกับ อินทริยะ.

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

จิตตสัมปยุตตขันธ์ และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

จิตตสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็น

ปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

จิตตสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็น

ปัจจัย แก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๔๗] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 150

มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๑ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอินทริยปัจจัย มี ๖ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ

ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัตถิปัจจัย

มี ๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย

มี ๗ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๑๔๘] ๑. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. จิตตสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 151

๔. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

อาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. จิตตวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่จิตตสัมปยุตตธรรม มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ,

สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ.

๗. จิตตสัมปยุตตธรรม และจิตตวิปปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่จิตตวิปปยุตตธรรม มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ,

ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๔๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ

ในนนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ. ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย

มี ๗ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 152

ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย

มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๕๐] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ. . .ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตต-

ปัจจัย มี ๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๕๑] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ. . .ใน

อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๗

วาระ.

จิตตสัมปยุตตทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 153

๕๙. จิตตสังสัฏฐทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๕๒] ๑. จิตตสังสัฏฐธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. จิตตวิสังสัฏฐธรรม อาศัยจิตตสังสัฏบธรรม เกิด

ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

จิตตสังสัฏฐทุกะ พึงกระทำเหมือนจิตตสัมปยุตตทุกะ ไม่แตกต่างกัน.

จิตตสังสัฏฐทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 154

๖๐. จิตตสมุฏฐานทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๕๓] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐาน-

ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ

อาศัยขันธ์ ๒.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตต-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ จิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตต-

มุฏฐานธรรม.

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ-

ฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 155

คือ ขันธ์ ๒ จิต, และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

จิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ จิตและกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

จิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรม

ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต หทยวัตถุ อาศัยจิต,

จิต อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป

ทั้งหลาย.

๕. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยหทย-

วัตถุ.

๖. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ-

ฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะ-

เหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูปอาศัยจิต

ในปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 156

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏ-

ฐานธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม

และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตต-

สมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏ-

ฐานธรรม และจิต.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม

และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม

และหทยวัตถุ.

๙. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ-

ฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จัตต-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

จิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 157

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ จิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐาน-

ธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๕๔] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม

เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตต-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ-

ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรม

ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 158

๕. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม อาศัย

หทยวัตถุ.

๖. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม

และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตต-

สมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 159

คือ ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐาน-

ธรรม และหทยวัตถุ.

๙. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตต-

สมุฏฐานธรรม แสะหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๕๕] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙

วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตต-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๕๖] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 160

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏ-

ฐานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐาน

ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตต-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่

เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม.

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

จิตตสมุฏฐานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรม

ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 161

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต หทยวัตถุ อาศัย

จิต, จิต อาศัยหทยวัตถุ, พึงกระทำมหาภูตรูป ๑ จนถึงอสัญญสัตว์.

๕. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และะจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิตซึ่งเป็น

อเหตุกะ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม

อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยจิต.

๖. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูป

อาศัยจิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และ สมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏ-

ฐานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 162

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐาน

ธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐาน-

ธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้ง

หลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และจิต.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตต-

สมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

จิตตสมุฏฐานธรรม และจิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตต-

สมุฏฐานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐาน

ธรรม และหทยวัตถุ.

๙. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑

ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 163

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตต-

สมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

[๑๕๗] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม

เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม.

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตต-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตต-

สมุฏฐานธรรม

๓. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรม

ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต.

หทยวัตถุ อาศัยจิต ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๔. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

๕. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณ-

ปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 164

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม

และจิต.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตต-

สมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏ-

ฐานธรรม และจิต.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐาน-

ธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๕๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย

มี ๖ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ใน

นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๖

วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนวิปป-

ยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 165

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำน วนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๕๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ. . .ในนอธิป-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕

วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ใน

โนนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๖๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ . . .ใน

อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 166

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๖๑] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่เป็นจิตต-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ. เหมือนกับ

ปฏิจจวาระ. (วาระ ๑-๒-๓)

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรม

ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๕. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต, ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

๖. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ เหมือนกับปฏิจจวาระ ทั้ง ๒ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 167

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ

ขันธ์ ๒, ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ เหมือนกับปฏิจจวาระทั้ง ๒ วาระ.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตต-

สมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๙. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๖๒] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม

เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ. (วาระ

ที่ ๑-๒-๓)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 168

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรม

ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ.

จิต อาศัยหทยวัตถุ.

๕. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ อาศัยจักขุวิญญาณ และ

จักขายตนะ ฯลฯ อาศัยกายวิญญาณ และกายายตนะ.

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต, ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐาน-

ธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

๖. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจักขายตนะ

ฯลฯ อาศัยกายายตนะ, จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 169

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตต-

สมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และ

จักขายตนะ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ จิตอาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

จิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๙. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุ-

วิญญาณ และจักขายตนะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ

ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และ

หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๖๓] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙

วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 170

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๖๔] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสมุฏฐานธรรม

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พึงกระทำหมดทั้ง ๙ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ แม้ปัญจวิญญาณ

ก็พึงกระทำ โมหะ มีทั้ง ๓ วาระ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๖๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย

มี ๖ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย

มี ๖ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ

ในโนวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 171

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๖๖] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เจือกับจิตตสมุฏฐานธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ เจือกับ

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เจือกับจิตต-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เจือกับจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ-

ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิต เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ

เจือกับขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 172

๔. จิตตสมุฏฐานธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. จิตตสมุฏฐานธรรม เจือกับจิตตสมุฏฐานธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ

เจือกับขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๖๗] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

[๑๖๘] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เจือกับจิตตสมุฏฐานธรรม

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พึงกระทำเป็น ๕ วาระ โมหะมีทั้ง ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 173

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๖๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๕ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 174

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๗๐] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

จิต และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุ-

ปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย, จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 175

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๗๑] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

จิตตสมุฎฐานธรรม เกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

คือ จิต ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ปรารภขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่ โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล,

แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง

เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น จิต ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยจิต ที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 176

อากาสานัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ ฯลฯ

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ,

แก่เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่

อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ พิจารณานิพพาน.

มีคำอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีที่มีอยู่ข้างต้น.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักษุวิญญาณฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ

แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ แก่อนาคตังสญาณ, แก่

อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 177

คือ พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ พิจารณานิพพาน.

มีคำอธิบายเหมือนกับข้อความตามบาลีที่มีอยู่ข้างต้น

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม โดยความ

เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น

จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ ด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ,

แก่เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่

อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ

อารัมมณปัจจัย พึงกระทำเพราะปรารภ ๓ วาระ (วาระที่ ๗-๘-๙)

๓. อธิปติปัจจัย

[๑๗๒] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม กระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็น

จิตตสมุฏฐานธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 178

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

อารัมมณาธิปติก็ดี สหชาตาธิปติก็ดี พึงกระทำทั้ง ๓ วาระ

(วาระที่ ๑-๒-๓)

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

ฯลฯ

บุคคล ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่

จิตตสมุฏฐานธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็น

อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว จิต ย่อมเกิดขึ้น.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

ฯลฯ

บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ

ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 179

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรม ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

ฯลฯ

บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น ฯลฯ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ

อธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗-๙)

เป็นอารัมมณาธิปติอย่างเดียว.

๔. อนันตรปัจจัย

[๑๗๓] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ วุฏฐานะไม่มี.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 180

คือ จิต ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลัง ๆ ฯลฯ. เนวสัญ-

ญานาสัญญายตนะ ของผู้ที่ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

การนับสองวาระนอกจากนี้ (วาระที่ ๕-๖) พึงกระทำเหมือนอย่างนี้.

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย พึงกระทำเป็น ๓ วาระ (วาระที่ ๗-๘-๙) วุฏฐานะไม่มี.

๕. สมนันตรปัจจัย

เป็นปัจจัยย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือน

อนันตรปัจจัย.

๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

[๑๗๔] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย เหมือนกับ

ปฏิจจวาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย เหมือนกับปัจจยวาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๑๗๕] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 181

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ พึงกระทำ ๓ วาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยอุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต แล้ว

ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต เป็นปัจจัยแก่จิต

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยอุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต แล้ว

ให้ทาน ทำลายสงฆ์.

อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา

ฯลฯ แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 182

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

จิตตสมุฏฐานธรรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยอุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต แล้ว

ให้ทาน ฯลฯ ทำสายสงฆ์.

อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ จิต เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจิต ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗-๘-๙)

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๑๗๖] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 183

บุคคลพิจารณาเห็นรูปทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ

โผฏฐัพพะทั้งหลาย โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นรูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ โผฏ-

ฐัพพะทั้งหลาย โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง

เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น จิต ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น

ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นรูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ โผฏ-

ฐัพพะทั้งหลาย โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง

เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 184

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ กาย ฯลฯ รูปทั้งหลาย

ฯลฯ โผฏฐัพพะทั้งหลาย โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะปรารภจักษุ

เป็นต้นนั้น จิต ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตปัจจัย ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 185

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ

ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ

กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจ

ของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ ด้วยทิพโสตธาตุ ฯลฯ

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 186

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปเรชาตะ

คือ รูปายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัย

แก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ

รูปายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจักขายตนะเป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นจิตต-

สมุฏฐานธรรม และกายายตนะ ฯลฯ

๘. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

คือ รูปายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัย

แก่จิต ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ

รูปายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่

จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และ

กายายตนะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 187

๙. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยจิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

คือ รูปายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัย

แก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ

รูปายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และจักขายตนะ เป็นปัจจัย

แก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ฯลฯ

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๑๗๗] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็น

ปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-

ปัจจัย.

ปัจฉาชาตปัจจัย พึงให้พิสดารโดยอาการนี้ (มี ๙ วาระ)

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 188

๑๓. กัมมปัจจัย

[๑๗๘] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรมเป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ ด้วยอำนาจ

ของกัมมปัจจัย.

๒. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช้

จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของ

กัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากจิต และกฏัตตา

รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 189

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ

กัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์, จิต

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์, จิต และ

กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๑๗๙] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน

ธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ.

๑๕. อาหารปัจจัย

[๑๘๐] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมป-

ยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 190

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๒)

อาหารทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วย

อำนาจของอาหารปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ กวฬีการาหาร ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัย

แก่กายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรมนี้ ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๓)

อาหารทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย, จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็น

ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

กวฬีการาหาร ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่ไม่ใช่

จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

พึงการทำมูล. (วาระที่ ๕)

อาหารทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-

ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 191

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๖)

ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสมุมุฏฐานธรรม เป็น

ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ

อาหารปัจจัย

คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ-

ฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของอาหารปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๘)

ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และที่

ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ

อาหารปัจจัย.

กวฬีการาหาร ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอาหาร-

ปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๙)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 192

ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และที่ไม่

ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๑๖. อินทริยปัจจัย

[๑๘๑] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ. (วาระที่ ๑-๒-๓)

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม

เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่

กายวิญญาณ.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ

อินทริยปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๕)

คืออินทรีย์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมป-

ยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 193

จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ

ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๖)

คือในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็น

ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันข์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

จักขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคต

ด้วยจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ-

อันทริยปัจจัย

คือ อินทรีย์ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม

เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ

อินทริยปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ จักขุนทรีย์ และอุเบกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ และสุขินทรีย์ ฯลฯ

กายินทรีย์ และทุกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ

ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

คือ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรมและ

ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ

อินทริยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 194

จักขุนทรีย์ และอุเบกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ

กายินทรีย์ ฯลฯ

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๙)

คือ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม และ

ที่ไม่ใช่จิตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

จักขุนทรีย์ และอุเบกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมป-

ยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ

๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๑๘๒] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 195

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็น

จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตธรรมปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ จิต เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ

ของวิปปยุตตปัจจัย, จิต เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย

แก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่

กายนี้ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 196

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ

วิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๘. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๙. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 197

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๑๘๓] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ

อาหาระ ฯลฯ.

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ

ปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

และ อินทริยะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 198

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ

อาหาระ ฯลฯ

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ-

ฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ-

ปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ

๘. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ-

ฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ, ปัจฉาชาตะ,

ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัย

แก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

กายวิญญาณ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 199

จิตตสมุฏฐานธรรม ที่เป็น สหชาตะ ฯลฯ พึงกระทำให้เหมือน

กับปัจจยวาระ ทั้งปฏิสนธิ และปวัตติ ตลอดจนวาระทั้งปวง.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ที่เกิดภายหลัง และจิต เป็น

ปัจจัยแก่กายนี้ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิ-

ปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ที่เกิดภายหลัง, จิต และ

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ

อัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสมุฏฐานธรรม ที่เกิดภายหลัง จิต และรูป-

ชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๙. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ-

ฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ที่เกิดร่วมกัน ฯลฯ

สหชาตะ ปัจจยวาระ เหมือนกัน พึงกระทำบทว่า สหชาตะ ทุกนัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 200

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๘๔] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๙ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ

ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี

๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคค-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙

วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๑๘๕] ๑. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 201

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๓. จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ

อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาต-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหาร-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 202

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๗. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ

อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาต-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๘. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ-

ฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ-

ของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย,

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 203

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

อินทริยปัจจัย.

๙. จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสมุฏ-

ฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๘๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ฯลฯ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๑๘๗] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ

ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย

มี ๓ วาระ.

๑. ม. ไม่มี

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 204

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๑๘๘] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจจัย มี ๙ วาระ...

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงกระทำการนับอนุโลม.

จิตตสมุฏฐานทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 205

๖๑. จิตตสหภุทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๑๘๙] ๑. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัย

ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภู-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตและจิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ทั้ง

หลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ จิตและกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตต-

สหภูธรรม.

๓. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม

อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒, จิต และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และ

ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ฯลฯ

๑. ม. เป็นจิตตสหภูทุกะ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 206

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ จิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

จิตตสหภูธรรม ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต, หทยวัตถุ อาศัยจิต, จิต

อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม และกฏัตตารูป ที่เป็น

อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๕. จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภู-

ธรรม อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ที่เป็นอุปาทารูป อาศัย

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๖. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 207

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภู-

ธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิต.

ในฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูป อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม

ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๗. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัย

ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และ

จิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และ

หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยขันธ์

ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 208

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม

และจิต.

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และ

หทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม และกฏัตตารูปที่เป็น

อุปาทารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัย

จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้1น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่

จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

จิตตสหภูธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภู-

ธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม

และมหาภูตรูปทั้งหลาย ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๙๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

อรูปทั้งหมดพึงยกขึ้นแสดงเหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 209

มหาภูตรูปทั้งหลาย พึงกระทำใน ๖ วาระ, ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัยไม่มี ใน

อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี

๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

อุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี

๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคต-

ปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๑๙๑] ๑. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัย

ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย

อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

พึงทำทั้ง ๙ วาระดังกล่าวมา พึงกำหนดคำว่า อเหตุกะ ในอนุโลม

ท่านจำแนกไว้อย่างใด พึงทำอย่างนั้น โมหะ มี ๓ วาระ ในจิตตสมุฏฐานทุกะ

ท่านจำแนกไว้อย่างใด พึงทำอย่างนั้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 210

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๑๙๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี

๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

๑๑. นกัมมปัจจัย

[๑๙๓] ๑. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น

เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภู-

ธรรม.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ พาหิรรูป . . . อาหารสมุฏฐานรูป. . . อุตุสมุฏฐานรู ฯลฯ

๓. จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม

เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยจิต.

๔. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

๑. ข้อ ๑๙๒, ๑๙๔, ๑๙๖ ควรจะจัดไว้เป็นข้อเดียวกันเหมือนทุกครั้ง

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 211

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายก็เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต.

[๑๙๔] ในนกัมมปัจจัยมี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ.

๑๕. นฌานปัจจัย

[๑๙๕] ๑. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น

เพราะนฌานปัจจัย

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ

[๑๙๖] ในนฌานปัจจัย มี ๖ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

นสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย

มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

การนับสองนัยนอกนี้ พึงกระทำอย่างนี้.

แม้สหชาตวาระ ก็เหมือนกับปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 212

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

เหตุปัจจัย

[๑๙๗] ๑. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต อาศัยหทยวัตถุ, จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม

อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหมือนกับปฏิจจวาระ มหาภูครูปทั้งหมด.

๕. จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภู-

ธรรม อาศัยจิต.

ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูปทั้งหมด เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๖. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภู-

ธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิต.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 213

จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ เหมือนกับปฏิจจวาระ มหาภูตรูปทั้งหมด.

๗. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัย

ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ เหมือนกับปฏิจจวาระ มหาภูตรูปทั้งหมด.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต.

จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็น

จิตตสหภูธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหมือนกับปฏิจจวาระ มหาภูตรูปทั้งหมด.

๙. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม

อาศัยจิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 214

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่

จิตตสหภูธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ และจิต, อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และหทยวัตถุ

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ เหมือนกับปฏิจจวาระ มหาภูตรูป ทั้งหมด.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๑๙๘] ๑. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ นี้เหมือน

อารัมมณปัจจัย ในปัจจยวาระ, ในจิตตสมุฏฐานทุกะ พึงกระทำปัญจวิญญาณมูล

แก่ธรรมเหล่านั้นทั้ง ๖ อย่าง ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๑๙๙] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 215

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๒๐๐] ๑. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ พึงกระทำ

ทุกอย่าง, ปัญจวิญญาณแห่งปัจจยวาระ, มูล แห่งธรรมทั้ง ๖ ก็พึงกระทำ,

มหาภูตรูปทั้งหมด มี ๓ วาระ เหมือนกัน.

โมหะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๐๑] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ

ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 216

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระใรอนุโลมปัจจนียะ

[๒๐๒] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ. . .ใน

ปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ

ในโนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๒๐๓] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ. . .ใน

อนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ

ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

นิสสยวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 217

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๐๔] ๑. จิตตสหภูธรรม เจือกับจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับ ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ฯลฯ เจือกับ

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เจือกับจิตตสหภู-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม

เจือกับจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิต เจือกับ ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ฯลฯ

เจือกับ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. จิตตสหภูธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภู-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 218

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. จิตตสหภูธรรม เจือกับจิตตสหภูธรรม และธรรม

ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับ ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต ฯลฯ

เจือกับ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๐๕] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๐๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ. . . (โมหะ มี ๓ วาระ) ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย

มี ๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

การนับสองนัยนอกจากนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำทั้งหมด.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 219

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๐๗] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม. ด้วยอำนาจของ

เหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สหภูธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต

และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๓. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย, จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่

จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๑. วิญญัติรูป ๒, ๒. รูปที่นอกจากวิญญัติรูป ๒

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 220

๒. อารัมมณปัจจัย

[๒๐๘] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ไม่มี

ต่างกัน.

๓. อธิปติปัจจัย

[๒๐๙] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณาธิปติก็ดี สหชาตาธิปติก็ดี

พึงกระทำ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มี ๓ วาวะ

อารัมมณาธิปติก็ดี สหชาตาธิปติก็ดี พึงกระทำแก่ธรรมทั้ง ๓ วาระแม้เหล่านี้.

แม้ปัญหา ๙ ข้อ ก็เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ในบทปลาย ๓ วาระ

เป็นอารัมมณาธิปติอย่างเดียว.

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๒๑๐] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ไม่มี

ต่างกัน.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ.

เหมือนกับปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 221

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ.

เหมือนกับปฏิจจวาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ.

เหมือนกับปฏิจจวาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ.

เหมือนกับปัจจยวาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ.

เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๒๑๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

มี ๓ วาระ.

ได้เฉพาะธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรมเป็นมูลเท่านั้น ทั้ง ๓ วาระนี้

เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๒๑๒] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สหภูธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 222

คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย

แก่กายนี้ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรมที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

๓. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-

ปัจจัย

๑๒. อาเสวนปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๒๑๓] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตต-

สหภูธรรม ที่เป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 223

๒. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สหภูธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต และจิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากจิต และกฏัตตารูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, จิต

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย, จิต

และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 224

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๕. อาหารปัจจัย

[๒๑๔] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม

ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย. เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือน

จิตตสมุฏฐานทุกะ แม้ทุกะนี้ก็มี ๑ วาระ เหมือนกพฬีการาหาร.

๑๖. อินทริยปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๒๐๕] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม

ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนจิตตสมุฏฐานทุกะ ไม่มี

ต่างกัน.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๒๑๖] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 225

๒. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้ง

หลายที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสหภูธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่ไม่

ใช่จิตตสหภูธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๓. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้ง

หลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปป-

ยุตตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 226

จิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ จิต เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ

ของวิปปยุตตปัจจัย.

จิต เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย, หทยวัตถุ

เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตต-

ปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของ

วิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

จิตที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรมที่เกิดก่อน

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

จิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 227

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจ

ของวิปปยุตตปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของ

วิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

จิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และ

ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต

และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๗. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม

เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 228

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรมและจิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

รูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๘. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตต-

ปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิตเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

รูปทั้งหลายที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิตที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย

แก่กายนี้ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๙. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม

เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิตเป็นปัจจัยแก่จิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 229

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๒๑๗] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ฯลฯ เหมือนกับปฏิจจวาระ

๒. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สหภูธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสหภูธรรม ฯลฯ เหมือนกับปฏิจจวาระ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

อินทริยะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สหภูธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ-

ปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 230

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ ฯลฯ

๗. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม

เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ จักขายตนะและจักขุวิญญาณ

เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พึงกระทำในปฏิสนธิทั้งหมด สหชาตะ ปุเรชาตะ ฯลฯ

๘. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัย

แก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

กายวิญญาณ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

รูปทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 231

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็น

ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของ

อัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๓ นัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิตที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย

แก่กายที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรมนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิต ที่เกิดภายหลัง และ

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของ

อัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสหภูธรรม และจิตที่เกิดภายหลัง และรูป-

ชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ อัตถิปัจจัย.

๙. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม

เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 232

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ ฯลฯ เหมือนกับปัจจยวาระ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๑๘] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ

ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ

ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๒๑๙] ๑. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 233

๒. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตต-

สหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของกัมมปัจจัย.

๓. จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ-

ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 234

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัม-

มณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๗. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม

เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

๘. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-

ปัจจัย.

๙. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม

เป็นปัจจัยแก่จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๒๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 235

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๒๒๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ. . . ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตต-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลม

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๒๒๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ. . . ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ

พึงกระทำอนุโลมมาติกา

จิตตสหภุทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 236

๖๒. จิตตานุปริวัตติทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๒๓] ๑. จิตตานุปริวัตติธรรม อาศัยจิตตานุปริวัตติธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตานุปริวัตติธรรม อาศัย

ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตานุปริวัตติธรรม ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำทุกะนี้ เหมือนจิตตสหภุทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน.

จิตตานุปริวัตติทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 237

๖๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๒๔] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม, ขันธ์ ๑

อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ จิต และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตต-

สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม.

๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิด-

ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒, จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 238

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต, หทยวัตถุ อาศัยจิต, จิต

อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป

ทั้งหลาย.

๕. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย

หทยวัตถุ.

๖. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูป อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 239

๗. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ -

สมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิด-

ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และ

จิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน-

ธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน-

ธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน-

ธรรม และจิต.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม

และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม และจิต.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 240

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน

ธรรม และหทยวัตถุ.

๙. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๒๕] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี

๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปาก-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 241

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๒๒๖] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ซึ่ง

เป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย

อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตต-

สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิด-

ขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒, จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย

ธรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 242

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต, หทยวัตถุ อาศัยจิต,

จิต อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๕. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิตซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน-

ธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยจิต

ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๖. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิตซึ่งเป็น

อเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูป

อาศัยจิต.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย

หทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 243

๗. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ซึ่ง

เป็นอเหตุกะ และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และจิต.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน-

ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และจิต.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม

ซึ่งเป็นอเหตุกะ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตต-

สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 244

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตต-

สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ.

๙. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตต-

สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๒๒๗] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน-

ธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณ-

ปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 245

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยจิต, หทยวัตถุ อาศัยจิต.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน.

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น จิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน-

ธรรม และจิต.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม

และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๒๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี

๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี

๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๖ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี

๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 246

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๒๒๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ. . . ฯลฯ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๒๓๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ. . . ฯลฯ

ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ

สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 247

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๓๑] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ฯลฯ มี ๓ วาระ (วาระที่

๑-๒-๓) เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

จิต อาศัย หทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงมหาภูตรูป.

๕. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย จิต.

ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย หทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.

๖. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิด-

ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 248

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังฏฐสมุฏฐานธรรม และ

จิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และ

หทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.

๗. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยขันธ์

ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต.

จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็น

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๓ นัย.

๘. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม

อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 249

ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๒๓๒] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับ

ปฏิจจวาระ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ-

ปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ อาศัยกายายตนะ.

จิต อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ

อาศัยกายายตนะ.

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย จิต.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย หทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 250

๔. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏ-

ฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ

อาศัยกายายตนะ.

จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ มี ๑ นัย.

๕. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ, จักขายตนะ

และจักขุวิญญาณ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต ฯลฯ

อาศัยขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และ

หทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำ ๒ นัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัย

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน

ธรรม เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 251

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ

และจักขายตนะ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ.

จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ

ในปฏิสนธิขณะ มี ๑ นัย.

๗. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสุมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ-

ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ มี ๑ นัย.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๓๓] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๒๓๔] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 252

พึงกระทำ ๙ วาระ ดังกล่าวมาแล้ว ในปัจจัยวาระ ก็พึงทำปัญจ-

วิญญาณด้วย, มีทั้ง ๓ นัย, โมหะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๓๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี

๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัยมี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙

วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัยมี ๑ วาระ ในนฌาน

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย

มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 253

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๓๖] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เจือกับจิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ฯลฯ

เจือกับขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เจือกับ

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต เจือกับขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เจือกับจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิต เจือกับขันธ์ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐาน-

ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 254

๔. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เจือกับจิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหคุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม

และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๓๗] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๒๓๘] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เจือกับจิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย ฯลฯ มีทั้ง ๓ วาระ, โมหะ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 255

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๓๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๕ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 256

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๔๐] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงการทำมูล (วาระที่ ๒)

เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เหตุทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-

ขันธ์ทั้งหลาย, จิต และรูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๒๔๑] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 257

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒).

จิต ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓).

เพราะปรารภจิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตต-

สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรน เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ

อารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ พิจารณา นิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ

อารัมมณปัจจัยในจิตตสหภุทุกะฉันใด พึงทำฉันนั้น ไม่มีแตกต่างกัน

พึงกระทำทั้ง ๙ วาระ.

๓. อธิปติปัจจัย

[๒๔๒] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ.

พึงกระทำอธิปติปัจจัยทั้งสอง.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 258

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ

อธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ.

พึงกระทำอธิปติปัจจัยทั้งสอง.

๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พึงกระทำอธิปติปัจจัย อย่างเดียวเท่านั้น พึงกระทำทั้ง ๙ วาระ เหมือน

จิตตสหภุทุกะ ไม่มีต่างกัน.

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๒๔๓] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ

เหมือนจิตตสหภุทุกะ

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือน

กับปฏิจจวาระ มี ๙ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือน

กับ ปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 259

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนกับ

ปฏิจจวาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือน

กับจิตตสหภุทุกะ ไม่มีต่างกัน.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๒๔๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

มี ๓ วาระ.

เหมือนกับจิตตสหภุทุกะ ไม่มีต่างกัน.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๒๔๕] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

เหมือนกับจิตตสหภุทุกะ ไม่มีต่างกัน.

ปัจฉาชาตะมีทั้ง ๓ วาระ เป็นเอกมูล ๒ เป็นปัจจัยสงเคราะห์ ๑.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 260

๑๓. กัมมปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๒๔๖] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ.

เหมือนกับจิตตสหภุทุกะ ไม่มีต่างกัน.

กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ทั้งสหชาตะ และนานาขณิกะ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนกับ

ข้อความตามบาลี ในจิตตสหภุทุกะ. กวฬีการาหาร มี ๑ วาระ เท่านั้น.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๒๔๗] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ

วิปปยุตตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 261

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น

ปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตต-

สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น

ปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 262

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจ

ของวิปปยุตตปัจจัย.

๕. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ฯลฯ

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๒๔๘] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับปฏิจจ-

วาระ.

๒. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 263

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ

อัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

และ อินทริยะ

ที่เป็น ปุเรชาตะ พึงกระทำเหมือนกับปุเรชาตปัจจัย.

ที่ย่อ ๆ ทั้งหมดควรให้พิสดาร.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น

ปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตต-

สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย ไม่แตกต่างกัน.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น

ปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 264

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย.

๗. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขุวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 265

ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.

๘. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ, และ

ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่

จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

กายวิญญาณ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต เป็นปัจจัยแก่

รูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย

เป็นปัจจัยแก่รูปทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ

อัตถิปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ เป็น

ปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 266

ในปฏิสนธิขณะ มี ๓ นัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ที่เกิดภายหลัง และจิต

เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ที่เกิดก่อน ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ที่เกิดภายหลัง จิต

และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ที่เกิดภายหลัง จิต

และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๙. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิต สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ-

ปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคต-

ด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 267

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และจิต เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๒ และรูปทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ-

ปัจจัย, ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๒ และจิต ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๔๙] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ

ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙

วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย

มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ

ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙

วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 268

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๒๕๐] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ

อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาต-

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 269

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น

ปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็น-

ปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๗. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๘. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐ-

สมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 270

๙. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่จิตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอารัม-

มณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๕๑] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๒๕๒] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ . . . ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ

ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคต-

ปัจจัย มี ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 271

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๒๕๓] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ . . .

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ.

พึงกระทำอนุโลมมาติกา

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 272

๖๔. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภุทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๕๔] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภูธรรม อาศัยจิตต-

สังสัฏฐสมุฏฐานสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภูธรรม

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะเป็นอย่างไร แม้ทุกะนี้ก็เป็นอย่างนั้น ไม่มี

แตกต่างกัน.

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานสหภุทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 273

๖๕. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๕๕] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติธรรม อาศัย

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติ-

ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานทุกะเป็นอย่างไร แม้ทุกะนี้ก็เป็นอย่างนั้น ไม่มี

แตกต่างกัน.

จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานานุปริวัตติทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 274

๖๖. อัชฌัตติกทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๕๖] ๑. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยจิต.

๒. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และพาหิรกฏัตตารูปอาศัยจิต.

๓. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยอัชฌัต-

ติกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, อัชฌัตติกะ และ

พาหิรกฏัตตารูป อาศัยจิต.

๔. พาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 275

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และพาหิรกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่

เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป

อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๕. อัชฌัตติกธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ จิต และอัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่

เป็นพาหิรธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทยวัตถุที่เป็นพาหิรธรรม.

๖. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยพาหิร-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒, จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

พาหิรธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒, จิต และอัชฌัตติกะและพาหิรกฏัตตา-

รูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๗. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 276

คือ ในปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยจิต และสัมปยุตต-

ขันธ์ทั้งหลาย

๘. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และพาหิร-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม

และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และพาหิรกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

พาหิรธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

พาหิรกฏัตตารูป อาศัยจิต และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม อาศัยจิต และ

หทยวัตถุ.

๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยอัชฌัต-

ติกธรรม และพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และอัชฌัตติกะและพาหิรกฏัตตารูป

อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

[๒๕๗] ๑. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 277

๒. พาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะ

อารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๓. อัชฌัตติกธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทยวัตถุ.

๔. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยพาหิร-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ อาศัย

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๕. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌีตติกธรรม และพาหิร-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม และจิต ฯลฯ

อาศัยขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 278

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม และจิต

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิรธรรม, จิต

และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๕๘] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๕ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปาก-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ

ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๕

วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๒๕๙] ๑. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 279

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยจิต

๒. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต ซึ่งเป็น

อเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และพาหิรกฏัตตารูป

อาศัยจิต.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยจิต

ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๓. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยอัชฌัต-

ติกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และอัชฌัตติกะ

และพาหิรกฏัตตารูป อาศัยจิต

๔. พาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์. ที่เป็นพาหิรธรรม

ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 280

๕. อัชฌัตติธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต และอัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต อาศัยหทยวัตถุ.

๖. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยพาหิร-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒, จิต และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

พาหิรธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒, จิต และอัชฌัตติกะและพาหิร-

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ จิต และ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๗. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยจิต และ

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

๘. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และพาหิร-

ธรรม เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม

ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 281

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต ซึ่งเป็นอเหตุกะ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และพาหิรกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑

ที่เป็นพาหิรธรรม และจิต ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ พาหิรกฏัตตารูป อาศัยจิต และมหาภูตรูป

ทั้งหลาย.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม อาศัยจิต

และหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และจิต.

๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยอัชฌัต-

ติกธรรม และพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และอัชฌัตติกะและพาหิร-

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๒๖๐] ๑. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ อเหตุกปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยจิต.

๒. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 282

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ พาหิรกฏัตตารูป อาศัยจิต.

๓. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติก-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกะและพาหิรกฏัตตารูป อาศัยจิต.

๔. พาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ พาหิรกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม,

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม.

มหาภูตรูป ๑ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๕. อัชฌัตติกธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

พาหิรธรรม.

๖. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยพาหิร-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกะและพาหิรกฏัตตารูป อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม.

๗. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 283

คือ ในปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยจิต และสัมป-

ยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

๘. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และพาหิร-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม และจิต.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิต และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.

๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยอัช-

ฌัตติกธรรม และพหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกะและพาหิรกฏัตตารูป อาศัยจิต

และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๖๑] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง

มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาหาร-

ปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ.

๑๗. นฌานปัจจัย

[๒๖๒] ๑. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น

เพราะนฌานปัจจัย

๑. ข้อนี้ควรจะรวมกับข้อ (๒๖๓)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 284

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจักขุวิญญาณ ฯลฯ กายวิญญาณ.

๒. พาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นฌานปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ขันธ์ ๒

ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป

ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ

๓. อัชฌัตติกธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น

เพราะนฌานปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ฯลฯ

กายวิญญาณ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ

๔. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยพาหิร-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญ-

ญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๒, ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ.

๕. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และพาหิร-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขุ

วิญญาณ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒. ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกาย

วิญญาณ ฯลฯ พึงผูกจักรนัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 285

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๖๓] ในนฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนสันปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัยมี ๕ วาระ ในโนนัตถิ

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัยนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๖๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ. . .

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ.

ฯลฯ

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๒๖๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ. . .ใน

อนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสหชาตปัจจัย

มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัยมี ๓ วาระ.

ฯลฯ

แม้สหชาตวาระ ก็เหมือนกับปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 286

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๖๖] ๑. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. พาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย จนถึงมหาภูตรูปที่เป็นอัชฌัตติก-

ธรรม. ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๕. อัชฌัตติกธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม, จิต อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.

๖. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยพาหิร-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 287

จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ พึงกระทำทั้ง ๒ นัย.

๗. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยจิตและสัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย.

๘. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และพาหิร-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม

และจิต ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยจิตและมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม อาศัยจิตและหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๓ นัย.

๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยอัชฌัต-

ติกธรรม และพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และอัชฌัตติกะและพาหิรกฏัตตารูป

อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๒๖๗] ๑. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 288

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ.

๒. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ และ

จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ. สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจิต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยอัชฌัต-

ติกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยจักขายตนะ

ฯลฯ กายายตนะ.

๔. พาหิรธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะ

อารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๕. อัชฌัตติกธรรม อาศัยพาหิรธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม จิตอาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ นัย.

๖. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยพาหิร-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 289

คือ จิตและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ มี ๑ นัย.

๗. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสหรคตด้วยจักขุวิญญาณ

และจักขายตนะ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ

๘. พาหิรธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม และพาหิร-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ, จักขายตนะ

และจักขุวิญญาณ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกาย-

วิญญาณ ฯลฯ

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรพาธรรม และจิต, ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม อาศัยจิตและหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงทำทั้ง ๒ นัย.

๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม อาศัยอัชฌัต-

ติกธรรม และพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุ-

วิญญาณ และจักขายตนะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 290

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๖๘] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

ปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๒๖๙] ๑. อัชฌัตติกธรรม อาศัยอัชฌัตติกธรรม

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ อัชฌัตติกกฏัตตารูป อาศัยจิต, จักขุ-

วิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ

พึงทำแม้ทั้ง ๙ วาระอย่างนี้ พึงบวกปัญจวิญญาณ เข้าไปด้วย มี ๓

นัย เหมือนกับ โมหะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๗๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสมนันตร-

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 291

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ

ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

การนับสองวาระนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 292

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๗๑] ๑. พาหิรธรรม เจือกับอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับจิต.

ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับจิต.

๒. พาหิรธรรม เจือกับพาหิรธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. อัชฌัตติกธรรม เจือกับพาหิรธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิต เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เจือกับพาหิร-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 293

คือ ขันธ์ ๒ และจิต เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม ฯลฯ

เจือกับขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. พาหิรธรรม เจือกับอัชฌัตติกธรรม และพาหิร-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นพาหิรธรรม และจิต ฯลฯ เจือ

กับขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๗๒] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย

มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๗๓] พาหิรธรรม เจือกับอัชฌัตติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นเหตุปัจจัย

พึงทำ ๕ วาระ อย่างนี้ มี ๓ นัย เหมือนกับ โมหะ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 294

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๗๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๕ วาระ.

การนับสองวาระนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 295

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๗๕] ๑. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-

ขันธ์ทั้งหลาย และพาหิรกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

๒. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของ

เหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต และ

อัชฌัตติกกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

๓. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 296

ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-

ขันธ์ทั้งหลาย, จิต และอัชฌัตติกะและพาหิรกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ

ของเหตุปัจจัย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๒๗๖] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ จิต ปรารภจิต เกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๒)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ปรารภจิต เกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๓)

จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ปรารภจิต เกิดขึ้น.

๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทานแล้ว ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว

พิจารณาซึ่งกุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศล

กรรมนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลพิจารณากุศลกรรมที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.

ออกจากฌาน พิจารณาฌาน ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 297

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค ฯลฯ ผล ฯลฯ

นิพพาน

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล,

แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว ซึ่งเป็นพาหิรธรรม ฯลฯ

พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.

บุคคลพิจารณาเห็นรูปทั้งหลาย ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

พาหิรธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นพาหิรธรรม ด้วย

เจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่ วิญญาณัญจายตนะ, อากิญ-

จัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่เจโต-

ปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ,

แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๕. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 298

คือ บุคคลให้ทานแล้ว ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณา

กุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น จิต

ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.

ออกจากฌาน พิจารณาฌาน ฯลฯ

ที่ย่อไว้ทั้งหมด พึงจำแนกให้พิสดาร.

บุคคลพิจารณาเห็นกิเลสทั้งหลาย ที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ

พิจารณาเห็นรูปทั้งหลาย ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น จิต ย่อม

เกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่

เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่

อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๖. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทานแล้ว ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณา

ซึ่งกุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น

จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 299

ที่ย่อไว้ทั้งหมด พึงจำแนกให้พิสดาร.

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม โดยความเป็นของ

ไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น จิต และ

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่

เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่

อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่

๗-๘-๙)

๓. อธิปติปัจจัย

[๒๗๗] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป้นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

จิต กระทำจิต ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 300

๒. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม กระทำจิตให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่นแล้ว ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรม คือ จิต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐาน-

รูปทั้งหลาย.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๓)

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย กระทำจิตที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ให้

เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมเกิดขึ้น.

๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔-๕-๖)

อธิปติปัจจัยทั้งสอง พึงจำแนกทั้ง ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 301

๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มี ๓วาระ (วาระที่ ๗-๘-๙)

แม้ทั้ง ๓ วาระ ก็เป็นอธิปติปัจจัยอย่างเดียว.

๔. อนันตรปัจจัย

[๒๗๘] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จิตที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่จิตที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑-๒-๓)

๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลาย ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู มี ๓ วาระ ( วาระที่ ๔-๕-๖)

แม้ทั้ง ๓ วาระ ก็เช่นเดียวกัน.

๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่

๗-๘-๙)

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 302

เป็นปัจจัย ด้วยอานาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือน

กับปฏิจจวาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ เหมือน

กับปฏิจจวาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนกับ

ปฏิจจวาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๒๗๙] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ.

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

จิต เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ

(วาระที่ ๑-๒-๓)

๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 303

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติ

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงแจกให้บริบูรณ์ทั้ง ๓ วาระ (วาระที่ ๔-๕-๖) พึงแจกแก่จิต,

และสัมปยุตตขันธ์.

๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่

๗-๘-๙)

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๒๘๐] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ กายะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น จิต ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย

แก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 304

๒. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ กายะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

ย่อมยินดี ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ

ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๓. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม

และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ กายะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 305

๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นรูปทั้งหลาย ฯลฯ โผฏฐัพพะทั้งหลาย ฯลฯ

หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ด้วยอำนาจ

ของปุเรชาตปัจจัย.

๕. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นรูปทั้งหลาย ฯลฯ โผฏฐัพพะทั้งหลาย ฯลฯ

หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น จิต

ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 306

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นรูปทั้งหลาย ฯลฯ โผฏฐัพพะทั้งหลาย หทยวัตถุ

โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะปรารภรูปเป็นต้น จิต และสัมปยุตต-

ขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจ

ของปุเรชาตปัจจัย.

๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

คือ จักขายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ฯลฯ กายายตนะ

และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

รูปายตนะ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ และกายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ กายวิญญาณ ด้วยอำนาจ

ของปุเรชาตปัจจัย.

๘. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 307

คือ จักขายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ และหทยวัตถุ

เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

รูปายาตนะ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และ

กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ด้วยอำนาจ

ของปุเรชาตปัจจัย.

๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

คือ จักขายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต และสัมปยุตต-

ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ และหทยวัตถุ

ฯลฯ

รูปายตนะ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมป-

ยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๒๘๑] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม

ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 308

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย

แก่กายนี้ ที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

พึงทำมูล (วาระที่ ๒)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้

ที่เป็นพาหิรธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

พึงทำมูล (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้

ที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-

ปัจจัย.

ทั้ง ๙ วาระ พึงจำแนกอย่างนี้.

๑๒. อาเสวนปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย พึงจำแนกเป็น

๙ วาระ.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๒๘๒] ๑. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ.

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 309

เจตนาที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏ-

ฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม

ที่เป็นวิบากจิต และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ วิบากจิต และกฏัตตารูป

ทั้งหลาย ที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, จิต

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 310

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่ วิบากขันธ์ทั้งหลาย, จิต

และกฏัตตารูป ที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของ

กัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ.

๑๕. อาหารปัจจัย

[๒๘๓] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม

ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๒. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ สัมปยุตต-

ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ด้วยอำนาจ

ของอาหารปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 311

ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

กพฬีการาหารที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นพาหิรธรรม

ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๕. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย

อำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจ

ของอาหารปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต

และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

กพฬีการาหารที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอัชฌัตติก

ธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๖. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 312

คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์-

ทั้งหลาย, จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, จิต และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

กพฬีการาหารที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอัชฌัตติก-

ธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจ

ของอาหารปัจจัย.

๘. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็น

ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหาร-

ปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิร-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม

ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 313

๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัต-

ติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๑๖. อินทริยปัจจัย

[๒๘๔] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม

ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ เป็นปัจจัย

แก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๒. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของ

อินทริยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 314

จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ

ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่

สหรคตด้วยกายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๓. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม

และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรมและพาหิร-

ธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ฯลฯ กายินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของอินทริยปัจจัย.

๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของ

อินทริยปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม

ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 315

๕. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย

อำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจ

ของอินทริยปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

จิต และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม

ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๖. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย จิต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, จิต และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม

และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 316

คือ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจ

ของอินทริยปัจจัย.

จักขุนทรีย์ และอุเบกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจ

ของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ และสุขินทรีย์, กายินทรีย์ และทุกขินทรีย์

เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๘. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอันทริยปัจจัย

คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็น

ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริย-

ปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิร-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม

ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

จักขุนทรีย์ และอุเบกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคต

ด้วยจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ และสุขินทรีย์,

กายินทรีย์ และทุกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ

ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 317

คือ ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติก-

ธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

จักขุนทรีย์ และอุเบกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และ

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ และ

สุขินทรีย์, กายินทรีย์ และทุกขินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ และ

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๒๘๕] พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วยอำนาจ

ของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๒๘๖] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ.

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ จิตที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย

ที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 318

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายตนะ

ที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้

ที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ ที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคต

ด้วยกายวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้

ที่เป็นพาหิรธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 319

๓. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม

และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรมที่เกิดพร้อมกัน

เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะที่เกิดก่อน เป็นปัจจัย

แก่กายวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้

ที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตต-

ปัจจัย.

๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 320

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจ

ของวิปปยุตตปัจจัย, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ

วิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่

เป็นพาหิรธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๕. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรมที่เกิดพร้อมกัน

เป็นปัจจัย แก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตต-

ปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตา

รูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 321

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่

เป็นอัชฌัตติกธรรมที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๖. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม

เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตต-

ปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ฯลฯ ที่เกิดภายหลัง ฯลฯ

๘. อัชฌัตติกธรรน และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 322

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม

ฯลฯ

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๒๘๗] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ จิต เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติก-

ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ กายะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เหมือน

กับปุเรชาตะ ไม่มีแตกต่างกัน.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ พึงกระทำเหมือนปัจฉาชาตปัจจัย.

๒. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ

สหชาตะในที่ทั้งปวง มีในที่นี้ เหมือนกับปัจจยวาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 323

ปุเรชาตะ พึงกระทำเหมือนปัจฉาชาตปัจจัย.

ปัจฉาชาตะ พึงกระทำเหมือนปุเรชาตปัจจัย ไม่มีแตกต่างกัน.

๓. อัชฌัตติกธรรม เบ็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม

และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

อินทริยะ พึงให้พิสดารทั้งหมด.

๕. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

อินทริยะ ฯลฯ

๖. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

อินทริยะ ฯลฯ

๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ ปัจฉา-

ชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 324

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัย

แก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

กายวิญญาณ และกายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม

เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของอัตถิ-

ปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จิต ด้วยอำนาจของอัตถิ

ปัจจัย.

รูปายตนะ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏ-

ฐัพพายตนะ และกายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิ

ปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ที่เกิดภายหลัง

เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ที่เกิดภายหลัง

และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอัชฌัตติกธรรม ที่เกิดก่อน ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 325

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรมที่เกิดภายหลัง

และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตติกธรรม

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๘. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ

อาหาระ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ จักขายตนะ และจักขุ-

วิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.

สหชาตะ เหมือนกับปัจจยวาระ ไม่มีแตกต่างกัน.

เหมือนกับข้อความในบาลีข้างต้นนั่นเอง.

๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

และ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๒ และจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.

พึงจำแนกบททั้งปวง โดยนัยแห่งปัจจัยสงเคราะห์ข้างต้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 326

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๘๘] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๙ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ

ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคต-

ปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๒๘๙] ๑. อัชฌัตติกรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 327

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-

ปัจจัย.

๒. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๓. อัชฌัตติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม

และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย.

๔. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่พาหิรธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 328

ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๖. พาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม และ

พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๘. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

พาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 329

ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๙. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่

อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหาร-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๒๙๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๒๙๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ . . .ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตต-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 330

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๒๙๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ. . .ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อัชฌัตติกทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 331

๖๗. อุปาทาทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๒๙๓] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยขันธ์ ๑

ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัย

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

๓. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อุปาทาจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ อุปาทาจิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป

อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 332

๔. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทาธรรม แต่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๒๙๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัย

หทยวัตถุ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 333

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๓. อธิปติปัจจัย

[๒๙๕] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทา-

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๒. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ อุปาทาจิตตสมุฏฐานรูป ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม.

๓. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่

อุปาทาธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๕. สมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เพราะอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ.

เพราะสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ.

เพราะสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 334

๖. อัญญมัญญปัจจัย

[๒๙๖] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยหทย-

วัตถุ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑

ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

๓. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทา-

ธรรม.

๔. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 335

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๒๙๗] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปาก-

ปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๕ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓

วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในนัตถิ

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๒๙๘] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัย

หทยวัตถุ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 336

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยขันธ์

๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย

ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๓. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ อุปาทาจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ อุปาทาจิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็น

อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๔. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยขันธ์

ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทา-

ธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 337

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๒๙๙] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ มหา-

ภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

๒. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ อุปาทาจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ อุปาทาจิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป

อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรม

อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 338

๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ.

เพราะนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ.

เพราะนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ.

เพราะนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ.

เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ.

เพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ.

๑๑. นกัมมปัจจัย

[๓๐๐] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม.

พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูต

รูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

๒. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป ...อุตุสมุฏฐานรูป... อุปาทารูป

อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๓. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 339

คือ พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป. . .มหาภูต-

รูป ๓ และอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๑๒. นวิปากปัจจัย

[๓๐๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปา-

ทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยขันธ์

ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม, ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒, ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ตลอด

อสัญญสัตว์.

ในธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นมูล มี ๓ วาระอย่างนี้.

๑๓. นอาหารปัจจัย

[๓๐๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาหารปัจจัย

คือ พาหิรรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป. . .อสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูต

รูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

๒. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะนอาหารปัจจัย

คือ พาหิรรูป... อุตุสมุฏฐานรูป...อสัญญสัตว์ทั้งหลาย อุปาทารูป

อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 340

๓. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาหารปัจจัย

คือ พาหิรรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป... มหาภูตรูป ๓ และอุปาทารูป

อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๑๔. นอินทริยปัจจัย

[๓๐๓] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนอินทริยปัจจัย

คือ พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป. . .ฯลฯ

อาศัยมหาภูตรูป

๒. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะนอินทริยปัจจัย

คือ พาหิรรูป. . . อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๓. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนอินทริยปัจจัย

คือ พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 341

๑๕. นฌานปัจจัย

[๓๐๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์

๒ ฯลฯ

พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

๒. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อสัญสัตว์ทั้งหลาย อุปาทากฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหา-

ภูตรูป.

๓. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ พาหิรรูป. . . อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ อุปาทา-

กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๑๖. นมัคคปัจจัย ๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย

[๓๐๕] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ.

เพราะนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 342

๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย

[๓๐๖] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ฯลฯ

ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย อุปาทากฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูต-

รูปทั้งหลาย.

๓. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ พาหิรรูป. . . อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

มหาภูตรูป ๓ และอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัย

มหาภูตรูป ๒.

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ และกฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป

อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ และกฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป

อาศัยมหาภูตรูป ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 343

๑๔. โนนัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย

ฯลฯ เพราะโนนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เพราะโนวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๐๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ

ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๓๐๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ... ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 344

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๓๐๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ . . . ใน

อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย

มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ใน

อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย

มี ๑ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 345

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๑๐] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๒-๓-๔)

ในธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรมเป็นมูล เหมือนกับปฏิจจวาระทั้ง ๓

วาระ ไม่มีแตกต่างกัน.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๓๑๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 346

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัย

กายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ เหมือนกับ

ปฏิจจวาระ.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และ

จักขายตนะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ

ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๓๑๒] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 347

ในนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ พึงนับ

อย่างนี้ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

พึงนับอย่างนี้.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๓๑๓] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัย

กายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย

อุทธัจจะ อาศัยหทยวัตถุ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยขันธ์ ๑

ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ โมหะ

ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เหมือนกับปฏิจจวาระ ทั้ง ๓ วาระ ไม่มี

แตกต่างกัน.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 348

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และ

จักขายตนะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ฯลฯ

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และ

หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ

อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ

หทยวัตถุ ฯลฯ

๒. นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ.

๑๑. นกัมมปัจจัย

[๓๑๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 349

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม.

คือ พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

๓. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นพาหิรรูป. . .อาหาร-

สมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป.

๔. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหา-

ภูตรูป ๓ และอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทา-

ธรรม และหทยวัตถุ.

๑๒. นวิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๔. นอินทริยปัจจัย

ฯลฯ เพราะนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ.

ฯลฯ เพราะนอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เพราะนอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 350

๑๕. นฌานปัจจัย

[๓๑๕] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัย

กายายตนะ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ

ขันธ์ ๒ ฯลฯ

คือ พาหิรรูป . . .อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.

๓. อุปาทาธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป . . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย อุปาทากฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย

๔. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ พาหิรรูป. . . อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ และอุปาทากฏัตตารูป อาศัย

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 351

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม อาศัยอุปาทาธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และ

จักขายตนะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๑๖. นมัคคปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย

ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ.

เพราะนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

เพราะนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

เพราะโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ.

เพราะโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๑๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในนกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี

๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโน

วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับสองวาระนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 352

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๑๗] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒

เจือกับขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๓๑๘] ในเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี

๑ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๓๑๙] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 353

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย

อุทธัจจะ เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๒๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

นปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย

มี ๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌาน-

ปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ

การนับทั้งสองวาระนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 354

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๒๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทา-

ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทา-

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 355

๒. อารัมมณปัจจัย

[๓๒๒] ๑. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทา-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ กายะ ฯลฯ รูป ฯลฯ รสะ ฯลฯ

หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ รสายตนะ เป็นปัจจัยแก่

ชิวหาวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิญญาณ, แก่

ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ

อารัมมณปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ ให้ทานแล้ว ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม แล้วพิจารณา

ซึ่งกุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น

ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมที่ได้สั่งสมไว้ในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค, ผล ฯลฯ

นิพพาน ฯลฯ

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล,

แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 356

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว, กิเลสที่ข่มแล้ว, กิเลสที่

เคยเกิดขึ้นในกาลก่อน ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม โดยความเป็น

ของไม่เที่ยง โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

ด้วยเจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญ-

จัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณ-

ปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่

เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่

อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๓๒๓] ๑. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทา-

ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ กายะ

ฯลฯ รสะ ฯลฯ หทยวัตถุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 357

เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ

ย่อมเกิดขึ้น.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำ

กุศลกรรมนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ย่อมยินดี ย่อม

เพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ

ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมที่สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว ทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น ฯลฯ ผล ฯลฯ นิพพาน ฯลฯ

นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค แก่ผล ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำโผฏฐัพพะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ

โผฏฐัพพะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น

ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 358

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทา-

ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย

ที่เป็นอุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทา-

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรมเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอุปาทาธรรมและไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจ

ของอธิปติปัจจัย.

๔. อนันตรปัจจัย

[๓๒๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 359

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เหมือนกับ

ปฏิจจวาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย เหมือน

กับปฏิจจวาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

ในปัจจยวาระ เหมือนกับนิสสยวาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๓๒๕] ๑. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทา-

ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยซึ่งความถึงพร้อมด้วยจักษุ ฯลฯ ซึ่งความถึงพร้อม

ด้วยกายะ ซึ่งความถึงพร้อมด้วยวรรณะ ซึ่งความถึงพร้อมด้วยสัททะ ซึ่งความ

ถึงพร้อมด้วยคันธะ ซึ่งความถึงพร้อมด้วยรสะ ซึ่งโภชนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ

ทำลายสงฆ์.

ความถึงพร้อมด้วยจักษุ ความถึงพร้อมด้วยกายะ ความถึงพร้อมด้วย

วรรณะ ความถึงพร้อมด้วยสัททะ ความถึงพร้อมด้วยคันธะ ความถึงพร้อม

ด้วยรสะ โภชนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 360

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อ

มานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา สุขทาง

กาย ทุกข์ทางกาย อุตุ ฯลฯ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ผล

สมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๓๒๖] ๑. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทา-

ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูป ด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 361

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ ชิวหายตนะ เป็นปัจจัย

แก่ชิวหาวิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาน ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นโผฏฐัพพะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทม-

นัส ย่อมเกิดขึ้น.

โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาต-

ปัจจัย.

๓. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

คือ โผฏฐัพพายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่

ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

โผฎฐัพพายตนะ และกายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 362

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๓๒๗] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่

กายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๒)

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย

นี้ที่เป็นอุปาทาธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

พึงถามถึงมูล. (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายที่

เป็นอุปาทาธรรม และกายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย.

๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

๑๓. กัมมปัจจัย

[๓๒๘] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 363

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป

ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทา-

ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่

เป็นอุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็น

อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทา-

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 364

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจ

ของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป

ทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๓๒๙] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มี ๓ วาระ.

๑๕. อาหารปัจจัย

[๓๓๐] ๑. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม ด้วย

อำนาจของอาหารปัจจัย

คือ กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทาธรรมนี้ ด้วย

อำนาจของอาหารปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 365

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๒)

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทาธรรมนี้ ด้วยอำนาจ

ของอาหารปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓)

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทา

ธรรมนี้ ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ธรรมที่มีธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นมูล มี ๓ วาระ (วาระ

ที่ ๔-๕-๖)

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๑๖. อินทริยปัจจัย

[๓๓๑] ๑. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม ด้วย

อำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทาธรรม ด้วย

อำนาจของอินทริยปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๒)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 366

จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายินทรีย์ ฯลฯ รูปชีวิติน-

ทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของ

อินทริยปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓)

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม

และไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระ

ที่ ๔-๖) ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๗. อุปาทาธรรมและธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ จักขุนทรีย์ และจักขุวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่

สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ

๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๓๓๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ พึง

กระทำถึงปฏิสนธิ ฯลฯ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 367

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๓๓๓] ๑. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทา-

ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทา-

ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจ

ของวิปปยุตตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้ง

หลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็น

ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 368

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้

ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทา-

ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้ง

หลายที่เป็นอุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้

ที่เป็นอุปาทาธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทา-

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้ง

หลายที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 369

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรมเป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทา-

ธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๓๓๔] ๑. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อาหาระ และ อินทริยะ ได้แก่

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทาธรรมนี้ ด้วยอำนาจของ

อัตถิปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๒. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทา-

ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ อาหาระ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทา-

ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

ฯลฯ เหมือนกับปุเรชาตะ ไม่มีแตกต่างกัน.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 370

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรมนี้ ด้วยอำนาจ

ของอัตถิปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๓. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อาหาระ และ อินทริยะ

คือ กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่

อุปาทาธรรมนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม

และไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน-

รูปทั้งหลาย ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 371

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นโผฏฐัพพะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่ไม่ใช่อุปาทา-

ธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทา-

ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ที่เป็นอุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย

ที่เป็นอุปาทาธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทา-

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 372

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจ

ของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย

ที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิ-

ปัจจัย.

๗. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็น

ปัจจัยแก่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ

อินทริยะ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กาย

ที่เป็นอุปาทาธรรมนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม และรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่

กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๘. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ,

ปัจฉาชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 373

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม และหทยวัตถุ เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

โผฏฐัพพายตนะ และกายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย.

โผฏฐัพพายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่

อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร

เป็นปัจจัยแก่กาย ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรมนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์

เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 374

๙. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็น

ปัจจัยแก่อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของ

อัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ

อินทริยะ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร

เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรมนี้ ด้วยอำนาจของ

อัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่

กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทาธรรม และไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของ

อัตถิปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๓๓๕] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 375

ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๖ วาระ

ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ

ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอัตถิปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๓๓๖] ๑. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม ด้วย

อำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๒. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยและธรรมที่ไม่ใช่อุปาทา-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๓. อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 376

อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทา-

ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทา-

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

กัมมปัจจัย.

๗. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็น

ปัจจัยแก่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๘. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๙. อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็น

ปัจจัยแก่อุปาทาธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม ด้วยอำนาจ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 377

ของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๓๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตต-

ปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ

ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๓๓๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ... ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตต-

ปัจจัย มี ๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๓๓๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ... ใน

อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ พึงจำแนกอนุโลมมาติกาให้พิสดาร ในอวิคต-

ปัจจัย มี ๙ วาระ.

อุปาทาทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 378

๖๘. อุปาทินนทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๔๐] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

อุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัย

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม.

๓. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม อาศัย

อุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินน-

ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 379

๔. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปา-

ทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๕. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และ

อนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๓๔๑] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ ฯลฯ

๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 380

๓. อธิปติปัจจัย

[๓๔๒] ๑. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินน-

ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๓๔๓] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี

๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปาก-

ปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๕ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๕ วาระ

ในฌานปัจจัย มี ๕ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี

๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในนัตถิ-

ปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 381

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๓๔๔] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑

ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่ง

เป็นอเหตุกะ.

๓. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม อาศัย

อุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 382

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินน-

ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒

๔. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปา-

ทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ

๕. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และ

อนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่ง

เป็นอเหตุกะ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๓๔๕] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 383

คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินน-

ธรรม.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอารัมมณปัจจัย

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม.

๓. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรน เกิดขึ้น

เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๔. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และ

อนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม

และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 384

๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย

[๓๔๖] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอธิปติปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอนันตรปัจจัย

ฯลฯ เพราะนสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอัญญมัญญปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอุปนิสสยปัจจัย

๘. ปุเรชาตปัจจัย

[๓๔๗] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ

อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

อุปาทินนธรรม ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม.

๓. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนปุเรชาตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 385

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ

อาศัยขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินธรรม.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ ฯลฯ อุตุ-

สมุฏฐานรูป.

๔. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และ

อนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย

๑๑. กัมมปัจจัย

[๓๔๘] ๑. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปา-

ทินนธรรม.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 386

๑๒. นวิปากปัจจัย

[๓๔๙] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนวิปากปัจจัย

คือ อสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินน-

ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ตลอดถึงอุตุสมุฏฐานรูป.

๑๓. นอาหารปัจจัย

[๓๕๐] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอาหารปัจจัย

คือ อสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอาหารปัจจัย

คือ พาหิรรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

๑๔. นอินทริยปัจจัย

[๓๕๑] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอินทริยปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 387

คือ อสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอินทริยปัจจัย

คือ พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

๑๕. นฌานปัจจัย

[๓๕๒] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนฌานปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ

อาศัยขันธ์ ๒.

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ

๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนฌานปัจจัย

คือ พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

๑๖. นมัคคปัจจัย

[๓๕๓] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนมัคคปัจจัย เหมือนกับ เพราะนเหตุปัจจัย โมหะไม่มี.

๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เพราะนสัมปยุตตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 388

๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย

[๓๕๔] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ

อาศัยขันธ์ ๒.

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ

อาศัยขันธ์ ๒.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

ฯลฯ เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.

การนับจานวนวาระในปัจจนียะ

[๓๕๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี

๔ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๒ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 389

๔ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ใน

โนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๓๕๖] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ... ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาต-

ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ

ในนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปปยุตต-

ปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๓๕๗] เพราะนเหตุปัจจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ... ใน

อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย

มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ใน

อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย

มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ใน

มัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี

๕ วาระ.

สหชาตวาระ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 390

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๕๘] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ

อาศัยขันธ์ ๒.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๓. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม อาศัย

อุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย.

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินน-

ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 391

๔. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินน-

ธรรม อาศัยขันธ์ ๒.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๕. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และ

อนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ

อาศัยขันธ์ ๒.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๓๕๙] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 392

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๓. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ อาศัย

ขันธ์ ๒.

๔. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และ

อนุปาทินนธรรน เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม และหทยวัตถุ

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๓. อธิปติปัจจัย

[๓๖๐] ๑. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินน-

ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 393

๓. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และ

อนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม และหทยวัตถุ

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๓๖๑] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ

ใน นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๔ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ใน

วิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๓๖๒] ๑. อุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 394

ในอเหตุกะปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย

อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

๒. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น.

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่ง

เป็นอเหตุกะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทยวัตถุ.

๓. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม อาศัยอุปา-

ทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินน-

ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๔. อนุปาทินนธรรม อาศัยอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 395

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินน-

ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้ง

หลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๕. อนุปาทินนธรรม อาศัยอุปาทินนธรรม และ

อนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่ง

เป็นอเหตุกะ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และ

หทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้ง

หลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๖๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย

มี ๔ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๔ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๒ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 396

ในนฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย

มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ

ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๓๖๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ... ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉา-

ชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี

๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ

ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย

มี ๔ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๓๖๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ... ใน

อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย

มี ๕ วาระ.

นิสสยวาระ เหมือนกับ ปัจจยวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 397

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๖๖] ๑. อุปาทินนธรรม เจือกับอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ เจือกับ

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อนุปาทินนธรรม เจือกับ อนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ เจือกับ

ขันธ์ ๒.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๓๖๗] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

วิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 398

ปัจจนียนัย

[๓๖๘] ๑. อุปาทินนธรรม เจือกับอุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๒.

๒. อนุปาทินนธรรม เจือกับอนุปาทินนธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ซึ่งเป็น

อเหตุกะ ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๒.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เจือกับขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๖๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ วาระ.

การนับสองวาระนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 399

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๗๐] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม

ด้วยอานาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๓. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และ

อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 400

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๓๗๑] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พิจารณาจักษุ ฯลฯ กายะ ฯลฯ รูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม

คันธะ รสะ โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม

โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น ครั้นเมื่อกุศล และ

อกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.

รูปายตนะที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ

คันธายตนะที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่ฆานวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพ-

พายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมณปัจจัย

คือ พิจารณาจักษุ ฯลฯ กายะ ฯลฯ รูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม

คันธะ รสะ โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม

โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูป ซึ่งเป็นอุปาทินนธรรม ด้วยทิพยจักษุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ซึ่งเป็นอุปาทินนธรรม

ด้วยเจโตปริยญาณ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 401

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่

เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่

อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม แล้วพิจารณา

ซึ่งกุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น

ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลทั้งหลายที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อนฯ ฯ จากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค, ผล ฯลฯ

นิพพาน ฯลฯ

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล,

แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว, พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว,

รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน, ฯลฯ พิจารณารูปทั้งหลายที่เป็น

อนุปาทินนธรรม ฯลฯ สัททะ ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

อนุปาทินนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นอนุปาทินนธรรม

ด้วยเจโตปริยญาณ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 402

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญ-

จัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่

เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่

อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอานาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พิจารณารูปทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ สัททะ ฯลฯ

โผฏฐัพพะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม โดยความเป็นของ

ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น ครั้นเมื่อกุศลและอกุศล ดับไปแล้ว

ตทารัมมณจิต ที่เป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.

อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนวิบาก ฯลฯ

อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก.

รูปายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ

สัททายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของ

อารัมมณปัจจัย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๓๗๒] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 403

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ กายะ ฯลฯ

รูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ คันธะ รสะ โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุ

เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อม

เกิดขึ้น.

๒. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี

ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว

พิจารณา ครั้นกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ

ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น แล้วพิจารณา ฯลฯ ผล ฯลฯ นิพพาน ฯลฯ

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 404

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำรูปทั้งหลายที่เป็น

อนุปาทินนธรรม ฯลฯ สัททะ ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

อนุปาทินนธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ราคะ ย่อมเกิดขึ้น

ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. อนันตรปัจจัย

[๓๗๓] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ปัญจวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนธาตุ ด้วยอำนาจของอนันตร-

ปัจจัย.

วิบากมโนธาตุ เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ภวังค์ เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ, วิบากมโนวิญญาณธาตุ เป็น

ปัจจัยแก่ กิริยามโนวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 405

๓. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตร-

ปัจจัย.

๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ ปัญจวิญญาณ, ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ

เหมือนกับปฏิจจวาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ

เหมือนกับปฏิจจวาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ

เหมือนกับนิสสยปัจจัยในปัจจยวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 406

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๓๗๔] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

สุขทางกาย เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ โภชนะ เป็น

ปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ เป็นปัจจัย

แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลอาศัยสุขทางกายแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

บุคคลอาศัยทุกข์ทางกายฯลฯ อุตุที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ โภชนะ

แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 407

สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ เป็นปัจจัยแก่

ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

๓. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลอาศัยศรัทธา แล้วให้ทาน ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ

ฯลฯ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ

เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา แล้วยังตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน ฯลฯ

ย่อมเสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูล.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 408

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ

ฯลฯ เสนาสนะ แล้วยังตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน ฯลฯ ย่อมเสวยทุกข์มีการ

แสวงหาเป็นมูล.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

กุศล และอกุศลกรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๓๗๕] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาจักขุ ฯลฯ กายะ ฯลฯ รูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม

คันธะ โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส

ฯลฯ เมื่อกุศลและอกุศล ดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.

รูปายตนะ ที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ

คันธายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย

แก่กายวิญญาณ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 409

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

จักษุ ฯลฯ กายะ ฯลฯ รูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม คันธะ

รสะ โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส

ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปที่เป็นอุปาทินนธรรม ด้วยทิพยจักษุ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๓. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

รูปทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ สัททะ ฯลฯ โผฏฐัพพะ

โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปที่เป็นอนุปาทินนธรรม ด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วย

ทิพโสตธาตุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 410

๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม

ด้วยอานาจของปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นรูปทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ฯลฯ คันธะ

ฯลฯ โผฏฐัพพะโดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศล

และอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.

รูปายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ

สัททายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย.

๕. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย

แก่อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

คือ รูปายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม และจักขายตนะ เป็นปัจจัย

แก่จักขุวิญญาณ, สัททายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และกายายตนะ เป็น

ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

รูปายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพาย-

ตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจ

ของปุเรชาตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 411

๖. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย

แก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

คือ รูปายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม เเละ หทยวัตถุ ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินน-

ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๓๗๖] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย

อานาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย

แก่กายนี้ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย

แก่กายนี้ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๓. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และ

อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 412

๕. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๖. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม

และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๑๒. อาเสวนปัจจัย

[๓๗๗] ๑. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๓๗๘] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-

ขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 413

๓. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และ

อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๕. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๓๗๙] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย

อำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ฯลฯ

ในธรรมที่มีอุปาทินนธรรมเป็นมูล มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑-๒-๓)

๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 414

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ

ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๑๕. อาหารปัจจัย

[๓๘๐] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย

อำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็น

อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

รูปทั้งหลาย.

กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็น

อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๓. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และ

อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 415

คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.

กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็น

อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

กวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็น

อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๕. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ กวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็น

อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๖. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม

และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ กวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็น

อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๗. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย

แก่อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 416

คือ กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็น

ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เป็นอุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๘. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย

แก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ กวฬีการาหารที่เป็นอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็น

ปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๙. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย

แก่อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

คือ กวฬีการาหารที่เป็นอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็น

ปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของ

อาหารปัจจัย.

๑๖. อินทริยปัจจัย

[๓๘๑] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย

อำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-

ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 417

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ

อินทริยปัจจัย.

๒. อุปาทินนธรรมเป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม ฯลฯ

ในธรรมที่มีอุปาทินนธรรมเป็นมูล มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑-๒-๓)

รูปชีวิตินทรีย์ มีเฉพาะนัยต้นเท่านั้น นัยที่เหลือนอกนั้นไม่มี.

๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-

ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๓๘๒] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย

อำนาจของฌานปัจจัย มี ๔ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๓๘๓] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 418

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่

กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย

แก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินน-

ธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้ง

หลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 419

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้

ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๓. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และ

อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้

ที่เป็นอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปป-

ยุตตปัจจัย.

๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย

ที่เป็นอนุปาทินนธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๕. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 420

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย

ที่เป็นอนุปาทินนธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๖. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม

และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย

ที่เป็นอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรมนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปป-

ยุตตปัจจัย,

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๓๘๔] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

และ อินทริยะ

ฯลฯ

บทที่ย่อไว้ พึงจำแนกให้ครบถ้วน.

๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ

อาหาระ

บทที่ย่อไว้ พึงให้พิสดาร.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 421

๓. อุปาทินธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และ

อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ

ฯลฯ

บทที่ย่อไว้ พึงให้พิสดาร.

๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ

อาหาระ

ฯลฯ

บทที่ย่อไว้ พึงจำแนกให้พิสดาร.

๕. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

รูปทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรมที่เกิดก่อน ฯลฯ สัททะ ฯลฯ โผฏ-

ฐัพพะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น ครั้นเมื่อกุศล

และอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิต ที่เป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.

รูปายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 422

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้

ที่เป็นอุปาทินนธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

กวฬีการาหารที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปา-

ทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๖. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม

และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย

ที่เป็นอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรมนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของ

อัตถิปัจจัย.

กวฬีการาหารที่เป็นอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย แก่กายที่เป็นอุปา-

ทินนธรรม และอนุปาทินนธรรมนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๗. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย

แก่อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น ปุเรชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ

และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

รูปายตนะที่เป็นอนุปาทินนธรรม และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุ

วิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นอนุปาทินนธรรม และกายายตนะ เป็น

ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 423

รูปายตนะที่เป็นอนุปาทินนธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ

และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม กวฬีการาหารที่เป็นอนุปาทินน-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัย

แก่กฏัตตารูปทังหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๘. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรมเป็นปัจจัย

แก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

และ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัย

แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนธรรม และ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์

๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 424

รูปายตนะที่เป็นอนุปาทินนธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

โผฏฐัพพายตนะ และ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนธรรม และกวฬีการาหารที่เป็นอนุปา-

ทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ

ปัจจัย.

๙. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย

แก่อนุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อาหาระ ได้แก่

กวฬีการาหารที่เป็นอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย

แก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๓๘๕] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 425

๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๖

วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมม-

ปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

อินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ

ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในอัตถิปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอวิคต-

ปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๓๘๖] ๑. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๒. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัยด้วยอานาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 426

ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๓. อุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม และ

อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจ

ของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๔. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัยด้วยอำนาจอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉา-

ชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๕. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจ

ของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๖. อนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนธรรม

และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วย

อำนาจของอาหารปัจจัย.

๗. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย

แก่อุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วย

อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย,

เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 427

๘. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย

แก่อนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วย

อานาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

๙. อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม เป็นปัจจัย

แก่อุปาทินนธรรม และอนุปาทินนธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๘๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๘ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ใน

โนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย

มี ๔ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๓๘๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ... ใน

นอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสัมปยุตต-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ

ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 428

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๓๘๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ.... ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อุปาทินนทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 429

๖๙. อุปาทานทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๙๐] ๑. อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ กามุปาทาน อาศัยทิฏฐุปาทาน, ทิฏฐุปาทาน อาศัยกามุปาทาน,

กามุปาทาน อาศัยสีลัพพตุปาทาน, สีลัพพตุปาทาน อาศัยกามุปาทาน,

กามุปาทาน อาศัยอัตตวาทุปาทาน, อัตตวาทุปาทาน อาศัยกามุปาทาน.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย อาศัยอุปาทาน-

ธรรมทั้งหลาย.

๓. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

อาศัยอุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ กามุปาทาน, สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย

อาศัยทิฏฐุปาทาน กามุปาทาน ฯลฯ

พึงกระทำจักรนัยทั้งหมด.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 430

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาน-

ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่

อุปาทานธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๕. อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อุปาทานธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม.

๖. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทานธรรม อาศัยขันธ์ ๑

ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.

๗. อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม และธรรมที่

ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ กามุปาทาน อาศัยทิฏฐุปาทาน และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

พึงกระทำจักรนัยทั้งหมด.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 431

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาน-

ธรรม และอุปาทานธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอุปาทานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

อาศัยอุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ กามุปาทาน และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑

ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม และทิฏฐุปาทาน ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พึงกระทำจักรนัยทั้งหมด.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๓๙๑] ๑. อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม เกิดขึ้น

เพราะอารัมมณปัจจัย

พึงกระทำเป็น ๙ วาระ เว้นรูปออกเสีย.

การนับจานวนวาระในอนุโลม

[๓๙๒] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี

๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 432

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๓๙๓] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาน-

ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย

อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พาหิรรูป. .. อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย

อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๓๙๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม

เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอุปาทานธรรมทั้งหลาย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปทานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 433

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย,

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอุปาทานธรรมและมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๙. นอุปนิสยปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอนันตรปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอุปนิสสยปัจจัย

๑๐. นปุเรชาตปัจจัย

[๓๕๑] ๑. อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม เกิดขึ้น

เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ กามุปาทาน อาศัยอัตตวาทุปาทาน, อัตตาวาทุปาทาน

อาศัยกามุปาทาน.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทธรรม อาศัยอุปาทานธรรม

เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 434

คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยอุปาทานธรรมทั้งหลาย,

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอุปาทานธรรมทั้งหลาย.

ฯลฯ

พึงทำเป็น ๙ วาระ.

ในอรูปภูมิ มีอุปาทานธรรม ๒.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๓๙๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓วาระฯลฯ ในนอุปนิสสย-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย

มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในน-

สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย

มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๓๙๗] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.... ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาต-

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 435

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙

วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตต-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓

วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๓๙๘] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ... ใน

ปัจจัยทั้งปวง มี ๑ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย

มี ๑ วาระ.

แม้สหชาตวาระ ก็เหมือนกับปฏิจจวาระ.

สหชาตวาระพึงจำแนก ว่า ทิฏฐุปาทาน เกิดพร้อมกับกามุปาทาน.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 436

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๓๙๙] ๑. อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ กามุปาทาน อาศัยทิฏฐุปาทาน มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาน-

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ ตลอดถึง

อัชฌัตติกมหาภูตรูป.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๓. อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อุปาทานธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม.

อุปาทานธรรมทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๔. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 437

คือ ขันธ์ ๓ อุปาทานธรรมและจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่

ใช่อุปาทานธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

อุปาทานธรรมทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๕. อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม และธรรม

ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ กามุปาทาน อาศัยทิฏฐุปาทาน และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

ทิฏฐุปาทาน อาศัยกามุปาทาน และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

พึงกระทำจักรนัย.

กามุปาทาน อาศัยทิฏฐุปาทาน และหทยวัตถุ.

พึงกระทำจักรนัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทาน-

ธรรม และอุปาทานธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

พึงกระทำจักรนัย.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอุปาทานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยอุปาทานธรรม และหทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 438

๗. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

อาศัยอุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓, กามุปาทาน และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย อาศัยขันธ์

๑ ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม และทิฏฐุปาทาน ฯลฯ

พึงกระทำจักรนัย.

กามุปาทาน และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยทิฏฐุปาทาน และ

หทยวัตถุ.

พึงกระทำจักรนัย.

๒. อารัมมณปัจจัย

ฯลฯ เพราะอารัมมณปัจจัย

ในอารัมมณปัจจัย ซึ่งมีธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรมเป็นมูล พึงจำแนก

ทั้งปัญจายตนะ และหทยวัตถุ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๔๐๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย

มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 439

ปัจจนียนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๐๑] ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุปา-

ทานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้ง

หลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๐๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในนกัมมปัจจัย

มี ๓วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ ในโนวิคตปัจจัย

มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกจากนี้ก็ดีนิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 440

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๐๓] ๑. อุปาทานธรรม เจือกับอุปาทานธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ กามุปาทาน เจือกับทิฏฐุปาทาน ทิฏฐุปาทาน เจือกับกามุปาทาน.

พึงกระทำจักรนัย.

พึงกระทำทั้ง ๙ วาระ อย่างนี้.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๔๐๔] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย

มี ๑ วาระ ฯลฯ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๐๕] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ใช่

อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะฯลฯ

ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 441

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย

อุทธัจจะ เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๐๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

การนับทั้งสองวาระนอกจากนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 442

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๐๗] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๒)

เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๓)

เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 443

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-

ทานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๖)

เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๗. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม และไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็น

ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๘)

เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม และไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็น

ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุ-

ปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๙)

๒. อารัมมณปัจจัย

[๔๐๘] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 444

คือ เพราะปรารภอุปาทานธรรมทั้งหลาย อุปาทานธรรมย่อมเกิดขึ้น

พึงกระทำคำว่า ปรารภ ทั้ง ๓ วาระ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

คือ บุคคลให้ทาน รักษาศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้วพิจารณา

กุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น

ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

กุศลกรรมทั้งหลายที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน

แล้วพิจารณาฌาน.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค ผล ฯลฯ

พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่

อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณา กิเลสที่ละแล้ว ซึ่งไม่ใช่อุปาทานธรรม

ฯลฯ พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ละแล้ว, กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาล

ก่อน ฯลฯ

พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทาน

ธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

ด้วยเจโตปริยญาณ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 445

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญ-

ญายตนะ ฯลฯ

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่

เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตัง-

สญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-

ทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

คือบุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี

ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งกุศลกรรมนั้น เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะย่อม

เกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลทั้งหลายที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน, ออกจากฌาน ฯลฯ

พิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง

ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ

ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่

อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอานาจของ

อารัมมณปัจจัย

คือ ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณากุศลที่ได้

สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ จากฌาน ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 446

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์

ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น อุปาทานธรรม

และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๕. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย. พึงกระทำ

คำว่า ปรารภ ทั้ง ๓ วาระ.

๓. อธิปติปัจจัย

[๔๐๙] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำอุปาทานธรรมทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

อุปาทานธรรม ย่อมเกิดขึ้น มี ๓ วาระ เป็นอารัมมณาธิปติ อย่างเดียว.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณากุศลกรรม

ที่ได้สั่งสมไว้ ในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌานแล้วทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น แล้วพิจารณา ย่อมยินดี ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 447

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค แล้วกระทำมรรคให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น ผล ฯลฯ นิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่ ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทย

วัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น

กระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น

ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่

อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี

ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งกุศลกรรมนั้น เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลทั้งหลายที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจาก

ฌาน ฯลฯ.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทย-

วัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 448

ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิด

ขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้ง

หลายที่เป็นสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่

อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของ

อธิปติปัจจัย.

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณากุศลที่ได้

สั่งสมไว้ในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทย-

วัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น

กระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว อุปาทานธรรมและ

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย,

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 449

๗. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ

เป็นอารัมมณาธิปติ.

พึงกระทำคำว่า ปรารภ ทั้ง ๓ วาระ (วาระที่ ๗-๘-๙) เป็น

อารัมมณาธิปติอย่างเดียว.

๔. อนันตรปัจจัย

[๔๑๐] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

คือ อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน-

ธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่

ใช่อุปาทานธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้ง

หลายที่เกิดหลัง ๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 450

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย

แก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-

ปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรมเป็นปัจจัยแก่อุปาทาน-

ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-

ทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอนันตร-

ปัจจัย.

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลัง ๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจ

ของอนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๗. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 451

คือ อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อน ๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-

ปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อน ๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อน ๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดหลัง ๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เหมือนกับ

ปัจจยวาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย เหมือน

กับ ปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 452

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย เหมือนกับ

ปัจจยวาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๔๑๑] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ.

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

อุปาทานธรรมทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ.

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลอาศัยศรัทธา แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อมานะ

ถือทิฏฐิ.

ศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ บุคคล

เข้าไปอาศัยเสนาสนะแล้ว ถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 453

มุสาวาท ฯลฯ ปิสุณาวาจา ฯลฯ ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด

ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัย ศีล ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ เข้า

ไปอาศัยเสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน-

ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มีอย่างเดียวคือ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ อทินนาทาน ฯลฯ

มุสาวาท ฯลฯ ปิสุณาวาจา ฯลฯ ผรุสวาจา ฯลฯ สัมผัปปลาปะ ฯลฯ ตัดช่อง

ย่องเบา ฯลฯ ลอบขึ้นไปลักทรัพย์ ฯลฯ ปล้นบ้านหลังหนึ่ง ฯลฯ ปล้นตามทาง

ฯลฯ ผิดในภริยาผู้อื่น ฯลฯ ฆ่าคนในหมู่บ้าน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ฯลฯ

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๖).

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา แล้วก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะ แล้วถือเอาสิ่งของที่เจ้าของ

มิได้ให้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 454

มุสาวาท ฯลฯ ปิสุณาวาท ฯลฯ ผรุสวาจา ฯลฯ สัมผัปปลาปะ ฯลฯ

ตัดช่องย่องเบา ฯลฯ ลอบขึ้นไปลักทรัพย์ ฯลฯ ปล้นบ้านหลังหนึ่ง ฯลฯ ปล้น

ตามทาง ฯลฯ ภริยาผู้อื่น ฯลฯ ฆ่าคนในหมู่บ้าน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ฯลฯ

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และสัมปยุตต-

ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๗. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็นปกตูปนิสสยะ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗-๘-๙).

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๔๑๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น

ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 455

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ย่อมยินดี เพลิดเพลินยิ่ง

เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเร-

ชาตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรมเป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาจักษุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งหทยวัตถุ เพราะ

ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 456

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๔๑๓] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปา-

ทานธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๓. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต

ปัจจัย ฯลฯ

๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๔๑๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 457

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นอุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๔๑๕] ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ มี ๑ วาระ.

๑๕. อาหารปัจจัย

[๔๑๖] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

มี ๓ วาระ ได้แก่ กวฬีการาหาร อย่างเดียว.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 458

๑๖. อินทริยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ

คือ รูปชีวิตินทรีย์ อย่างเดียว.

๑๗. ฌานปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.

๑๘. มัคคปัจจัย

[๔๑๗] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วย

อำนาจของมัคคปัจจัย

คือ องค์มรรคทั้งหลาย ที่เป็นอุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

ธรรมทั้งหลายที่เป็นสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.

พึงกระทำเป็น ๙ วาระ โดยเหตุนี้.

๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๔๑๘] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทาน

ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 459

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

อุปาทานธรรมทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ สหชาตะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-

ทานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ

วิปปยุตตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-

ทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตต-

ปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 460

๕. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตต-

ปัจจัย.

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย

แก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๔๑๙] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย.

คือ กามุปาทาน เป็นปัจจัยแก่ทิฏฐุปาทาน ด้วยอำนาจของอัตถิ

ปัจจัย. ฯลฯ.

พึงกระทำจักรนัย

๒. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปา-

ทานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 461

อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

อุปาทานธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย.

๓. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับ

ปฏิจจวาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

และ อินทริยะ ฯลฯ พึงให้พิสดาร.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-

ทานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ เหมือนกับ สหชาตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ เหมือนกับ ปุเรชาตปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-

ทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ-

ปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 462

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ พึงจำแนก เหมือนกับ สหชาตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ พึงจำแนก เหมือนกับ ปุเรชาตปัจจัย.

๗. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ทิฏฐุปาทาน และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กามุปาทาน

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พึงกระทำจักรนัย.

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ทิฏฐุปาทาน และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่กามุปาทาน ด้วยอานาจของ

อัตถิปัจจัย.

พึงกระทำจักรนัย.

๘. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ,

ปัจฉาชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 463

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม และอุปาทานธรรมทั้งหลาย เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ

ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

อุปาทานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

อุปาทานธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่

อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย

แก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

อุปาทานธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เกิดภายหลัง และ

กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

อุปาทานธรรม สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และรูปชีวิตินทรีย์ เป็น

ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๙. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 464

มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม และทิฏฐุปาทาน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓,

และกามุปาทาน และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ

ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พึงกระทำจักรนัย

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ทิฏฐุปาทาน และหทยวัตถุ ที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่กามุปาทาน และ

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พึงกระทำจักรนัย

[๔๒๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ

ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย

มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคค-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ

ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 465

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๔๒๑] ๑. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ อุปาทานธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-

ปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปา-

ทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๓. อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 466

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-

ทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรมเป็นปัจจัยแก่อุปาทาน-

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุป-

นิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๗. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย.

๘. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๙. อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วย

อานาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 467

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๒๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ฯลฯ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๔๒๓] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ... ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสย-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๔๒๔] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ... ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ พึงกระทาอนุโลมมาติกา ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อุปาทานทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 468

๗๐. อุปาทานิยทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๒๕] ๑. อุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานิย-

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย

อาศัยหทยวัตถุ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

โลกิยทุกะ เป็นอย่างไร พึงกระทำอย่างนั้น ไม่แตกต่างกัน.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 469

๗๑. อุปาทานสัมปยุตตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๒๖] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ฯลฯ

ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๒. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม.

โลภะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่

เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต.

๓. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทาน-

สัมปยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

ขันธ์ ๓, โลภะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย

โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 470

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทาน-

วิปปยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปา-

ทานวิปปยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.

๕. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต.

๖. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะที่เป็น

ทิฏฐิคตวิปปยุต.

๗. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปป-

ยุต และโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 471

๘. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม

และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิ-

คตวิปปยุต และโลภะ.

๙. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย

โลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๔๒๗] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ฯลฯ

ขันธ์ ๒ ฯลฯ.

๒. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ โลภะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิคต-

วิปปยุต.

๓. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 472

คือ ขันธ์ ๓ และโลภะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็น

ทิฏฐิคตวิปปยุต ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย

อาศัยหทยวัตถุ.

๕. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต.

๖. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตต-

และโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ฯลฯ

การนับจานวนวาระในอนุโลม

[๔๒๘] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๖ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 473

ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๖ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙

วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปปยุตต-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ใน

วิคตปัจจัย มี ๖ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๒๙] ๑. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทาน-

วิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้ง

หลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๔๓๐] ๑. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 474

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม.

๒. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคต-

วิปปยุต และโลภะ.

๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๖. อุปนิสสยปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย

เพราะนอนันตรปัจจัย

เพราะนสมนันตรปัจจัย

เพราะนอุปนิสสยปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 475

๗. นปุเรชาตปัจจัย

[๔๓๑] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๒. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ โลภะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็น

ทิฏฐิคตวิปปยุต.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม.

๓. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ และโลภะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย

โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 476

๕. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคต-

วิปปยุต.

๖. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็น

ทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๗. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิ-

คตวิปปยุต และโลภะ

๘. ปัจฉาชาตะ ฯลฯ ๙. นอาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย

๑๐. นกัมมปัจจัย

[๔๓๒ ] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 477

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม.

๒. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม.

พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

๓. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย.

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต.

๔. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย.

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็น

ทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๓๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี

๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 478

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓

วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคต

ปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ ก็พึงกระทำ.

สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 479

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๓๔] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัยมี ๓ วาระ (วาระที่ ๑-๓) เหมือนกับ

ปฏิจจวาระ.

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ฯลฯ ตลอด

ถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต อาศัยหทยวัตถุ.

๕. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต.

๖. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 480

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะที่เป็น

ทิฏฐิคตวิปปยุต.

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ

อาศัยหทยวัตถุ.

๗. อุปาทานสัมปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม และ

หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และ

โลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๘. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม

และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิ-

คตวิปปยุต และโลภะ.

โลภะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต

และหทยวัตถุ.

๙. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม อาศัยอุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 481

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม และ

หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม

และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ขันธ์ ๓ และโลภะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคต-

วิปปยุตต และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

ในอารัมมณปัจจัย พึงกระทำปัญจวิญญาณ.

การนับจานวนวาระในอนุโลม

[๔๓๕] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี

๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ใน

อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๔๓๖] ๑. อุปาทานวิปปยุตตธรรม อาศัยอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 482

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็น

อเหตุกะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัย

หทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๓๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี

๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี

๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 483

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๓๘] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เจือกับอุปาทานสัมป-

ยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ฯลฯ มี

๓ วาระ. (วาระที่ ๑-๒-๓)

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เจือกับอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อรูปภูมิ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๕. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เจือกับอุปาทานวิปป-

ยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อรูปภูมิ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๖. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เจือกับอุปาทานสัมป-

ยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อรูปภูมิ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

การนับจานวนวาระในอนุโลม

[๔๓๙] ในเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๖ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ

ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 484

ปัจจนียนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๔๐] ๑. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เจือกับอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

การนับจานวนวาระในปัจจนียะ

[๔๔๑] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๖ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย

มี ๖ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 485

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๔๒] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน-

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมป-

ยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

เหตุทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัย

แก่โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ

เหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓).

เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

เหตุทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัย

แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, โลภะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ

ของเหตุปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 486

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

โลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๕)

โลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๖)

โลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๗. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ เป็น

ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๘)

โมหะ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ เป็น

ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 487

๙. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ

เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุ

ปัจจัย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๔๔๓] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๒)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๓)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ขันธ์ทั้งหลาย

ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 488

คือ ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กุศลที่ได้สั่งสม

ไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจากฌาน แล้วพิจารณาฌาน.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะ

ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ เมื่อฌานเสื่อมไป

โทมนัส ย่อมเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้เดือดร้อนใจ.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค, ผล ฯลฯ พิจารณา

นิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่

อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ และขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็น

ทิฏฐิคตวิปปยุต ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ฯลฯ พึงใส่

ให้ครบถ้วน เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ตลอดถึงกายวิญญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ,

แก่เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่

อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 489

๕. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ฌาน ฯลฯ จักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ

ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม

และโลภะ เพราะปรารภทานเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

๖. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

สัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของ

อารัมมณปัจจัย

คือ พิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

อุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็น

ทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ย่อมเกิดขึ้น.

๗. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-

ปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปป-

ยุต และโลภะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๘)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต

และโลภะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 490

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๙)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต-

และโลภะ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิควิปปยุต และโลภะ

ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๔๔๔] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ให้เป็น

อารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๒)

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ให้เป็น

อารมณ์อย่างหนักแน่น โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 491

อธิปติธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

อธิปติธรรมที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัยแก่

โลภะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๓)

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ให้เป็น

อารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต

และโลภะ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

อธิปติธรรมที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โลภะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ

อธิปติปัจจัย.

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 492

ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำ

ทานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต

ย่อมเกิดขึ้น.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจ

ของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ ให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ

ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ให้ทาน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ ให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ

ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 493

๖. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

สัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติ-

ปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

จักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทาน-

วิปปยุตตธรรม และโลภะ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลาย

ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ย่อมเกิดขึ้น.

๗. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติ

ปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต

และโลภะ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๘)

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต

และโลภะ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ย่อม

เกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๙)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 494

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต

และโลภะ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ

ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย

[๔๔๕] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน-

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อุปาทานสัมปยุตตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจ

ของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๒)

ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดก่อน ๆ

เป็นปัจจัยแก่โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-

ปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดก่อน ๆ

เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิด

หลัง ๆ และโลภะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 495

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน-

วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่โลภะ

ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย

แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๕)

โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย

ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๖)

โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย

ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดหลัง ๆ และโลภะ ด้วยอำนาจ

ของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 496

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็น

ทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๗. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตร-

ปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิด

ก่อน ๆ และโลภะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิ-

คตวิปปยุต ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดก่อน ๆ

และโลภะ เป็นปัจจัยแก่โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจ

ของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ

เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่เกิดก่อน ๆ

และโลภะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต

ที่เกิดหลัง ๆ และโลภะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

[๔๔๖] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน-

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 497

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

เหมือนกับปฏิจจวาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ

เหมือนกับปฏิจจวาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ

เหมือนกับปัจจยวาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๔๔๗] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน-

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้ง

หลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 498

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย

ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย.

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อมานะ

อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ

บุคคลเข้าไปอาศัย ราคะ มานะ ความปรารถนา ฯลฯ เสนาสนะ ที่

เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่

ราคะ แก่มานะ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ

ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน-

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ วาระ คือ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ก่อมานะ ถือทิฏฐิ ศีล

ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะ มานะ ความปรารถนา ฯลฯ เสนาสนะ ที่เป็น

อุปาทานวิปปยุตตธรรมแล้วทำอทินนาทาน ฯลฯ มุสาวาท ฯลฯ ปิสุณาวาท ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 499

ผรุสวาท ฯลฯ สัมผัปปลาปะ ฯลฯ ตัดช่องย่องเบา ฯลฯ ลอบขึ้นไปลัก

ทรัพย์ ฯลฯ ปล้นบ้านหลังหนึ่ง ฯลฯ ปล้นตามทาง ฯลฯ ผิดภริยาผู้อื่น ฯลฯ

ฆ่าคนในหมู่บ้าน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ฯลฯ

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะ แก่โมหะ แก่มานะ แก่

ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

๖. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน-

สัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา แล้วก่อมานะ ฯลฯ ศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะ ฯลฯ เสนาสนะ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม แล้วถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ให้ กระทำการฆ่าคนในหมู่บ้าน ฆ่าคน

ในนิคม.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ

ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๗. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุป-

นิสสยปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 500

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ

เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ

เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ ด้วยอำนาจ

ของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ

เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๔๔๘] ๑. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 501

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทย-

วัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม และโลภะ

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน-

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ

ปรารภจักษุเป็นต้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๓. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน-

สัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาต

ปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ

ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 502

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคต-

วิปปยุต และโลภะ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๔๔๙] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๒. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๓. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉา-

ชาตปัจจัย ฯลฯ

๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

๑๓. กัมมปัจจัย

[๔๕๐] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 503

๒. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

เจตนาที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัยแก่โลภะ

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และ

กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

สัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมม-

ปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

เจตนาที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, โลภะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ

ของกัมมปัจจัย.

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 504

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และ

กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๔๕๑] ๑. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ

มี ๑ วาระ.

๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๔๕๒] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 505

ในปัจจัยทั้ง ๔ นี้ พึงแสดงเหมือนโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ที่

แสดงไว้ในกัมมปัจจัย มีปัจจัยละ ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๔๕๓] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ ที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทาน

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

สัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปป-

ยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 506

หทยวัตถุ ที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่

เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๕. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปป-

ยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ

เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๔๕๔] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ เหมือนกับ

ปฏิจจวาระ.

๒. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

สัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ-

ปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 507

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

และ อินทริยะ

๕. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ ฯลฯ

๖. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

สัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ-

ปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ในปัจจัยเหล่านี้ ที่เป็น สหชาตะ เหมือนกับสหชาตปัจจัย, ที่เป็น

ปุเรชาตะ เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย.

๗. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ

ปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 508

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๘. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ-

ปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ,

ปัจฉาชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย

เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ

เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และหทยวัตถุ

เป็นปัจจัยแก่โลภะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ

ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 509

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต, โลภะ ที่เกิด

ภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต, โลภะ ที่

เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ

ของอัตถิปัจจัย.

๙. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และโลภะ เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต และหทยวัตถุเป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และโลภะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 510

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๔๕๕] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี

๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี

๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ใน

อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๔๕๖] ๑. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 511

๒. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

กัมมปัจจัย.

๓. อุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

สัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอา-

รัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. อุปาทานวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน

สัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 512

อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาต

ปัจจัย.

๗. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัม-

มณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๘. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัม-

มณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๙. อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานสัมปยุตตธรรม และอุปาทานวิปปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๕๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 513

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๔๕๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ.... ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตต-

ปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจานวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๔๕๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ... ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนุโลมมาติกา ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อุปาทานสัมปยุตตทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 514

๗๒. อุปาทานอุปาทานิยทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๖๐] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานธรรม และอุปาทานิยธรรม

อาศัยธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานธรรม และอุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ กามุปาทาน อาศัยทิฏฐุปาทาน, ทิฏฐุปาทาน อาศัยกามุปาทาน.

พึงกระทำจักรนัย.

๒. ธรรมที่เป็นอุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

อาศัยธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย อาศัยอุปาทานธรรม

ทั้งหลาย.

๓. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานิยธรรม และ

ธรรมที่เป็นอุปาทานิยะ แต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่เป็น

ทั้งอุปาทานและอุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ กามุปาทาน, สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย

อาศัยทิฏฐุปาทาน.

พึงกระทำจักรนัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 515

๔. ธรรมที่เป็นอุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

อาศัยธรรมที่เป็นอุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานิยะ

แต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอัชฌัต-

ติกมหาภูตรูป.

๕. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานิยธรรม อาศัย

ธรรมที่เป็นอุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ-

ปัจจัย

คือ อุปาทานธรรมทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานิยะ แต่

ไม่ใช่อุปาทานธรรม.

๖. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานิยธรรม และ

ธรรมที่เป็นอุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่เป็น

อุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อุปาทานธรรมทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย

ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๗. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานิยธรรม อาศัย

ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานิยธรรม และธรรมที่เป็นอุปา-

ทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ กามุปาทาน อาศัยทิฏฐุปาทาน และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

พึงกระทำจักรนัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 516

๘. ธรรมที่เป็นอุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

อาศัยธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานิยธรรม และธรรมที่เป็น

อุปาทานิยะ แต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานิยะ

แต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม และอุปาทานธรรมทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอุปาทานธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานิยธรรม และ

ธรรมที่เป็นอุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม อาศัยธรรมที่เป็น

ทั้งอุปาทานและอุปาทานิยธรรม และธรรมที่เป็นอุปาทานิยะแต่

ไม่ใช่อุปาทานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓, กามุปาทาน และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

อุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม และทิฏฐุปาทาน ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พึงกระทำจักรนัย.

โดยนัยนี้ อุปาทานทุกะฉันใด ปฏิจจวาระก็ดี สหชาตวาระก็ดี

ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี

พึงกระทำฉันนั้น ไม่มีแตกต่างกัน, หลักจำแนกวาระต่างกัน.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 517

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๖๑] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานิยธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ

เหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย

แก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เป็นสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานิยธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นอุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจ

ของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย

แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

เหมือนกับ อุปาทานทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน มี ๙ วาระ.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๔๖๒] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานิยธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 518

คือ เพราะปรารภอุปาทานธรรมทั้งหลาย อุปาทานธรรมทั้งหลาย

ย่อมเกิดขึ้น. มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑-๒-๓)

๔. ธรรมที่เป็นอุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นอุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทานแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน พิจารณาฌาน ย่อมยินดี

ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภทานเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา

อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณาโคตรภู, พิจารณาโวทาน ฯลฯ กิเลสที่ละ

แล้ว ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่

อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๕. ธรรมที่เป็นอุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ

สองนัยนอกนี้ เหมือนกับอุปาทานทุกะ.

๗. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานิยธรรม และ

ธรรมที่เป็นอุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่เป็นอุปาทานและอุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

มี ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 519

๓. อธิปติปัจจัย

อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับอุปาทานทุกะข้างต้น.

[๔๖๓] ๑. ธรรมที่เป็นอุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นอุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ให้ทานแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่นแล้ว พิจารณา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำทาน

เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

พระเสกขบุคคลทั้งหลาย กระทำโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

ฯลฯ โวทาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก

แน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ

ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอุปาทานิยะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 520

อารัมมณาธิปติก็ดี สหชาตาธิปติก็ดี ทั้งสองอย่างที่เหลือ

เหมือนกับอุปาทานทุกะ.

ปัจจัยสงเคราะห์แม้ที่เป็นอธิปติปัจจัย ก็มี ๓ วาระ เหมือนกับ

อุปาทานทุกะ.

ปัจจัยทั้งหมดเหมือนกับอุปาทานทุกะ ในอุปาทานิยะ โลกุตตรธรรม

ไม่มี ปัจจนียะก็ดี การนับทั้งสองอย่างนอกนี้ก็ดี เหมือนกับอุปาทานทุกะ.

อุปาทานอุปาทานิยทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 521

๗๓. อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๖๘] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทาน และอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ กามุปาทาน อาศัยทิฏฐุปาทาน.

พึงกระทำจักรนัย.

๒. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานสัมปยุตตะ แต่ไม่ใช่อุปา-

ทานธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยอุปาทานธรรมทั้งหลาย.

๓. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม และธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

อาศัยธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 522

คือ กามุปาทานและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยทิฏฐุปาทาน.

พึงกระทำจักรนัย.

ฯลฯ อาศัยธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานสัมปยุตตะ แต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

ฯลฯ

หลักการจำแนกจำนวนวาระต่างกัน เหมือนอุปาทานทุกะ มี ๙ วาระ

รูปไม่มี วาระทั้งหมด พึงให้พิสดารอย่างนี้ อรูปภูมิเท่านั้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 523

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๖๕] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็น

ปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ที่เป็นสัมปยุตตธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๒)

เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัย

แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓)

เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัย

แก่สัมปยุตตขันธ์และอุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๔. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปา-

ทานธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่

อุปาทานธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เป็นสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของ

เหตุปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 524

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๕)

เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็น

ปัจจัยแก่อุปาทานธรรมทั้งหลาย ที่เป็นสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตร

ปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๖)

เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะ แต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็น

ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และอุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๗. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม และธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะ แต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม และ

ที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะ แต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม

ทั้งหลายที่เป็นสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๘)

เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม และที่

เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๙)

เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม และที่

เป็นอุปาทานสัมปยุตตะ แต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และอุปาทานธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 525

๒. อารัมมณปัจจัย

[๔๖๖] ๑. ธรรมที่เป็นอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภอุปาทานธรรมทั้งหลาย อุปาทานธรรมทั้งหลาย

ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๒)

เพราะปรารภอุปาทานธรรมทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทาน-

สัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓)

เพราะปรารภอุปาทานธรรมทั้งหลาย อุปาทานธรรมและสัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทาน-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทาน-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปา-

ทานธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ย่อม

เกิดขึ้น พึงทำทั้ง ๓ วาระ. (วาระที่ ๔-๕-๖)

ในปัจจัยสงเคราะห์ ก็พึงกระทำทั้ง ๓ วาระ. (วาระที่ ๗-๘-๙)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 526

๓. อธิปติปัจจัย

[๔๖๗] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ.

๔. ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทาน-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทาน-

ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ มีทั้ง

๓ วาระ.

พึงกระทำอธิปติปัจจัยทั้งสอง ทั้ง ๓ วาระ (วาระที่ ๔-๕-๖) แม้

อธิปติปัจจัยที่เป็นปัจจัยสงเคราะห์ ก็มี ๓ วาระ. (วาระที่ ๗-๘-๙)

๔. อนันตรปัจจัย

[๔๖๘] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม ที่เกิด

ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่อุปาทานธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-

ปัจจัย.

ทั้ง ๙ วาระ พึงกระทำอย่างนี้ อาวัชชนะก็ดี วุฏฐานะก็ดีไม่มี.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 527

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

[๔๖๙] ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตตธรรม ด้วย

อำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๔๗๐] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ มี ๓ วาระ

๔. ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทาน-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตะแต่ไม่ใช่อุปาทาน-

ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.

แม้ใน อุปนิสสยปัจจัย ที่เป็นปัจจัยสงเคราะห์ ก็มี ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 528

๑๐. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

๑๑. กัมมปัจจัย ฯลฯ ๒๐. อวิคตปัจจัย

[๔๗๑] ๑. ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะ แต่ไม่ใช่อุปาทาน

ธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะ แต่ไม่ใช่อุปา-

ทานธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๔๗๒] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙

วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสย-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 529

ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓

วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย

มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคต-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๔๗๓] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปา-

ทานธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๓. ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งอุปาทานและอุปาทานสัมปยุตต-

ธรรม และธรรมที่เป็นอุปาทานสัมปยุตตะแต่ไม่ใช่อุปาทานธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

พึงกระทา ๙ วาระ อย่างนี้ ในมูลแห่งธรรมหนึ่ง ๆ มี ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 530

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๗๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๔๗๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ... ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ใน

นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย

มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๔๗๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ... ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ.

พึงกระทำอนุโลมมาติกา.

อุปาทานอุปาทานสัมปยุตตทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 531

๗๔. อุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๗๗] ๑. ธรรมที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยธรรม

อาศัยธรรมที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทาน

วิปปยุตตอุปาทานิยธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป

ทั้งหลาย.

๒. ธรรมที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตอนุปาทานิยธรรม

อาศัยธรรมที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตอนุปาทานิยธรรม

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 532

๓. ธรรมที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยธรรม

อาศัยธรรมที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตต-

อนุปาทานิยธรรม.

๔. ธรรมที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยธรรมและ

ธรรมที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตอนุปาทานิยธรรม อาศัยธรรมที่เป็น

อุปาทานวิปปยุตตอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทาน-

วิปปยุตตอนุปาทานิยธรรม ฯลฯ

๕. ธรรมที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยธรรม

อาศัยธรรมที่เป็นอุปาทานวิปปยุตตอนุปาทานิยธรรม และธรรมที่เป็น

อุปาทานวิปปยุตตอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทานวิปปยุตต-

อนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

การนับจานวนวาระในอนุโลม

[๔๗๘] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ

ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ทุกะนี้เหมือนกับโลกิยทุกะในจูฬันตรทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน.

อุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 533

๗๕. กิเลสทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๗๙] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.

โมหะ ทิฏฐิ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.

โมหะ มานะ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.

โมหะ มานะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.

โมหะ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.

โมหะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.

โมหะ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโทสะ.

โมหะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโทสะ.

โมหะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยวิจิกิจฉา.

โมหะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยอุทธัจจะ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกิเลส.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 534

๓. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัย

ธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ,

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะ.

พึงกระทำจักรนัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส ฯลฯ

ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัย

หทยวัตถุ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๕. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ กิเลสทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส.

๖. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓, กิเลสทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑

ที่ไม่ใช่กิเลส ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๗. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และ

ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 535

คือ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ

และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

พึงกระทำจักรนัย.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และ

ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส และ

กิเลสทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกิเลสธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัย

ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ

และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส และโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

พึงกระทำจักรนัย.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๔๘๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ

ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 536

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๔๘๑] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ อาศัยวิจิกิจฉา, โมหะอาศัยอุทธัจจะ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส

ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

อเหตุกปฏิสนธิขณะ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๔. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และ

ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

วิจิกิจฉา และวิจิกิจฉา โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย

ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และอุทธัจจะ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 537

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๔๘๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น

เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกิเลสทั้งหลาย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส

เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และ

ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยทั้งกิเลส และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกิเลส และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๓. อธิปติปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอนันตรปัจจัย

ฯลฯ เพราะนสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอัญญมัญญปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอุปนิสสยปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 538

๘. นปุเรชาตปัจจัย

[๔๘๓] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น

เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ

อาศัยโลภะ

โมหะ ทิฏฐิ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.

โมหะ มานะ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.

โมหะ มานะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.

โมหะ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.

โมหะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.

โมหะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยวิจิกิจฉา.

โมหะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยอุทธัจจะ.

ในอรูปภูมิ ที่มีโทสะเป็นมูล ไม่มี.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น

เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยกิเลสทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกิเลสทั้งหลาย.

วาระทั้ง ๙ พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 539

๙. ปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย

๑๑. นกัมมปัจจัย

[๔๘๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลสเกิดขึ้น

เพราะนกัมมปัจจัย

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยกิเลสทั้งหลาย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น

เพราะนกัมมปัจจัย

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และ

ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย

คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยกิเลส และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

ปัจจัยทั้งปวง พึงกระทำอย่างนี้.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๘๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 540

มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ

ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สหชาตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 541

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๘๖] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส ตลอดถึงอัชฌัตติก-

มหาภูตรูป. ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยหทยวัตถุ.

๕. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ กิเลสทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส.

กิเลสทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๖. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓, กิเลสทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑

ที่ไม่ใช่กิเลส ฯลฯ ขันธ์ ๒.

กิเลสทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

กิเลส และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 542

๗. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และ

ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ

และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

พึงกระทำจักรนัย.

กิเลสทั้งหลาย อาศัยโลภะ และหทยวัตถุ

๘. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และ

ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลสและ

กิเลส ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกิเลสและมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยกิเลสทั้งหลาย และหทยวัตถุ.

๙. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัย

ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ

และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส และโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

พึงกระทำจักรนัย.

โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ และสัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย อาศัยโลภะ และหทยวัตถุ.

พึงกระทำจักรนัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 543

๒. อารัมมณปัจจัย

ในอารัมมณปัจจัย ในธรรมที่ไม่ใช่กิเลสเป็นมูล พึงกระทำ

ปัญจวิญญาณ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๔๘๗] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ

ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๔๘๘] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยวิจิกิจฉา, โมหะที่สหรคต

ด้วยอุทธัจจะ อาศัยอุทธัจจะ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

๓. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิด

ขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 544

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

๔. ธรรมที่เป็นกิเลส อาศัยธรรมที่เป็นกิเลส และ

ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยวิจิกิจฉา สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย และหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยอุทธัจจะ, สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

และหทยวัตถุ.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๔๘๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปาก-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓

วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 545

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๙๐] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เจือกับธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ เจือกับโลภะ.

พึงกระทำจักรนัย.

พึงกระทำ ๙ วาระอย่างนี้.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๔๙๑] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๔๙๒] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เจือกับธรรมที่เป็นกิเลส เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

พึงกระทำ นเหตุปัจจัย ๔ วาระอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 546

การนับจานวนวาระในปัจจนียะ

[๔๙๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 547

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๔๙๔] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลายที่เป็น

สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๒)

เหตุทั้งหลายที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓)

เหตุทั้งหลายที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์, กิเลสและ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

กิเลส ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 548

๒. อารัมมณปัจจัย

[๔๙๕] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภกิเลสทั้งหลาย กิเลสทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๒)

เพราะปรารภกิเลสทั้งหลาย ธรรมที่ไม่ใช่กิเลสทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓ )

เพราะปรารภกิเลสทั้งหลาย กิเลสและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อม

เกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

กิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณา

กุศลที่สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน แล้วพิจารณาฌาน ย่อม

ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภทานเป็นต้น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ

วิจิกิจฉา อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผล แก่อาวัชชนะ

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่

กิเลส โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ ฯลฯ เป็นปัจจัย

แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 549

๕. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือบุคคลให้ทาน ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลิน

ยิ่ง ซึ่งฌาน เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา ฯลฯ

อุทธัจจะ ฯลฯ เมื่อฌานเสื่อมไป โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น แก่บุคคลผู้เดือดร้อนใจ.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิด-

เพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ

ฯลฯ โทมนัส ฯลฯ

๖. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือบุคคลให้ทาน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ จักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส เพราะ

ปรารภทานเป็นต้นนั้น กิเลส และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

๗. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

(วาระที่ ๗-๘-๙)

๓. อธิปติปัจจัย

[๔๙๖] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 550

เพราะกระทำกิเลสทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น กิเลสทั้ง-

หลาย ย่อมเกิดขึ้น.

มี ๓ วาระ เป็นอารัมมณาธิปติ อย่างเดียว.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

กิเลส ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรมแล้ว ทำกุศลกรรม

นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ

กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ

ย่อมเกิดขึ้น.

กุศลกรรมที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทย-

วัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลสให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ

จักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ

ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 551

๕. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ทาน ฯลฯ ฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทย-

วัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลสให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น

กระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น

ทิฏฐิ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย ที่เป็นสัมปยุตต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ทาน ฯลฯ ฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระจักษุ ฯลฯ หทย-

วัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลสให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ

ทานเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว กิเลสและสัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 552

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ กิเลสและ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๗. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ

(วาระที่ ๗-๘-๙)

เป็น อารัมมณาธิปติ อย่างเดียว.

๔. อนันตรปัจจัย

[๔๙๗] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ กิเลสทั้งหลาย ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย

ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๒)

กิเลสทั้งหลาย ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่

กิเลส ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

กิเลสทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓)

กิเลสทั้งหลาย ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย ที่เกิดหลัง ๆ

และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 553

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

กิเลส ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้ง-

หลายที่ไม่ใช่กิเลส ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย

แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๕)

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย

ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๖)

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่กิเลส ที่เกิด

หลัง ๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่กิเลส และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

๗. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ กิเลสทั้งหลาย ที่เกิดก่อน ๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็น

ปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๘)

กิเลสทั้งหลาย ที่เกิดก่อน ๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัย

แก่ธรรมทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 554

กิเลสและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจ

ของอนันตรปัจจัย

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๙)

กิเลส ที่เกิดก่อน ๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กิเลส

ที่เกิดหลัง ๆ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปัจจัย.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

[๔๙๘] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

กิเลสทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย มี ๓ วาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

กิเลส ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 555

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

ศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความ

ปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ บุคคลเข้าไปอาศัยเสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ

ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ ถือทิฏฐิ

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะ แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย ด้วยอำนาจ

ของอุปนิสสยปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 556

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ ถือทิฏฐิ

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะ แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่กิเลส และสัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๗. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.

(วาระที่ ๗-๘-๙)

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๔๙๙] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

กิเลส ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ โดยความเป็นของไม่

เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย

แก่กายวิญญาณ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 557

๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมพิจารณาซึ่งจักษุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่ง

หทยวัตถุ ฯลฯ เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อม

เกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ

ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น กิเลสและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่กิเลส และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจ

ของปุเรชาตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 558

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๕๐๐] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส

ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

กิเลส ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๓. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอานาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๕๐๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

กิเลส ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 559

๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย ด้วยอำนาจ

ของกัมมปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์, กิเลสและ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๕๐๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

กิเลส ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ.

๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 560

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๕๐๓] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

กิเลส ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่กิเลสทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่กิเลสและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจ

ของวิปปยุตตปัจจัย.

๕. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

ที่ย่อไว้พึงให้พิสดาร.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 561

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๕๐๔] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

กิเลส ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

และ อินทริยะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ เหมือนกับสหชาตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 562

ที่เป็น สหชาตะ เหมือนกับสหชาตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย.

๗. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

โลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ

อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

โลภะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ

อหิริกะ อโนตตัปปะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พึงกระทำจักรนัย.

๘. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ปัจฉาชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส และกิเลส เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 563

กิเลส และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย

ด้วยอานาจของอัตถิปัจจัย

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

กิเลสทั้งหลาย และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กิเลส

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

กิเลส และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

กิเลส, สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกวฬีการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

กิเลส, สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายและรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่

กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๙. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของ

อัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 564

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กิเลส และโลภะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓, จิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย และแก่โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

โลภะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ

อหิริกะ อโนตตัปปะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๐๕] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี

๙ วาระ ใ นสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี

๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ

ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 565

ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๕๐๖] ๑. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๓. ธรรมที่เป็นกิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

กิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 566

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส

และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๗. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย.

๘. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๙. ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นกิเลส และธรรมที่ไม่ใช่กิเลส ด้วยอำนาจของ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 567

อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

การนับจานวนวาระในปัจจนียะ

[๕๐๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๐๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ.... ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี

๔ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๔ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

นวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย

มี ๔ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๕๐๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ.... ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

กิเลสทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 568

๗๖. สังกิเลสิกทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๑๐] ๑. สังกิเลสิกธรรม อาศัยสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

โลกิยทุกะฉันใด พึงทำฉันนั้น ไม่มีแตกต่างกัน.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 569

๗๗. สังกิลิฏฐทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๑๑] ๑. สังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๒. อสังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม.

๓. สังกิลิฏฐธรรม และอสังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิ-

ลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐ-

ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๔. อสังกิลิฏฐธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐ-

ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย

หทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 570

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑.

๕. อสังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิลิฏฐธรรม และอสัง-

กิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๑๒] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒

วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย

มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๑๓] ๑. สังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 571

๒. อสังกิลิฏฐธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐ-

ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

การนับจานวนวาระในปัจจนียะ

[๕๑๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันคร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี

๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ใน

นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี

๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี

๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สหชาตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 572

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๑๕] ๑. สังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑-๒-๓) เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. อสังกิลิฏฐธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐ-

ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๕. สังกิลิฏฐธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๖. สังกิลิฏฐธรรม และอสังกิลิฏฐธรรม อาศัยอสัง-

กิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๗. สังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิลิฏฐธรรม และอสัง-

กิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 573

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

๘. อสังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิลิฏฐธรรม และ

อสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. สังกิลิฏฐธรรม และอสังกิลิฏฐธรรม อาศัย

สังกิลิฏฐธรรม และอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม และหทยวัตถุ

ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม

และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ฯลฯ

การนับจานวนวาระในอนุโลม

[๕๑๖] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๔

วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ ในนิสสย-

ปัจจัยมี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑

วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 574

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๐๗] ๑. สังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. อสังกิลิฏฐธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ตลอด

ถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

๓. สังกิลิฏฐธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย

หทยวัตถุ.

๔. สังกิลิฏฐธรรม อาศัยสังกิลิฏฐธรรม และอสัง-

กิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 575

การนับจานวนวาระในปัจจนียะ

[๕๑๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี

๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี

๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 576

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๑๙] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เจือกับสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม ฯลฯ เจือกับ

ขันธ์ ๒.

๒. อสังกิลิฏฐธรรม เจือกับอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม ฯลฯ เจือกับ

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๒๐] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๒ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑

วาระ ฯลฯ ในวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 577

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๒๑] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เจือกับสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เจือกับ

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. อสังกิลิฏฐธรรม เจือกับอสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๒๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 578

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๒๓] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๓. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม และ

อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

๔. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 579

๒. อารัมมณปัจจัย

[๕๒๔] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลย่อมยินดี เพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะ เพราะปรารภราคะนั้น

ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลยินดี ซึ่งทิฏฐิ.

เหมือนกับกุสลติกะ.

เพราะปรารภวิจิกิจฉา เพราะปรารภอุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ย่อม

เกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ

๒. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว กิเลสที่ข่มแล้ว

กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

สังกิลิฏฐธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม

ด้วยเจโตปริยญาณ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่

ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่

อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 580

คือ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กุศลกรรมที่เคย

สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค ฯลฯ เป็น

ปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

อสังกิลิฏฐธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

เห็นรูปด้วยจักษุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๔. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือบุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ ออกจากฌาณ ฯลฯ

ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ

โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๕๒๕] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 581

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำราคะนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ

ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลกระทำทิฏฐิให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อม

เพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำทิฏฐินั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ย่อม

เกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้ง

หลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม และ

อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 582

๔. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กุศลกรรมที่ได้สั่งสมไว้แล้ว

ในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน กระทำฌานนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

แล้วพิจารณา.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น แล้วพิจารณา ฯลฯ

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กุศลกรรมที่สั่งสม

ไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 583

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทย-

วัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น

กระทำทานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ

ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย

[๕๒๖] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๒. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

๓. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย

แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผล

สมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๔. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 584

คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๕๒๗] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะ แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะ ฯลฯ ความปรารถนา แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ

ทำลายสงฆ์.

ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ แก่ความ

ปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 585

๒. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่สุข

ทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย.

๓. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ

โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 586

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ

โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๕๒๘] ๑. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ฯลฯ

๒. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ฯลฯ

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๕๒๙] ๑. สังกิลิฏฐธรรมเป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วย

อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๒. อสังกิลิฏฐธรรมเป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรมด้วย

อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 587

๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๕๓๐] ๑. สังกิลิฏฐธรรมเป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พึงถามถึงมูล (วาระที่ ๓)

เจตนาที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 588

๔. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๕๓๑] อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วย

อำนาจของวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ.

๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๕๓๒] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย

อำนาจของอาหารปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 589

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๕๓๓] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจ

ของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๕๓๔] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

๒. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม

อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 590

๔. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

และ อินทริยะ

๕. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ

๖. สังกิลิฏฐธรรม และอสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัย

แก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๗. สังกิลิฏฐธรรม และอสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัย

แก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ

และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัย

แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 591

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม ที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร

เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐธรรม ที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์

เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๓๕] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๘ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี

๒ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔

วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิ-

ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ใน

อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 592

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๕๓๖] ๑. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. สังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม และ

อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๔. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหาร-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. อสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 593

๖. สังกิลิฏฐธรรม และอสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่

สังกิลิฏธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของปุเรชาตปัจจัย.

๗. สังกิลิฏฐธรรม และอสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัย

แก่อสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๓๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕

วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ใน

นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในนมัคค-

ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๔

วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคต-

ปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๓๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ... ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตร-

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 594

ปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี

๔ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ

ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๕๓๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ... ใน

อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

สังกิลิฏฐทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 595

๗๘. กิเลสสัมปยุตตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๔๐] ๑. กิเลสสัมปยุตตธรรม อาศัยกิเลสสัมปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกิเลสสัมปยุตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๒. กิเลสวิปปยุตตธรรม อาศัยกิเลสสัมปยุตตธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกิเลสสัมปยุตตธรรม.

กิเลสสัมปยุตตทุกะ เหมือนกับสังกิลิฏฐทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน.

กิเลสสัมปยุตตทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 596

๗๙. กิเลสสังกิเลสิกทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๔๑] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิเลสิกธรรม อาศัย

ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.

พึงกระทำจักรนัย.

๒. ธรรมที่เป็นสังกิเลสิกะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม อาศัย

ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกิเลสทั้งหลาย.

๓. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิเลสิกธรรม และ

ธรรมที่เป็นสังกิเลสิกะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งกิเลส

และสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ สัมปยุตต-

ขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะ.

โดยนัยดังกล่าวมานี้ ปฏิจจวาระก็ดี สหชาตวาระก็ดี ปัจจัยวาระก็ดี

นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับกิเลสทุกะ ไม่มี

ต่างกัน.

หลักการจำแนกวาระ ต่างกัน.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 597

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๔๒] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิเลสิกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุ

ปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัย

กิเลสทั้งหลายที่เป็นสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

โดยนัยดังกล่าวมานี้ มี ๔ วาระ เหมือนกับกิเลสทุกะ.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๕๔๓] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิเลสิกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิเลสิกรรม ด้วยอำนาจของ

อารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภกิเลสทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกิเลส ย่อม

เกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

เพราะปรารภกิเลสทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิเลสิกะ แต่ไม่ใช่

กิเลสธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 598

เพราะปรารภกิเลสทั้งหลาย กิเลสและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อม

เกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่เป็นสังกิเลสิกธรรม แต่ไม่ใช่กิเลสธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสังกิเลสิกธรรม แต่ไม่ใช่กิเลสธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กุศลกรรมที่ได้สั่งสม

ไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน พิจารณาฌาน, ย่อมยินดี ย่อม

เพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภทานเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ฯลฯ

ครั้นเมื่อฌานเสื่อมไป โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น แก่บุคคลผู้มีความ

เดือดร้อนใจ.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณาโคตรภู พิจารณาโวทาน.

พิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิเลสิกะ แต่

ไม่ใช่กิเลสธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

ฯลฯ ด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ

อารัมมณปัจจัย.

สองนัยนอกนี้ เหมือนกับกิเลสทุกะ แม้อารัมมณปัจจัย ที่เป็นปัจจัย

สงเคราะห์ ก็เหมือนกับกิเลสทุกะ.

๓. อธิปติปัจจัย

[๕๔๔] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิเลสิกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของ

อธิปติปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 599

มีอย่างเดียว คือที่เป็นอารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ.

๒. ธรรมที่เป็นสังกิเลสิกะ แต่ไม่ใช่กิเลสธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสังกิเลสิกะ แต่ไม่ใช่กิเลสธรรม ด้วยอำนาจ

ของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กุศลกรรมที่ได้สั่งสม

ไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก-

แน่น แล้วพิจารณา.

พระเสขบุคคลทั้งหลายกระทำโคตรภู ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

แล้วพิจารณา กระทำโวทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัง-

กิเลสิกะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นสังกิเลสิกะ แต่ไม่ใช่กิเลสธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมเป็นสังกิเลสิกะ แต่ไม่ใช่กิเลสธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

แม้สองวาระนอกนี้ ก็เหมือนกับกิเลสทุกะ แม้อธิปติปัจจัย ที่เป็น

ปัจจัยสงเคราะห์ ก็เหมือนกัน.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 600

๔. อนันตรปัจจัย

[๕๔๕] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิเลสิกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับกิเลสทุกะ

๒. ธรรมที่เป็นสังกิเลสิกะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสังกิเลสิกะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิเลสิกะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม ที่เกิดก่อน ๆ

เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิเลสิกะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม ที่เกิดหลัง ๆ

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน,

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิเลสแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

สองวาระนอกนี้ เหมือนกับอนันตรปัจจัยในกิเลสทุกะ ไม่มีแตกต่าง

กัน.

แม้ปัจจัยสงเคราะห์ในอนันตรปัจจัย เพราะปัจจัยทั้งปวง ก็เป็นเช่น

กับกิเลสทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน.

ในอุปนิสสยปัจจัย โลกุตตรธรรม ไม่มี ทุกะนี้ เหมือนกับกิเลส-

ทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน

กิเลสสังกิเลสิกทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 601

๘๐. กิเลสสังกิลิฏฐทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๔๖] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม อาศัย

ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัย

โลภะ.

พึงกระทำจักรนัย.

๒. ธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม อาศัย

ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยกิเลสทั้งหลาย.

๓. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม และธรรม

ที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและ

สังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ และ

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโลภะ.

๔. ธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม อาศัย

ธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 602

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๕. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม อาศัย

ธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ กิเลสทั้งหลาย อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลส

ธรรม.

๖. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม และธรรม

ที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม อาศัยธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่

ไม่ใช่กิเลสธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และกิเลสทั้งหลาย อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐะ

แต่ไม่ใช่กิเลสธรรม.

๗. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม อาศัย

ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม และธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะ

แต่ไม่ใช่กิเลสธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัย

โลภะ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

พึงกระทำจักรนัย.

๘. ธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม อาศัย

ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม และธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะ

แต่ไม่ใช่กิเลสธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 603

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม

และกิเลสทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๙. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลส และสังกิลิฏฐธรรม และ

ธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งกิเลส

และสังกิลิฏฐธรรม และธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ

อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม และโลภะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

พึงกระทำจักรนัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๔๗] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙

วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๔๘] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม อาศัย

ธรรมที่เป็นกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยวิจิกิจฉา, โมหะ ที่สหรคต

ด้วยอุทธัจจะ อาศัยอุทธัจจะ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 604

๒. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม อาศัย

ธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตอุทธัจจะ.

๓. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม อาศัย

ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม และธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐ-

ธรรมแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ, วิจิกิจฉาและ

อุทธัจจะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๔๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.

โดยนัยนี้ การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระ

ก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 605

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๕๑] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่

กิเลสทั้งหลาย ที่เป็นสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม ด้วยอำนาจของเหตุ-

ปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๓. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรม และธรรมที่เป็นสังกิลิฏ-

ฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ และกิเลสทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 606

๒. อารัมมณปัจจัย

[๕๕๑] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรมเป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-

ปัจจัย

คือ เพราะปรารภกิเลสทั้งหลาย กิเลสธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๒)

เพราะปรารภกิเลสทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่

กิเลสธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เพราะปรารภกิเลสทั้งหลาย กิเลสทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ย่อมเกิดขึ้น.

๔. ธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม ด้วยอำนาจของ

อารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๕)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม

กิเลสธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๖)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 607

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐะ แต่ไม่ใช่กิเลสธรรม

กิเลสธรรมทั้งหลาย และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

แม้นัยนอกจากนี้ ก็พึงกระทำเป็น ๓ วาระ (วาระที่ ๗-๘-๙)

๓. อธิปติปัจจัย

[๕๕๒] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรมเป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ มี ๓ วาระ.

๔. ธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม ด้วยอำนาจของ

อธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรมให้เป็น

อารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ มี ๓ วาระ.

อธิปติปัจจัยทั้งสองอย่าง พึงทำทั้ง ๓ วาระ (วาระที่ ๔-๕-๖)

ทั้งสองอย่างนอกนี้ พึงทำเป็น ๓ วาระ (วาระที่ ๗-๘-๙)

๔. อนันตรปัจจัย

[๕๕๓] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 608

พึงกระทำเป็น ๙ วาระ อาวัชชนะก็ดี วุฏฐานะก็ดี ไม่มี.

๕. สมนันตรปัจจัย ๑๐. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ.

ไม่มี ปุเรชาตปัจจัย แม้ปัจฉาชาตปัจจัย.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

๑๑. กัมมปัจจัย

[๕๕๔] ๑. ธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม ด้วยอำนาจของ

กัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-

ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. ธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของ

กัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม เป็นปัจจัยแก่กิเลส-

ธรรมทั้งหลาย ที่เป็นสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 609

๓. ธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม และธรรมที่เป็น

สังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นสังกิลิฏฐะแต่ไม่ใช่กิเลสธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมป-

ยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกิเลสทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

๑๒. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๐. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๕๕] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 610

ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย

มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

อินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ

ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี

๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๕๕๖] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและสังกิลิฏฐธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ทั้ง ๓ บทพึงกระทำเป็น ๙ วาระ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๕๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๕๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ... ใน

ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 611

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๓

วาระ ฯลฯ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๕๕๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ... พึง

กระทำอนุโลมมาติกา ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

กิเลสสังกิลิฏฐทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 612

๘๑. กิเลสกิเลสสัมปยุตตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๖๐] ๑. ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและกิเลสสัมปยุตตธรรม อาศัย

ธรรมที่เป็นทั้งกิเลสและกิเลสสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ทิฏฐิ ถีนะ อุทธัจจะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อาศัยโลภะ.

เหมือนกับกิเลสสังกิลิฏฐทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน พึงให้พิสดารทุกวาระ.

กิเลสกิเลสสัมปยุตตทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 613

๘๒. กิเลสวิปปยุตตสังกิเลสิกทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๖๑] ๑. กิเลสวิปปยุตตสังกิเลสิกธรรม อาศัยกิเลสวิปป-

ยุตตสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกิเลส-

วิปปยุตตสังกิเลสิกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

โลกิยทุกะ ฉันใด ทุกะนี้ ก็ฉันนั้น ไม่มีแตกต่างกัน.

กิเลสวิปปยุตตสังกิเลสิกทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 614

๘๓. ทัสสนทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๖๒] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพ-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัย

ขันธ์ ๒.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัย

ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-

ธรรม.

๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรมและธรรมที่ไม่ใช่ทัสส-

เนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนน-

ปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยธรรม

ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

๑. ม. ทัสสเนนปหาตัพพทุกะ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 615

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนน-

ปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย

อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัย

ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-

ธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๖๓] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี

๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี

๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปาก-

ปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 616

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๖๔] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหา-

ตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

วิจิกิจ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยธรรม

ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็น

อเหตุกะ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์, โมหะ ที่สหรคต

ด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๖๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ. ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี

๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ใน

นอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕

วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌาน-

ปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย

มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สหชาตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 617

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๖๖] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหา-

ตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปทาตัพพธรรม อาศัยธรรม

ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนน-

ปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป, ขันธ์ทั้งหลายที่

ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๕. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๖. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสส-

เนนปหาตัพพธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ,

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 618

๗. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหา-

ตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ

หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสส-

เนนปหาตัพพธรรมและธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-

ธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสส-

เนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ

หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม

และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๖๗] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 619

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๖๘] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหา-

ตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคต

ด้วยวิจิกิจฉา.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยธรรม

ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปทาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสส-

เนนปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัย

หทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

อุทธัจจะ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทยวัตถุ.

๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยหทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 620

๔. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหา-

ตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

วิจิกิจฉา และหทยวัตถุ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๖๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัยมี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓

วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโน-

วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 621

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๗๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เจือกับทัสสเนนปหา-

ตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เจือกับ

ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๗๑] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๗๒] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เจือกับทัสสเนนปหา-

ตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่สหรคต

ด้วยวิจิกิจฉา.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เจือกับ-

ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 622

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๗๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

นปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 623

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๗๔] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-

ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัม-

ปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๕๗๕] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-

ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะที่เป็นทัสสเนน-

ปหาตัพพธรรม เพราะปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม

ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-

ธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งทิฏฐิที่เป็นทัสสเนนปหา-

ตัพพธรรม เพราะปรารภทิฏฐินั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อม

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 624

เกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม

ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภวิจิกิจฉา วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น, ทิฏฐิ ฯลฯ โทมนัส

ย่อมเกิดขึ้น

เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม โทมนัสที่เป็น

ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น, วิจิกิจฉา ย่อม

เกิดขึ้น.

๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลส ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม

แล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.

เห็นแจ้งซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดยความ

เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

รู้แจ้งซึ่งจิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-

ธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริย-

ญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-

ปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 625

คือ ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม แล้วพิจารณากุศล-

กรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะ

ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหา-

ตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน

ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค ฯลฯ เป็นปัจจัย

แก่ผล แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพ-

ธรรม พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว พิจารณากิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วใน

กาลก่อน.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อม

เพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพ-

ธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม

ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 626

คือให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กุศลกรรมที่เคยสั่งสม

ไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิด

เพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เพราะปรารภจักษุ

เป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๕๗๖] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-

ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะ ที่เป็น

ทัสสเนนปหาตัพพธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำราคะนั้น

ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ

ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำทิฏฐิให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-

ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 627

๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-

ปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-

ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กุศลกรรมที่ได้

สั่งสมไว้ในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌานแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง

ซึ่งฌาน เพราะกระทำทานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่

ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 628

ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรมเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทย-

วัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น ครั้นกระทำทานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ

ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย

[๕๗๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-

ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 629

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏ-

ฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ที่เกิดก่อน ๆ ฯลฯ เป็น

ปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๔)

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๕๗๘] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-

ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม แล้วฆ่าสัตว์

ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 630

บุคคลเข้าไปอาศัยโทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ โมหะ

ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนา แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัย

แก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจ

ของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม แล้วให้ทาน

ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด.

บุคคลเข้าไปอาศัยโทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ โมหะ

ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนา แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัย

แก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม แก่โทสะ

แก่โมหะ แก่มานะ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ผลสมาบัติ ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 631

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อมานะ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหา-

ตัพพธรรม โทสะ โมหะ มานะ ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนา-

สนะแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อมานะ.

ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ

ความปรารถนา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ

แก่ปัญญา ฯลฯ แก่ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ แก่ความ

ปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ฯลฯ ถือทิฏฐิ.

เข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ เข้าไปอาศัยราคะที่ไม่ใช่ทัสส-

เนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ มานะ ความปรารถนา สุขทางกาย

ฯลฯ เสนาสนะ แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 632

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-

ธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๕๗๙] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาต-

ปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่

ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหา-

ตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กาย

วิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 633

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิด-

เพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม

ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อม

เกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๕๘๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-

ปัจจัย ฯลฯ

๑๒. อาเสวนปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 634

๑๓. กัมมปัจจัย

[๕๘๑] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-

ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และ

กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-

ปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปาตัพพธรรม ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 635

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และ

กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย

[๕๘๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

มี ๑ วาระ

๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๔ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๕๘๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 636

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตต-

ปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม

ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๕๘๔] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-

ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-

ปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 637

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ/

และ อินทริยะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ

ที่ย่อไว้เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย.

๖. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสส-

เนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมและหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๗. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสส-

เนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพ-

ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ

และรวมกับ อินทริยะ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 638

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย

เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง และกวฬี-

การาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิ-

ตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๘๕] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 639

ในกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔

วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย

มี ๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ

ในอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๕๘๖] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-

ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-

ปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 640

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

กัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาต-

ปัจจัย.

๖. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสส-

เนนปหาตัพพธรรมเป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจ

ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

๗. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสส-

เนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพ-

ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๘๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตร-

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 641

ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕

วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปุเร-

ชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย

มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ

ในโนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย

มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๘๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ... ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย

มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี

๔ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๔ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี

๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๕๘๙] เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

ทัสสนทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 642

๘๔. ภาวนาทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๙๐] ๑. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพ-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

ทัสสนทุกะ ฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้น ไม่มีแตกต่างกัน.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๙๑] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในอวิตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๙๒] ๑. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพ-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

อุทธัจจะ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยธรรม

ที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

๑. ม. ภาวนายปหาตัพพทุกะ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 643

คือ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายทที่สหรคตด้วย

วิจิกิจฉา ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๙๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ในนเหตุปัจจัย ในปัจจยวารปัจจนียะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะมี ๓

วาระ พึงยกโมหะออกเสีย.

วาระแม้ทั้งปวง เหมือนกับทัสสนทุกะ ส่วนอุทธัจจะปัจจนียะต่างกัน.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 644

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๙๔] ๑. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย-

ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต

ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของเหตุ-

ปัจจัย ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๕๙๕] ๑. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย-

ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะที่เป็นภาวนาย-

ปหาตัพพธรรม เพราะปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม

ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ

เพราะปรารภอุทธัจจะ อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น, โทมนัสที่เป็นภาวนาย-

ปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม โทมนัสที่เป็น

ภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 645

๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นภาวนายปหา-

ตัพพธรรม ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ

พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม โดยความ

เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น

ราคะที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ

โทมนัสที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม

ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโต-

ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-

ปัจจัย

คือบุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม แล้วพิจารณา

กุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น

ราคะที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ

โทมนัสที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 646

พิจารณากุศลกรรมที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผล แก่อาวัชชนะ

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพ-

ธรรม ฯลฯ

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่

ภาวนายปหาตัพพธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อม

เพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพ-

ธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่ไม่ใช่ภาวนายปหา-

ตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่

อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ ฌาน ฯลฯ จักษุ ฯลฯ

หทยวัตถุ ฯลฯ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่

ภาวนายปหาตัพพธรรม เพราะปรารภทานเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นภาวนาย-

ปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่เป็นภาวนาย-

ปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 647

๓. อธิปติปัจจัย

[๕๙๖] ๑. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย-

ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะที่เป็นภาว-

นายปหาตัพพธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำราคะนั้นให้เป็น

อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะที่เป็นภาว-

นายปหาตัพพธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทาราคะนั้นให้

เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อม

เกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 648

อธิปติธรรมที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย-

ปหาตัพพธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำ

กุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม

ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 649

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ฌาน.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น

กระทำทานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นภาวนาย-

ปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย

[๕๙๗] ๑. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย-

ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ.

ภาวนาทุกะ เหมือนกับทัสสนทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๕๙๘] ๑. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย-

ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 650

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ มานะ ฯลฯ

ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม แก่โทสะ

แก่โมหะ แก่มานะ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม แล้วให้ทาน

ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทาลายสงฆ์.

บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ โมหะ ฯลฯ

มานะ ฯลฯ ความปรารถนา แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ฆ่าสัตว์

ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัย

แก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม แก่โทสะ

แก่โมหะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย

แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 651

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัย ศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะที่ไม่ใช่ภาวนาย-

ปหาตัพพธรรม โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา ฯลฯ สุขทาง

กาย ทุกข์ทางกาย เสนาสนะ แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่

ราคะที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่ทิฏฐิ แก่ความ

ปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา แล้วก่อมานะ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา สุข

ทางกาย ทุกข์ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ แล้วก่อมานะ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 652

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพ-

ธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่มานะ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๕๙๙] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาต-

ปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่

ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิด

ขึ้น โทมนัสที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กาย-

วิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย

แก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 653

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ

ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น

อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๖๐๐] ๑. ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้ง

หลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 654

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้ง

หลาย และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์และ

กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย

ภาวนาทุกะ เหมือนกับ ทัสสนทุกะ ทุกปัจจัย ไม่มีแตกต่างกัน.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๐๑] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 655

มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ

ในกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔

วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย

มี ๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ

ในอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๔

วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

การจำแนกรายละเอียดในปัจจนียะ พึงจำแนกเหมือนกับทัสสนทุกะ

แม้การนับอีก ๓ นัย ก็พึงนับอย่างนี้.

ภาวนาทุกกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 656

๘๕. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๐๒] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-

เหตุกธรรม

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 657

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่

สหรคตด้วยวิจิกิจฉา. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป.

๕. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.

๖. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปทาตัพพ-

เหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะที่สหรคต

ด้วยวิจิกิจฉา.

๗. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพ-

เหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 658

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-

เหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่

สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ.

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ

ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย

วิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๖๐๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

วิจิกิจฉา

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 659

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ-

ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.

๖. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 660

การนับจานวนวาระในอนุโลม

[๖๐๘] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๖ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๖ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙

วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย

มี ๖ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๖๐๕] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

วิจิกิจฉา.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 661

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสส-

เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุท-

ธัจจะ.

การนับจานวนวาระในปัจจนียะ

[๖๐๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๖๐๗] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ... ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ใน

นวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย

มี ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 662

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๖๐๘] เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ... ใน

อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในวิปากปัจจัย ๑ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย

มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 663

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๐๙] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป. ขันธ์ทั้งหลาย

ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทย-

วัตถุ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.

๔. ทัสสเนนปทาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพ-

เหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทย-

วัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 664

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคต

ด้วยวิจิกิจฉา.

๕. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒. ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพ-

เหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-

เหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ

โมหะ.

๗. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ-

ปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 665

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-

ธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑

ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๖๑๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ-

ปัจจัย

เหมือนกับปฏิจจวาระ ฯลฯ อาศัยหทยวัตถุ ฯลฯ มี ๓ วาระ.

ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ ขันธ์

ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยหทยวัตถุ.

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 666

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทย-

วัตถุ, สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.

๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพ-

เหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ อาศัยหทยวัตถุ.

๕. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเทตุกธรรม

เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา

และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-

เหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

วิจิกิจฉา และหทยวัตถุ.

๗. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

อารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 667

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒

ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ

หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

การนับจานวนวาระในอนุโลม

[๖๑๑] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย

มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๖๑๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

วิจิกิจฉา.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุ-

ปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ซึ่งเป็น

อเหตุกะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายาตนะ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 668

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

อุทธัจจะและหทยวัตถุ.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย

ธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนน-

ปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

วิจิกิจฉา และหทยวัตถุ.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๑๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี

๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑

วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌาน

ปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย

มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 669

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๑๔] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑. ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือ

กับธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ-

ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับธรรมที่ไม่

ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.

๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-

ธรรม เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ

ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 670

๒. อารัมมณปัจจัย

[๖๑๕] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือ

กับธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

อารัมมณปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ

ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับธรรมที่

ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย

เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๑๖] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง

มี ๖ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 671

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๖๑๗] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือ

กับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่สหรคต

ด้วยวิจิกิจฉา.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือ

กับธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้นเพราะนเหตุ

ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เจือกับ

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

ปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๑๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๖ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๖ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 672

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๖๑๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ . . . ในนปุเร-

ชาตปัจจัยมี ๔ วาระ ฯลฯ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๖๒๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ... ใน

อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯสฯ ในอวิคตปัจจัย

มี ๒ วาระ.

สัมปยุตตวาระ เหมือนกับ สังสัฏฐวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 673

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๒๑] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-

เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ

เหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 674

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๕)

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๖)

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๖๒๒] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 675

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอานาจของ

อารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้วพิจารณา

กุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น

ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น, อุทธัจจะ ฯลฯ

โทมนัสที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

กุศลกรรมที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค ฯลฯ เป็น

ปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพ-

เหตุกธรรม ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาล

ก่อน.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสส-

เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯฯะฯ ย่อม

ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่ใช่ทัสส-

เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่ไม่ใช่ทัสส-

เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ

แก่โมหะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 676

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-

ปัจจัย

คือ บุคคลให้ทานแล้ว ฯลฯ ฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์

ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสส-

เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา

และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

๗. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ขันธ์

ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 677

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๖๒๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-

เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรมให้เป็น

อารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อม

เกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมป-

ยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 678

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-

เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-

ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมป-

ยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ

อธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำ

กุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ย่อมยินดี ย่อม

เพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว

ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ จากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 679

ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก

แน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ

ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมป-

ยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ฯลฯ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม ฯลฯ ฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์

ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

ครั้นกระทำทานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นทัสส-

เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย

[๖๒๔] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-

เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ

เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 680

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏ-

ฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลัง ๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็น

ปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๕)

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-

ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 681

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๖)

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลัง ๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย,

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ

โมหะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๗. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-

ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ และโมหะ

เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ และโมหะ เป็น

ปัจจัยแก่โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-

ปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 682

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ และโมหะ เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลัง ๆ และโมหะ ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๖วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๖๒๕] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-

เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ใน ๒ อย่างที่เหลือ เป็นอนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 683

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อมานะ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพ-

เหตุกธรรม โทสะ โมหะ มานะ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย

ฯลฯ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่ราคะ

ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่ผลสมาบัติ

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 684

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ฯลฯ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัย ศีล ฯลฯ ปัญญา ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหา-

ตัพพเหตุกธรรม โทสะ โมหะ มานะ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์-

ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-

เหตุกธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจ

ของอุปนิสสยปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม

โทสะ โมหะ มานะ ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 685

แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย.

๗. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-

ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๖๒๖] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 686

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่

ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่

ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ

ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนน

ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 687

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ เพราะปรารภหทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่

สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ฯลฯ

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๖๒๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-

ปัจจัย ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ

๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

๑๓. กัมมปัจจัย

[๖๒๘] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-

เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 688

คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมป-

ยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน

รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์

และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-

เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-

ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมป-

ยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ

กัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 689

เจตนาที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-

ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์

และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๖๒๙] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-

เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ

(วาระที่ ๑-๒-๓)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 690

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ

อัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

และ อินทริยะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ ฯลฯ

๖. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

๗. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-

ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และหทยวัตถุ เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 691

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ

๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

และ อินทริยะ ฯลฯ

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจ

ของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

๒๒. อัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๓๐] ในเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 692

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ

ในกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔

วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย

มี ๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ

ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙

วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๖๓๑] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-

เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย.

๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 693

๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-

เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ

อารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาต-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอานาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 694

๗. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนน-

ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

การนับจานวนวาระในปัจจนียะ

[๖๓๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 695

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๖๓๓] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ.... ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย

มี ๖ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓

วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๖๓๔] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ... ใน

อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ อนุโลมมาติกา พึงให้พิสดาร ในอวิคตปัจจัย มี

๙ วาระ.

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 696

๘๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกทุกะ

ปฏิจจวาระ

๑. เหตุปัจจัย

[๖๓๕] ๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหา-

ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

โดยนัยนี้ ปฏิจจวาระก็ดี สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสย-

วาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับทัสสเนนปหาตัพพ-

เหตุกทุกะ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ พึงตั้งไว้ในฐานะแห่งโมหะ ที่สหรคต

ด้วยวิจิกิจฉา.

ฯลฯ

ปฏิจจวาระ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 697

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๓๖] ๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-

นายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

มี ๖ วาระ เหมือนกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกทุกะ.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๖๓๗] ๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-

นายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

มี ๓ วาระ เพราะปรารภ เหมือนกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกทุกะ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ

อารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม แล้ว

พิจารณากุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรม

นั้น ราคะที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน

ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 698

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผล แก่อาวัชชนะ

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพ-

เหตุกธรรม ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯ ฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่

ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่ใช่

ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ

โทมนัสที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ

แก่โมหะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ ฌาน ฯลฯ

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อม

เพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ

เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อม

เกิดขึ้น อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ภาวนาย-

ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 699

คือ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่

ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ

และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

อารัมมณปัจจัย ที่เป็นปัจจัยสงเคราะห์ พึงกระทำทั้ง ๓ นัย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๖๓๘] ๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-

นายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะที่เป็นภาว-

นายปหาตัพพเหตุกธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำธรรม

นั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม

ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมป-

ยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 700

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะที่เป็นภาว-

นายปหาตัพพเหตุกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำธรรมนั้น

ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม

ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-

นายปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุก-

ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ

อธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม แล้วกระทำ

กุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา เพราะกระทา

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 701

กุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพ-

เหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ จาก

ฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจ

ของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ

ที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ให้ทาน ฯลฯ พิจารณาฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

ครั้นกระทาจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็น

ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 702

๔. อนันตรปัจจัย

[๖๓๙] ในอนันตรปัจจัย เพราะเหตุแห่งธรรมที่ไม่ใช่ภาวนาย-

ปหาตัพพเหตุกธรรม โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ไม่พึงกระทำ โมหะที่

สหรคตด้วยอุทธัจจะ พึงกระทำ.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๖๔๐] ๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-

นายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒).

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 703

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

ฉันทราคะ ในภัณฑะของตน เป็นปัจจัยแก่ฉันทราคะ ในภัณฑะ

ของผู้อื่น ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ฉันทราคะ ในของหวงแหนของตน เป็นปัจจัยแก่ฉันทราคะในของ

หวงแหนของผู้อื่น ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓).

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ.

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ถือ

ทิฏฐิ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 704

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ราคะที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพ-

เหตุกธรรม โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์

ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่

ราคะที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่ทิฏฐิ แก่

ความปรารถนา แก่สุขทางกาย ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ ฯลฯ

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพ-

เหตุกธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่มานะ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจ

ของอุปนิสสยปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ภาวนาย-

ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 705

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัย

แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย.

แม้อุปนิสสยปัจจัย ที่เป็นปัจจัยสงเคราะห์ ก็พึงกระทำทั้ง ๓ นัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

[๖๔๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในเหตุที่จำแนกธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมได้นานา-

ขณิกะ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย.

ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกทุกะ ฉันใด แม้เพราะภาวนายปหาตัพพเหตุก-

ธรรมเป็นปัจจัยก็ดี ปัจจนียะก็ดี การจำแนกก็ดี การนับก็ดี ก็ฉันนั้นไม่มี

แตกต่างกัน.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 706

ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ พึงกระทำแม้ฉันทราคะ ในภัณฑะ

ของตน โดยส่วนสุดเบื้องปลาย.

ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ภาวนาย-

ปหาตัพพธรรม ฯลฯ แม้ฉันทราคะ ในภัณฑะของตน ก็พึงกระทำโดย

ส่วนสุดเบื้องปลาย.

ภาวนายปหาตัพพเหตุกทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 707

๘๗. สวิตักทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๔๒] ๑. สวิตักกธรรม อาศัยสวิตักกธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อวิตักกธรรม อาศัยสวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ วิตก และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม อาศัยสวิตักก-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓, วิตก และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

สวิตักกธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. อวิตักกธรรม อาศัยอวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 708

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักก-

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตก.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักก-

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

กฏัตตารูป อาศัยวิตก.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

หทยวัตถุ อาศัยวิตก, วิตก อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๕. สวิตักกธรรม อาศัยอวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยวิตก.

ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยวิตก.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๖. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม อาศัยอวิตักก-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายและจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตก.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม อาศัยวิตก.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูป อาศัยวิตก.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม อาศัยวิตก.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 709

กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ วิตก และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๗. สวิตักกธรรม อาศัยสวิตักกธรรม และอวิตักก-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก ฯลฯ

อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม และ

วิตก ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม และ

หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๘. อวิตักกธรรม อาศัยสวิตักกธรรม และอวิตักก-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม, วิตก

และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม,

วิตก และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ วิตักกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม

และหทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 710

๙. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม อาศัยสวิตักก-

ธรรม และอวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม

และวิตก ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม วิตก และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

สวิตักกธรรม และวิตก ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม และ

วิตก ฯลฯ ขันธ์ ๒.

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม วิตก และมหา-

ภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และวิตก อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักก-

ธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๔๓] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๖ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปาก-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 711

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๖๔๔] ๑. สวิตักกธรรม อาศัยสวิตักกธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต

ด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

ธรรมที่มีสวิตักกธรรมเป็นมูล ที่เหลือ ๒ วาระ (วาระที่ ๒-๓)

พึงกระทำอเหตุกะด้วย ไม่มีแตกต่างกัน.

๔. อวิตักกธรรม อาศัยอวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตก ที่เป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิตก.

หทยวัตถุ อาศัยวิตก, วิตก อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๕. สวิตักกธรรม อาศัยอวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยวิตก ที่เป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยวิตก.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 712

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยวิตักก-

ธรรม.

๖. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม อาศัยอวิตักก-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย ฯลฯ

เหมือนกับเหตุปัจจัย พึงกำหนดว่า เป็นอเหตุกะ.

๗. สวิตักกธรรม อาศัยสวิตักกธรรม และอวิตักก-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

และวิตก ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม

และวิตก ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม

หทยวัตถุ, และวิตก ฯลฯ ขันธ์ ๒.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และวิตก.

ส่วนที่เหลือ ๒ วาระ (วาระที่ ๘-๙) เหมือนกับเหตุปัจจัย ไม่มี

แตกต่างกัน พึงกำหนดว่า เป็นอเหตุกะ.

การนับจานวนวาระในปัจจนียะ

[๖๔๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ใน

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 713

นอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาต-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ

ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย

มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมป-

ยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓

วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๖๔๖] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนกัมมปัจจัย

มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย

มี ๓ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๖๔๗] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ

ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ ใน

อาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย

มี ๓ วาระ ฯลฯ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ.

สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจาวาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 714

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๔๘] ๑. สวิตักกธรรม อาศัยสวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. อวิตักกธรรม อาศัยอวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักก-

ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตักกธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

อวิตักกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิตก.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

หทยวัตถุ อาศัยวิตก วิตก อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกธรรม อาศัยหทยวัตถุ, วิตก อาศัย

หทยวัตถุ.

๕. สวิตักกธรรม อาศัยอวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 715

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยวิตก.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

แม้ในปฏิสนธิขณะ ก็มีทั้ง ๒ วาระ.

๖. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม อาศัยอวิตักก-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย อาศัยวิตก.

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยวิตก.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

วิตกและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

แม้ในปฏิสนธิขณะ ก็เหมือนกับปวัตตินั้นเทียว.

๗. สวิตักกธรรม อาศัยสวิตักกธรรม และอวิตักก-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ พึงทำทั้ง ๒ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 716

๘. อวิตักกธรรม อาศัยสวิตักกธรรม และอวิตักก-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นวิตักกธรรม, อวิตักก-

ธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

วิตก อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นวิตักกธรรม และหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

แม้ในปฏิสนธิขณะ ก็มีทั้ง ๓ วาระ.

๙. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม อาศัยสวิตักก-

ธรรม และอวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักก-

ธรรม และวิตก ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม วิตก, และหทยวัตถุ.

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม วิตก, และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

ขันธ์ ๓ และวิตักกธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม และ

หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๔๙] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 717

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๖๕๐] ๑. สวิตักกธรรม อาศัยสวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นเหตุปัจจัย

พึงกระทำเป็น ๙ วาระ.

พึงกำหนดคำว่า เป็นอเหตุกะ ๓ วาระเท่านั้น พึงยกโมหะออกเสีย.

เหมือนเหตุปัจจัยในปฏิจจวาระ เพิ่มปัญจวิญญาณ โมหะ วิตก.

ปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๕๑] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนอุป-

นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ใน

นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย

มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมป-

ยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย

มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 718

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๕๒] ๑. สวิตักกธรรม เจือกับสวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อวิตักกธรรม เจือกับสวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ วิตก เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม เจือกับสวิตักก-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และวิตก เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. อวิตักกธรรม เจือกับ อวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกธรรม, ขันธ์ ๒ เจือกับ

ขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 719

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. สวิตักกธรรม เจือกับอวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับวิตก,

ในปฏิสนธขณะ ฯลฯ

๖. สวิตักกธรรม เจือกับสวิตักกธรรม และอวิตักก-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๕๓] ในเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๖ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

ปัจจนียนัย

นเหตุปัจจัย

[๖๕๔] ๑. สวิตักกธรรม เจือกับสวิตักกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นเหตุปัจจัย

โดยนัยนี้ พึงกระทำเป็น ๖ วาระ เหมือนกับอนุโลม พึงกำหนด

คำว่า อเหตุกะ มี ๓ วาระ เหมือนกัน พึงยกโมหะออกเสีย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 720

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๕๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ใน

นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๖ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๖ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๖ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 721

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๕๖] ๑. สวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. สวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓).

เหตุทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย,

วิตก และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 722

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๖๕๗] ๑. สวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นสวิตักกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

อวิตักกธรรมและวิตก ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

สวิตักกธรรมและวิตก ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากฌานที่เป็นอวิตักกธรรม แล้วพิจารณา

ฌานที่เป็นอวิตักกธรรม, ออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรค, ออกจากผลแล้ว

พิจารณาผล, พิจารณานิพพาน.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 723

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอวิตักกธรรม แก่ผล แก่วิตก

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักก-

ธรรม และวิตก โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลิน

ยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น วิตก ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นอวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของเจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ ฯลฯ

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่

เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนา-

คตังสญาณ แก่วิตก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกธรรม และวิตก ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นอวิตักกธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.

๕. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากฌาน ที่เป็นอวิตักกธรรม ฯลฯ ออก

จากมรรค พิจารณามรรค, ออกจากผล พิจารณาผล, พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรคที่เป็นสวิตักก-

ธรรม, แก่ผล, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 724

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิ-

ตักกธรรม และวิตก โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อม

เพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส

ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกธรรม และวิตก ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นสวิตักกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๖. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม และ

อวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากฌานที่เป็นอวิตักกธรรม ฯลฯ ออก

จากมรรค พิจารณามรรค, ออกจากผล พิจารณาผล, พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรคที่เป็นสวิตักก-

ธรรม, แก่ผล, แก่อาวัชชนะ, แก่วิตก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักก-

ธรรม และวิตก โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลิน

ยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก

ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกธรรม และวิตก ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.

๗. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สวิตักกธรรม ด้วยอานาจของอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 725

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นอวิตักกธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๖๕๘] ๑. สวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. สวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 726

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น วิตก ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก และจิตตสมุฏฐาน-

รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. สวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม และ

อวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย,

วิตก และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกธรรม ด้วย

อานาจของอธิปติปัจจัย

๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 727

พระอริยะทั้งหลายออกจากฌานที่เป็นอวิตักกธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค

ฯลฯ พิจารณามรรค, ออกจากผล กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

แล้วพิจารณา, กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอวิตักกธรรม, แก่ผล แก่วิตก

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกธรรม และวิตก ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว วิตก ย่อม

เกิดขึ้น.

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกธรรม และวิตกให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น วิตก ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลายออกจากฌานที่เป็นอวิตักกธรรม ฯลฯ แล้วพิจารณา

ฌาน, ออกจากมรรค ฯลฯ แล้วพิจารณามรรค, ออกจากผล กรทำ

ผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา, กระทำนิพพานให้เป็น

อารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 728

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรคที่เป็นสวิตักก-

ธรรม, แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทย-

วัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกธรรม และวิตกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อม

เกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกธรรม และวิตก ให้เป็น

อารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๖. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม และ

อวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลายออกจากฌานที่เป็นอวิตักกธรรม ฯลฯ ออกจาก

ผล พิจารณาผล พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรคที่เป็นสวิตักก-

ธรรม, แก่ผล, และแก่วิตก ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งเพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกธรรม และวิตกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น

กระทำจักษุเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น

ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกธรรม และวิตกให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 729

๗. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตกให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตกให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น วิตก ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตกให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย

[๖๕๙] ๑. สวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๒. สวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

อวิตักกธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 730

จุติจิต ที่เป็นสวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นอวิตักก-

ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ปัญจวิญญาณ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่ วุฏฐานะ ที่เป็น

อวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

บริกรรมแห่งทุติยฌาน เป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

บริกรรมแห่งตติยฌาน ฯลฯ

บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่ เนวสัญญานา-

สัญญายตนะ.

บริกรรมแห่งทิพยจักษุ ฯลฯ

บริกรรมแห่งทิพโสตธาตุ ฯลฯ

บริกรรมแห่งอิทธิวิธญาณ ฯลฯ แห่งเจโตปริยญาณ ฯลฯ แห่ง

ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ บริกรรมแห่งยถากัมมูปคญาณ เป็นปัจจัยแก่

ยถากัมมูปคญาณ.

บริกรรมแห่งอนาคตังสญาณ เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณ ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอวิตักกธรรม, โวทาน เป็นปัจจัย

แก่มรรคที่เป็นอวิตักกธรรม, อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ที่เป็นอวิตักก-

ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 731

๓. สวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม และ

อวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ที่เกิดหลัง ๆ และวิตก ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

๔. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ วิตกที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่วิตก ที่เกิดหลัง ๆ ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

มรรคที่เป็นอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นอวิตักกธรรม, ผล

ที่เป็นอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นอวิตักกธรรม.

เนวสัญญานาสัญญายตนะของผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ

ที่เป็นอวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

จุติจิตที่เป็นอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิต ที่เป็นสวิตักกธรรม

ภวังค์ที่เป็นอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นสวิตักก-

ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 732

๖. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม และ

อวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ วิตกที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักก-

ธรรม ที่เกิดหลัง ๆ และวิตก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๗. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ และวิตก เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

๘. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่

อวิตักกธรรม ด้วยอานาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ และวิตก เป็น

ปัจจัยแก่วิตก ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย, จุติจิตที่เป็น

สวิตักกธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นอวิตักกธรรม ฯลฯ

อาวัชชนะ และวิตก เป็นปัจจัยแก่ปัญจวิญญาณ, ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักก-

ธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

บริกรรมแห่งทุติยฌาน และ วิตก ฯลฯ

ข้อความที่เขียนไว้ข้างต้น พึงเห็นโดยเหตุนี้.

อนุโลมและวิตก เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นอวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 733

๙. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สวิตักกธรรม เเละอวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ และวิตก เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ที่เกิดหลัง ๆ และวิตก ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๖๖๐] ๑. สวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

สวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทามูล (วาระที่ ๒)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 734

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

อวิตักกธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

สวิตักกธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอวิตักกธรรม แล้วยังฌานที่เป็นอวิ-

ตักกธรรมให้เกิดขึ้น ฯลฯ ยังอภิญญาให้เกิดขึ้น ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอวิตักกธรรม ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ สุขทาง-

กาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ วิตกแล้ว ยังฌานที่เป็น

อวิตักกธรรม ฯลฯ มรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น.

ศรัทธาที่เป็นอวิตักกธรรม ฯลฯ เสนาสนะ และวิตก เป็นปัจจัยแก่

ศรัทธาที่เป็นอวิตักกธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย

แก่มรรคที่เป็นอวิตักกธรรม แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย พึงทำอุปนิสสยปัจจัยทั้ง ๓ นัย ในที่ทั้งปวง.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 735

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอวิตักกธรรม แล้วให้ทาน สมาทาน-

ศีล ทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นสวิตักกธรรม ฯลฯ วิปัสสนา มรรค

อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอวิตักกธรรม ฯลฯ เสนาสนะ วิตก แล้ว

ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธาที่เป็นอวิตักกธรรม ฯลฯ เสนาสนะ และวิตก เป็นปัจจัยแก่

ศรัทธาที่เป็นสวิตักกธรรม แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๖. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม และ

อวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

คือ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอวิตักกธรรม แล้วให้ทาน ฯลฯ

ในทุติยวาระ พึงทำบทที่เขียนไว้ทั้งหมด ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ

ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ เสนาสนะ วิตก แล้ว

ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธาที่เป็นอวิตักกธรรม ฯลฯ เสนาสนะ และวิตก เป็นปัจจัยแก่

ศรัทธาที่เป็นสวิตักกธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่ความปรารถนา

แก่มรรคที่เป็นสวิตักกธรรม แก่ผลสมาบัติ และแก่วิตก ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

๗. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 736

คือขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นอวิตักกธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๖๖๑] ๑. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภหทยวัตถุนั้น วิตก ย่อม

เกิดขึ้น.

ฯลฯ ด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 737

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกธรรม และวิตก

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ย่อมเกิดขึ้น

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม ด้วยอำนาจ

ของปุเรชาตปัจจัย.

๓. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม และ

อวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 738

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

[๖๖๒] ๑. สวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกธรรม ด้วย

อานาจของปัจฉาชาตปัจจัย

เป็นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ.

๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๖๖๓] สวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม ด้วยอำนาจ

ของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักก-

ธรรมที่เป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

โดยนัยนี้ พึงกระทำ ๔ วาระ ทั้งสหชาตะ และ นานาขณิกะ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 739

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๖๖๔] ๑. สวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

๒. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

๓. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

๔. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม และ

อวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 740

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิตก และสัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิตก และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๕. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่

อวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๖๖๕] ๑. สวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม ด้วย

อานาจของอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. สวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. สวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม และ

อวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตกกธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 741

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

และ อินทริยะ ฯลฯ

๕. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ ฯลฯ

๖. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม และ

อวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

วิตก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ วิตก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิตก และสัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น วิตก

และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิตก และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 742

๗. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม ที่เกิดพร้อมกัน และหทยวัตถุ เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ แม้เพราะสหชาตะ ก็พึงกระทำ ๒ วาระ.

๘. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่

อวิตักกธรรม ด้วยอานาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ

ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่จิตสมุฏ-

ฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิตก

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 743

ในปฏิสนธิขณะ มี ๓ วาระ.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตกที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย

แก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม, วิตกที่เกิดภายหลัง และกพฬี-

การาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกธรรม วิตกที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิติน-

ทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๙. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓

และวิตก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

แม้ในปฏิสนธิขณะ มี ๒ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 744

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๖๖] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔

วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย

มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ใน

อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๖๖๗] ๑. สวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

กัมมปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 745

๒. สวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. สวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม และ

อวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย.

๖. อวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกธรรม และ

อวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 746

๗. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สวิตักกธรรม ด้วยอานาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๘. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่

อวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๙. สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สวิตักกธรรม และอวิตักกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๖๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๖๖๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ.... ฯลฯ

ในนสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุป-

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 747

นิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๖๗๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ.... ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนุโลมมาติกาพึงให้พิสดาร ในอวิคตปัจจัย มี ๙

วาระ.

สวิตักกทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 748

๘๘. สวิจารทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๗๑] ๑. สวิจารธรรม อาศัยสวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิจารธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

สวิตักกทุกะ ฉันใด พึงกระทำฉันนั้น ไม่มีแตกต่างกัน.

ในมัคคปัจจัย ในที่นี้ พึงกระทำ ๔ วาระ ในสวิจารทุกะ ไม่มี

แตกต่างกัน.

สวิจารทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 749

๘๙. สัปปีติกทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๗๒] ๑. สัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ปีติ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติก-

ธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติก-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓, ปีติ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

สัปปีติกธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. อัปปีติกธรรม อาศัยอัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 750

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปีติก-

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยปีติ.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปี-

ติกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

กฏัตตารูป อาศัยปีติ.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

หทยวัตถุ อาศัยปีติ, ปีติ อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

พึงทำสัปปีติกทุกะ เหมือนกับสวิตักกทุกะ ในที่ทั้งปวง.

ในปัจจัยทั้งปวง ปวัตติ ปฏิสนธิ มี ๙ วาระ.

การนับจานวนวาระในอนุโลม

[๖๗๓] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในกัมมปัจจัย มี

๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๖๗๔] ๑. สัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 751

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัปปีติกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๒. อัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นเหตุปัจจัย

คือ ปีติและจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม

ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

๓. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติก-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัปปีติก-

ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๔. อัปปีติกธรรม อาศัยอัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปีติก-

ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยปีติ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

อัปปีติกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

อาศัยมหาภูตรูป ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 752

๕. สัปปีติกธรรม อาศัยอัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม อาศัยปีติ ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๖).

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยปีติ.

๗. สัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติกธรรม และอัปปีติก-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัปปีติกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

และปีติ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๘. อัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติกธรรม และอัปปีติก-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ซึ่ง

เป็นอเหตุกะ และปีติ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ซึ่งเป็น

อเหตุกะ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติก-

ธรรม และอัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัปปีติกธรรม

ซึ่งเป็นอเหตุกะ และปีติ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัปปีติกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และ

ปีติ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 753

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ซึ่งเป็น

อเหตุกะ, ปีติ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๗๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนอุป-

นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ใน

นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย

มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย

มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สหชาตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 754

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๗๖] ๑. สัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย ฯลฯ

ปวัตติ ปฏิสนธิ เหมือนกับอนุโลมปัจจยวาระ ในสวิตักกทุกะ

มี ๙ วาระ บริบูรณ์. ปีติ ไม่มีแตกต่างกัน.

การนับจานวนวาระในอนุโลม

[๖๗๗] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๖๗๘] ๑. สัปปีติกธรรม อาศัยสัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. อัปปีติกธรรม อาศัยอัปปีติกธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นเหตุปัจจัย

พึงทำปวัตติ ปฏิสนธิ เหมือนกับปฏิจจวาระตลอดถึงอสัญญสัตว์.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 755

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และปีติ อาศัย

หทยวัตถุ.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย

ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

มี ๙ วาระ เหมือนกับอนุโลม, เป็นปวัตติเท่านั้น, ปฏิสนธิ ไม่มี,

โมหะ มี ๑ นัยเท่านั้น.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๗๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนอุป-

นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย

มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในน-

สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย

มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 756

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๘๐] ๑. สัปปีติกธรรม เจือกับสัปปีติกธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๘๑] ในเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๖ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

ปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๘๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๖ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๖ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๖ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 757

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๘๓] ๑. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เหตุทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย,

ปีติ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 758

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๖๘๔] ๑. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

อัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

สัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ศีล ฯลฯ กระทำ

อุโบสถกรรมแล้ว พิจารณาด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรมแล้ว ย่อมยินดี ย่อม

เพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะที่เป็นอัปปีติกธรรม ย่อม

เกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 759

บุคคลออกจากฌานที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค ฯลฯ

ออกจากผล แล้วพิจารณาผล ด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม.

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพาน ด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่เป็นอัปปีติกธรรม, แก่โวทาน, แก่

มรรค, แก่ผล แก่อาวัชชนะ, และแก่ปีติ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอัปปีติกธรรม กิเลส

ที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็น

อัปปีติกธรรม.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติก--

ธรรม และปีติ ด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ที่เป็น

อัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณ-

ปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโต-

ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ

แก่อาวัชชนะ และแก่ปีติ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 760

๕. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทานด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ศีลฯลฯ อุโบสถ-

กรรม ฯลฯ แล้วพิจารณาด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมยินดี ย่อม

เพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อม

เกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลออกจากฌานที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค ฯลฯ

ออกจากผล แล้วพิจารณาผล ด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม.

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพาน ด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู ที่เป็นสัปปีติกธรรม, แก่โวทาน, แก่

มรรค, แก่ผล ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอัปปีติกธรรม กิเลส

ที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็น

สัปปีติกธรรม.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติก-

ธรรม และปีติ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม

ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นสัปปีติก-

ธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 761

๖. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม และ

อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทานด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม

ฯลฯ แล้วพิจารณาด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง

เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ย่อม

เกิดขึ้น.

บุคคลออกจากฌานที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ พระอริยะทั้งหลายออก

จากมรรค ฯลฯ ออกจากผลแล้ว พิจารณาผล ด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม.

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพานด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, ที่เป็นสัปปีติกธรรม แก่โวทาน, แก่

มรรค, แก่ผล, และแก่ปีติ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอัปปีติกธรรม, กิเลส

ที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็น

สัปปีติกธรรม.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติก-

ธรรม และปีติ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม

ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็น

สัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 762

๗. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๖๘๕] ๑. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 763

๒. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติ และจิตตสมุฏฐาน

รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม และ

อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย,

ปีติ และจิตตสมุฏกฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 764

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทานด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม

ฯลฯ กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ด้วยจิตที่เป็นอัปปี-

ติกธรรมแล้ว พิจารณา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรม

นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นอัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ

ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลออกจากฌานที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค ฯลฯ

ออกจากผล กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ด้วยจิตที่เป็นอัปปีติก-

ธรรมแล้ว พิจารณา.

พระอริยะทั้งหลาย กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ด้วย

จิตที่เป็นอัปปีติกธรรมแล้ว พิจารณา.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่เป็นอัปปีติกธรรม แก่โวทาน, แก่

มรรค, แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ด้วย

จิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นอัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 765

อธิปติธรรมที่เป็นอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทานด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถ-

กรรม ฯลฯ

อธิปติ ฯลฯ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่เป็นสัปปีติกธรรม แก่

โวทาน แก่มรรค แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ด้วย

จิตที่เป็นสัปปีติกธรรม ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก

แน่นแล้ว ราคะที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

๖. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม และ

อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถ-

กรรม แล้วพิจารณาด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่เป็นสัปปีติกธรรม แก่โวทาน แก่

มรรค แก่ผล และแก่ปีติ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 766

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ด้วย

จิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

๗. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

คือ เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติให้เป็น

อารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

๔. อนันตรปัจจัย

[๖๘๖] ๑. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 767

คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๒)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ปีติ

ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

จุติจิต ที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิต ที่เป็นอัปปีติก-

ธรรม.

ภวังค์ ที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ.

ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่เป็นอัปปี-

ติกธรรม.

วิบากมโนวิญญาณธาตุ ที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กิริยา-

มโนวิญญาณธาตุ.

ภวังค์ ที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ ที่เป็นอัปปีติกธรรม.

กุศลและอกุศล ที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่เป็นอัป-

ปีติกธรรม.

กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.

ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดหลัง ๆ และปีติ ด้วยอำนาจของอนันตร-

ปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 768

๔. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ปีติ ที่เกิดก่อน ๆ ที่เป็นอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติ ที่เกิด

หลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่ผลสมาบัติ ที่เป็นอัปปีติกธรรม

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๕)

ปีติ ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม

ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

จุติจิต ที่เป็นอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิต ที่เป็นสัปปีติก-

ธรรม.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม.

ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่เป็นสัปปี-

ติกธรรม.

วิบากมโนธาตุ เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนวิญญาณธาตุ ที่เป็นสัปปีติก-

ธรรม.

ภวังค์ ที่เป็นอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ ที่เป็นสัปปีติกธรรม.

กุศลและอกุศล ที่เป็นอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่เป็นสัป-

ปีติกธรรม.

กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 769

ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

เนวสัญญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่

ผลสมาบัติที่เป็นสัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๖. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม และ

อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ปีติ ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติก-

ธรรม ที่เกิดหลัง ๆ และปีติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๗. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ และปีติ เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย

๘. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่

อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ และปีติ เป็น

ปัจจัยแก่ปีติ ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

จุติจิต ที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิต ที่เป็น

อัปปีติกธรรม.

ภวังค์ที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่

เป็นอัปปีติกธรรม.

วิบากมโนวิญญาณธาตุ ที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ เป็นปัจจัยแก่

กิริยามโนวิญญาณธาตุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 770

ภวังค์ที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ ที่เป็น

อัปปีติกธรรม.

กุศลและอกุศล ที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ

ที่เป็นอัปปีติกธรรม.

กิริยาและปีติ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ, ผลและปีติ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๙. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ และปีติ เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสัปปีติกธรรม ที่เกิดหลัง ๆ และปีติ ด้วยอำนาจ

ของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๖๘๗] ๑. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 771

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

สัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

อัปปีติกธรรม และปีติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

สัปปีติกธรรม และปีติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปีติกธรรม แล้วให้ทาน ด้วยจิต

ที่เป็นอัปปีติกธรรม ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นอัปปีติกธรรม

วิปัสสนา มรรค อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิด ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ อภิญญา

ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 772

อุตุ โภชนะ เสนาสนะ ปีติ แล้วให้ทาน ด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ

ยังสมาบัติให้เกิด ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธาที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ เสนาสนะ และปีติ เป็นปัจจัยแก่

ศรัทธาที่เป็นอัปปีติกธรรม แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์

ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ และแก่ปีติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยปัจจัย ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปีติกธรรม แล้วให้ทาน ด้วยจิต

ที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ ออกจากฌานที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ก่อมานะ

ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ เสนาสนะ ปีติ แล้ว

ให้ทานด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด.

บุคคลกระทำอทินนาทาน ด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ มุสาวาท

ฯลฯ ปิสุณาวาท ฯลฯ สัมผัปปลาปวาท ฯลฯ ตัดช่องย่องเบา ฯลฯ ลอบขึ้น

ไปลักทรัพย์ ฯลฯ ปล้นบ้านหลังหนึ่ง ฯลฯ ปล้นตามทาง ฯลฯ ทำผิดใน

ภริยาผู้อื่น ฯลฯ ฆ่าคนในหมู่บ้าน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ฯลฯ

ศรัทธาที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ เสนาสนะ และปีติ เป็นปัจจัยแก่

ศรัทธาที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่โมหะ แก่มานะ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 773

แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

๖. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม และ

อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

เป็น อุปนิสสยปัจจัย ทั้ง ๓ นัย คือ

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัธาที่เป็นอัปปีติกธรรม แล้วให้ทานด้วยจิต

ที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ เสนาสนะ ปีติ แล้ว

ให้ทานด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ถือเอาของที่เขา

ไม่ได้ให้ ด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม.

เหมือนวาระที่ ๒

บุคคลกระทำการฆ่าคนในนิคม. ศรัทธาที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ

เสนาสนะ และปีติ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา

แก่ราคะ แก่โมหะ แก่มานะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา แก่มรรค แก่

ผลสมาบัติ และแก่ปีติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๗. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

เป็น อุปนิสสยปัจจัย ทั้ง ๓ นัย คือ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นสัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 774

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นอัปปีติกธรรม และปีติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๖๘๘] ๑. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ

ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นอัปปีติกธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น

ปีติ ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กาย-

วิญญาณ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย

แก่กายวิญญาณ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 775

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปีติกธรรม และแก่

ปีติ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ

ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นสัปปีติกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๓. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม และ

อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็นสัปปีติกธรรม ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ

ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ปีติและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 776

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัปปีติกธรรม และปีติ

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

[๖๘๙] ๑. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอานาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย มี ๖ วาระ.

พึงกระทำทั้งสหชาตะ นานาขณิกะ นานาขณิกะ มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ

พึงกระทำเหมือนกับสวิตักกทุกะ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 777

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๙๐] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

อัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย

มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙

วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌาน-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ

ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙

วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๖๙๑] ๑. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

กัมมปัจจัย.

๒. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 778

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. สัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม และ

อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอานาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย.

๖. อัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปีติกธรรม และ

อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 779

๗. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๘. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่

อัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๙. สัปปีติกธรรม และอัปปีติกธรรม เป็นปัจจัยแก่

สัปปีติกธรรมและอัปปีติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

แม้การนับในปัจจนียวิภังค์ ก็เหมือนกับสวิตักกทุกะ ถ้าหากมีไม่

เสมอกัน พึงพิจารณาอนุโลมนี้ ตามสมควรแล้วพึงนับ การนับทั้งสองนัย

นอกนี้ก็พึงนับเช่นนี้.

สัปปีติกทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 780

๙๐. ปีติสหคตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๙๒] ๑. ปีติสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ปีติสหคตทุกะ พึงให้พิสดารโดยนัยดังกล่าวมา เหมือนกับสัปปีติก-

ทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน จำแนกวาระ ไม่มีแตกต่างกัน.

ปีติสหคตทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 781

๙๑. สุขสหคตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๙๓] ๑. สุขสหคตธรรม อาศัยสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัย

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรมอาศัยสุขสหคตธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ สุขและจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสุขสหคตธรรม.

พึงยังสุขสหคตทุกะ ให้พิสดารเหมือนกับอนุโลมปฏิจจวาระ แห่ง-

สัปปีติกทุกะ ฉะนั้น.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๙๔] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ ในกัมม-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 782

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๖๙๕] ๑. สุขสหคตธรรม อาศัยสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

สุข และ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม

ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

๒. สุขสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม

อาศัยสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ สุข และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุข-

สหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

สุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๓ ที่ไม่ใช่สุขสหคต-

ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยสุข ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่

ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 783

มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

เหมือนนเหตุปัจจัยในสัปปีติกทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน ปัจจัยทั้งปวง

มี ๙ วาระ.

การนับจานวนวาระในปัจจนียะ

[๖๙๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ฯลฯ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจ-

ฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔

วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริย-

ปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๖ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

นสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย

มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

แม้การนับทั้งสองนัยนอกนี้ ก็พึงกระทำอย่างนี้ แม้สหชาตวาระก็

เหมือนกับปฏิจจวาระ.

ปวัตติก็ดี ปฏิสนธิก็ดี ในปัจจยวาระ พึงให้พิสดาร ส่วนหทยวัตถุ

พึงให้พิสดารในปวัตติ เหมือนปัจจยวารปัจจนียะ ในสัปปีติกทุกะ โมหะ มี

๑ วาระ เท่านั้น เหมือนในสัปปีติกทุกะ.

นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำเหมือน

สัปปีติกทุกะ ฉะนั้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 784

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๙๗] ๑. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ.

ในอารัมมณปัจจัยก็ดี ในอธิปติปัจจัยก็ดี เหมือนกับสัปปีติกทุกะ

ต่างกัน แต่คำว่า สุขะ ดังนี้

๔. อนันตรปัจจัย

[๖๙๘] ๑. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย

แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-

ปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่สุข

ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

จุติจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่ใช่สุขสหคต-

ธรรม.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 785

ภวังค์ที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ.

กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนธาตุ.

วิบากมโนวิญญาณธาตุ ที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กิริยา-

มโนวิญญาณธาตุ.

ภวังค์ที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม.

กุศลและอกุศล ที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่ไม่ใช่

สุขสหคตธรรม.

กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.

ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ และสุข ด้วยอำนาจของอนันตร-

ปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ ฯลฯ

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๕-๖)

ทั้งสามวาระ (วาระที่ ๔-๕-๖) เหมือนกับสัปปีติกทุกะ.

๗. สุขสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม

เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 786

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ และสุข เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ และสุขเป็นปัจจัย

แก่สุขที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

จุติจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่ใช่

สุขสหคตธรรม.

ภวังค์ที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ.

กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข เป็นปัจจัยแก่วิบากมโน-

ธาตุ.

วิบากมโนวิญญาณธาตุ ที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข เป็นปัจจัย

แก่กิริยามโนวิญญาณธาตุ.

ภวังค์ที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่ไม่ใช่สุข-

สหคตธรรม.

กุศลและอกุศล ที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ

ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม.

กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.

ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 787

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ และสุขเป็นปัจจัย

แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ และสุข ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๖๙๙] ๑. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม แล้วให้ทานด้วยจิต

ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม. ยังศีล ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 788

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ

ราคะ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนา-

สนะ สุข แล้วให้ทานด้วยจิตที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ

ทำลายสงฆ์.

ศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ และสุข เป็นปัจจัย

แก่ศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่โทสะ แก่

ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ

และแก่สุข ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุข-

สหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม แล้วให้ทานด้วยจิต

ที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ

ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ สุข แล้วให้ทานด้วยจิตที่เป็น

สุขสหคตธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ถือเอาของที่เขามิได้ให้ ด้วยจิตที่เป็น

สุขสหคตธรรม มุสาวาท ฯลฯ ปิสุณาวาท ฯลฯ สัมผัปปลาปวาท ฯลฯ ตัด

ช่องย่องเบา ฯลฯ ลอบขึ้นไปลักทรัพย์ ฯลฯ ปล้นบ้านหลังหนึ่ง ฯลฯ ปล้นตาม

ทาง ฯลฯ ทำผิดในภริยาผู้อื่น ฯลฯ ฆ่าคนในหมู่บ้าน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 789

ศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ เสนาสนะและสุข เป็นปัจจัยแก่

ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่โมหะ แก่มานะ

แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุข-

สหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม แล้วให้ทานด้วยจิต

ที่เป็นสุขสหคตธรรม มีอธิบายเหมือนข้อความตามบาลี ตอนที่ ๒ ก่อมานะ

ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ สุข แล้ว

ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด ถือเอาของที่เขามิได้ให้ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคต-

ธรรม ฯลฯ

ศรัทธาที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ และสุข เป็นปัจจัยแก่

ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่มรรค

แก่ผลสมาบัติ และแก่สุข ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๗. สุขสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม

เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 790

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๗๐๐] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ ด้วยจิตที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ

ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ

โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม และสุข

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุข-

สหคตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 791

ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นสุขสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อม

เกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจ

ของปุเรชาตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุข-

สหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ

ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น สุขและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม และสุข

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 792

๑๓. กัมมปัจจัย

[๗๐๑] ๑. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

กัมมปัจจัย แบ่งเป็น ๖ วาระ พึงกระทำให้เป็นทั้งสหชาตะ และ

นานาขณิกะ ๔ วาระ, ให้เป็นนานาขณิกะ ๒ วาระ.

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 793

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๐๒] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

กัมมปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ

ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

ปัจจนียวิภังค์ก็ดี การนับก็ดี พึงทำเหมือนสัปปีติกทุกะ ด้วยประการ

ฉะนี้ แม้ถ้ามีความสงสัย พึงดูอนุโลมวาระ แล้วนับ.

สุขสหคตทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 794

๙๒. อุเบกขาสหคตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๐๓] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขา-

สหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ อุเบกขา และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขา-

สหคตธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขา-

สหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อุเบกขา และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

อุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยธรรมที่

ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 795

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุเบกขา-

สหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอุเบกขา.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่

อุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยอุเบกขา.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

หทยวัตถุ อาศัยอุเบกขา, อุเบกขา อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑

เหมือนกับสัปปีติกทุกะ ในอนุโลม มี ๙ วาระ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๐๔] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในอาเสวนปัจจัย

มี ๖ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคต-

ปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๗๐๕] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 796

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่งเป็น

อเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต

ด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขา-

สหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ อุเบกขา และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอุเบกขา-

สหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขา-

สหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒, อุเบกขา และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

อุเบกขาสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยธรรมที่

ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อุเบกขา-

สหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกะปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทยวัตถุ อาศัยอุเบกขา, อุเบกขา

อาศัยหทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 797

ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๕. อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขา-

สหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยอุเบกขา ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยอุเบกขา.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม

อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยอุเบกขา

ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๖. อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขา-

สหคตธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นเหตุปัจจัย

คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอุเบกขา

ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยอุเบกขาซึ่งเป็นอเหตุกะ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และกฏัตตารูป อาศัย

อุเบกขา.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยอุเบกขา,

กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 798

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม อาศัย

หทยวัตถุ กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ อุเบกขา และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย

หทยวัตถุ.

๗. อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่งเป็น

อเหตุกะ และอุเบกขา ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคต-

ธรรม และอุเบกขา ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย

ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และอุเบกขา.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขา-

สหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม

ซึ่งเป็นอเหตุกะ และอุเบกขา.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่ง

เป็นอเหตุกะ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 799

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ อุเบกขา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขา-

สหคตธรรมและหทยวัตถุ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขา-

สหคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขา-

สหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขา-

สหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขา

ซึ่งเป็นอเหตุกะ และอุเบกขา ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

และอุเบกขา ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่ง

เป็นอเหตุกะ, อุเบกขาเเละมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

อุเบกขาสหคตธรรม และอุเบกขา ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม และอุเบกขา.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่ง

เป็นอเหตุกะ, อุเบกขา และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม และอุเบกขา ฯลฯ ขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 800

ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม และอุเบกขา ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม, อุเบกขา

และมหาภูตรูป.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ขันธ์ ๒ และอุเบกขา อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม,

อุเบกขา และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

การนับจานวนวาระในปัจจนียะ

[๗๐๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญ-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙

วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑

วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในนมัคค-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖

วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองวาระนอกนี้ก็ดี สหชาตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 801

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๐๗] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒,

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

เหมือนกับสวิตักกทุกะในปัจจยวาระ ต่างกันที่คำว่า อุเบกขา.

พึงกระทำ ๙ วาระทั้งปวง ทั้งปฏิสนธิ, ปวัตติ และหทยวัตถุ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๐๘] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัย

ทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๗๐๙] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 802

คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่งเป็น

อเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย

อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

พึงกระทำทั้ง ๙ วาระ โดยนัยดังกล่าวมานี้, ปวัตติ และปฏิสนธิ

พึงกระทำเหมือนสวิตักกทุกะ โมหะ มี ๓ นัยเหมือนกัน แม้หทยวัตถุ ก็พึง

กระทำในปวัตติ.

การนับจานวนวาระในปัจจนียะ

[๗๑๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙

วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑

วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคค-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖

วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 803

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๑๑] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม เจือกับอุเบกขาสหคตธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำเหมือนกับ สวิตักกทุกะ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๑๒] ในเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ใน

ปัจจัยทั้งปวง มี ๖ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๗๑๓] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม เจือกับอุเบกขาสหคตธรรม

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่งเป็น

อเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 804

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย

อุทธัจจะ เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

พึงกระทำ ๕ วาระอย่างนี้ พึงกระทำให้เหมือนในสวิตักกทุกะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๗๑๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย ๖ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ ใน

นวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 805

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๑๕] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคต-

ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-

ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอานาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำ ๔ วาระ อย่างนี้เหมือนกับสวิตักกทุกะ.

๒. อารัมมณปัจจัย ๓. อธิปติปัจจัย

[๗๐๖] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

อารัมมณปัจจัยก็ดี อธิปติปัจจัยก็ดี พึงให้พิสดารเหมือนกับสัปปี-

ติกทุกะ ต่างกันแต่คำว่า อุเบกขา.

๔. อนันตรปัจจัย

[๗๑๗] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 806

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

๒. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย

แก่อุเบกขาที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

จุติจิต ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่ใช่

อุเบกขาสหคตธรรม.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม.

วิบากมโนธาตุ เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนวิญญาณธาตุ ที่ไม่ใช่อุเบกขา-

สหคตธรรม.

ภวังค์ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่ไม่ใช่อุเบกขา-

สหคตธรรม.

กุศลและอกุศล ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่

ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม.

กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.

ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.

เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่

ผลสมาบัติ ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 807

๓. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคต

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย

แก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ และอุเบกขา ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่

ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ อุเบกขาที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาที่เกิดหลัง ๆ ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

จุติจิต ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่ใช่

อุเบกขาสหคตธรรม.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๕)

อุเบกขาที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคต-

ธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 808

จุติจิต ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็น

อุเบกขาสหคตธรรม.

ภวังค์ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ.

กายวิญญาณธาตุ เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนธาตุ.

วิบากมโนวิญญาณธาตุ ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่

กิริยามโนวิญญาณธาตุ.

ภวังค์ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นอุเบกขา-

สหคตธรรม.

กุศลและอกุศล ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่

เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.

กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.

ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่

อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ อุเบกขาที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขา-

สหคตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ และอุเบกขา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๗. อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขา-

สหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 809

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ และ

อุเบกขา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ และอุเบกขา

เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

จุติจิต ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม และอุเบกขา เป็นปัจจัยแก่

อุปปัตติจิตที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม.

อาวัชชนะ และอุเบกขา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่อุเบกขา-

สหคตธรรม.

วิบากมโนธาตุและอุเบกขา เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนวิญญาณธาตุ.

ภวังค์ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม และอุเบกขา เป็นปัจจัยแก่ภวังค์

ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม.

กุศลและอกุศล ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม และอุเบกขา เป็นปัจจัย

แก่วุฏฐานะที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม.

กิริยาและอุเบกขา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.

ผลและอุเบกขา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.

เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธและอุเบกขา เป็น

ปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ และอุเบกขา

เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ และ

อุเบกขา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 810

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๗๑๘] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่

ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสยยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม แล้วให้ทาน

ด้วยจิตที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม.

สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ยังฌานที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคต-

ธรรม ฯลฯ ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ

ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ

ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 811

อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนาะ อุเบกขา แล้วให้ทานด้วยจิตที่ไม่ใช่อุเบกขา-

สหคตธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธาที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ และอุเบกขา

เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ

แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ

และแก่อุเบกขา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่

อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

เป็นอุปนิสสยปัจจัยแม้ทั้งสาม คือ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่ไม่ใช่

อุเบกขาสหคตธรรม แล้วให้ทาน ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ยัง

สมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ

อุเบกขา แล้วให้ทานด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้

เกิดขึ้น ถือเอาของที่เขามิได้ให้ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ มุสา-

วาท ฯลฯ ปิสุณาวาท ฯลฯ ผรุสวาจา ฯลฯ สัมผัปปลาปวาท ตัดช่องย่อง

เบา ฯลฯ ลอบขึ้นไปลักทรัพย์ ฯลฯ ปล้นบ้านหลังหนึ่ง ฯลฯ ดักปล้นตาม

ทาง ฯลฯ ผิดในภริยาผู้อื่น ฯลฯ ฆ่าคนในหมู่บ้าน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ฯลฯ

ศรัทธาที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ และอุเบกขา

เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ฯลฯ

แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 812

๖. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่

อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

เป็นอุปนิสสยปัจจัย ทั้ง ๓ นัย มีคำอธิบายเหมือนบาลีตอนที่สอง.

๗. อุเบกขาสหคตธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขา-

สหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗-๘-๙)

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๗๑๙] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่

ธรรมที่ไม่ใช่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๓ วาระ เหมือนกับสัปปีติกทุกะ

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

[๗๒๐] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่

อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย มี ๖ วาระ.

พึงกระทำสหชาตะ และ นานาขณิกะ ๔ วาระ, และเป็นนานา-

ขณิกะ ๒ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 813

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอานาจของวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย

พึงจำแนกปัจจัยเหล่านี้ โดยกระทำอย่างสัปปีติกทุกะ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๒๑] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ

ในกัมมปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 814

ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ

ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ. ในอัตถิปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

ปัจจนียวิภังค์ก็ดี การนับสามนัยนอกนี้ก็ดี พึงกระทำเหมือนกับ

สัปปีติกทุกะ โดยนัยดังกล่าวมาแล้ว.

อุเบกขาสหคตทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 815

๙๓. กามาวจรทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๒๒] ๑. กามาวจรธรรม อาศัยกามาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกามาวจรธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัยกามาวจรธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัย

หทยวัตถุ.

๓. กามาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม

อาศัยกามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัย

หทยวัตถุ.

กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 816

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

กามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. กามาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม.

๖. กามาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กามาวจร-

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๗. กามาวจรธรรม อาศัยกามาวจรธรรม และธรรม

ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม

และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัยกามาวจรธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 817

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๙. กามาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม

อาศัยกามาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม และมหาภูตรูป

ทั้งหลาย.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๒๓] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจั มี ๖ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปาก-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ

ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ

ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ

ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 818

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๗๒๔] ๑. กามาวจรธรรม อาศัยกามาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกามาวจร-

ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. นอารัมมณปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.

๓. อธิปติปัจจัย

[๗๒๕] ๑. กามาวจรธรรม อาศัยกามาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

กามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่

กามาวจรธรรม.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 819

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. กามาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม

เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ซึ่ง

เป็นวิบาก.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๖. กามาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กามาวจร-

ธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๗. กามาวจรธรรม อาศัยกามาวจรธรรม และธรรม

ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ซึ่ง

เป็นวิบาก และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

สองวาระ (วาระที่ ๘-๙) ที่เหลือนอกนี้ พึงกระทำให้ปรากฏ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 820

๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นปัจฉาชาตปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอนันตรปัจจัย ฯลฯ

ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย

ฯลฯ เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย

๙. นอาเสวนปัจจัย

[๗๒๖] ๑. กามาวจรธรรม อาศัยกามาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

กามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. กามาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม

เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๖)

ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม

ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ ขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 821

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓ วาระที่เหลือนอกนี้ พึงกระทำให้ปรากฏ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๗๒๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย

มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

นอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย

มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ

ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับที่เหลือ ๒ นัยนอกนี้ก็ดี สหชาตวาระก็ดี พึงกระทำ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 822

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๒๘] ๑. กามาวจรธรรม อาศัยกามาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกามาวจร-

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกามาวจรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัยกามาวจรธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. กามาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม

อาศัยกามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัยหทยวัตถุ จิตต-

สมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 823

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

กามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔-๕-๖)

เหมือนกับปฏิจจวาระ

๗. กามาวจรธรรม อาศัยกามาวจรธรรม และธรรม

ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัยกามาวจรธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม และหทยวัตถุ

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๙. กามาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม

อาศัยกามาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม และหทยวัตถุ

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ.

ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 824

การนับจานวนวาระในอนุโลม

[๗๒๙] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี

๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี

๔ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ใน

อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๗๓๐] ๑. กามาวจรธรรม อาศัยกามาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกามาวจรธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ

อเหตุกปฏิสนธิ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกามาวจรธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. นอารัมมณปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 825

๓. นอธิปติปัจจัย

[๗๓๑] ๑. กามาวจรธรรม อาศัยกามาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัยกามาวจรธรรม

เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ซึ่งเป็นวิบาก อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. กามาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม

อาศัยกามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ซึ่งเป็นวิบาก อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

กามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับ

ปฏิจจวาระ.

๗. กามาวจรธรรม อาศัยกามาวจรธรรม และธรรม

ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย เหมือนกับ

ปฏิจจวาระ.

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๘)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 826

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามา-

วจรธรรมและหทยวัตถุ.

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และ

หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๙)

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และ

หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ซึ่งเป็น

วิบาก และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๖. อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ ๗. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ

ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย

พึงกำหนด คำว่า วิบาก ในสุทธกนัย และในอรูปมิสสกนัย ใน

รูปมิสสกนัย ไม่มี.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๗๓๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 827

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙

วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

นกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑

วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคค-

ปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี

๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 828

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๓๓] ๑. กามาวจรธรรม เจือกับกามาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นกามาวจรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ใช่

กามาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๓๔] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี

๒ วาระ

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๗๓๕] ๑. กามาวจรธรรม เจือกับกามาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 829

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นกามาวจรธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต

ด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๗๓๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกจากนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 830

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๓๗] ๑. กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นกามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล. (วาระที่ ๔)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 831

เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๗๓๘] ๑. กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม พิจารณาซึ่งกุศล-

กรรมที่เคยสั่งสมไว้ในกาลก่อน, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภ

กุศลกรรมนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณาโคตรภู, พิจารณาโวทาน, กิเลสที่ละแล้ว

ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้ในกาลก่อน ฯลฯ

พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกามาวจรธรรม

โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

๒. กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กามา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นกามาวจรธรรม ด้วย

เจโตปริยญาณ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่

เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาค-

ตังสญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 832

๓. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ด้วยอำนาจของอารัมมณ-

ปัจจัย.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ด้วย

เจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญาย-

ตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่

เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาค-

ตังสญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลออกจากฌาน แล้วพิจารณาฌาน ย่อมยินดี ย่อมเพลิด-

เพลินยิ่ง เพราะปรารภฌานนั้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค ผล ฯลฯ พิจารณา

นิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่อาวัชชนะ ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย.

บุคคลพิจารณาอากาสานัญจายตนะ, พิจารณาวิญญาณัญจายตนะ,

พิจารณาอากิญจัญญายตนะ พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ, พิจารณา

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 833

ทิพยจักษุ, พิจารณาทิพโสตธาตุ, พิจารณาอิทธิวิธญาณ, เจโตปริยญาณ

ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ พิจารณาอนาค-

ตังสญาณ, ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๗๓๙] ๑. กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กุศลกรรมทั้งหลาย

ที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก

แน่น แล้วพิจารณา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรม

นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

พระเสขบุคคลทั้งหลายกระทำโคตรภูให้หนักแน่น แล้วพิจารณา

กระทาโวทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทย-

วัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกามาวจรธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น

กระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น

ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 834

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นกามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลออกจากฌานแล้ว กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

แล้วพิจารณา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำฌานนั้นให้เป็น

อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น แล้วพิจารณา, ออกจากผล ฯลฯ กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 835

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, ด้วยอำนาจของอธิปติ

ปัจจัย.

บุคคลกระทำอากาสานัญจายตนะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว

พิจารณา กระทำวิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานา-

สัญญายตนะ ทิพยจักษุ ทิพโสตธาตุ อิทธิวิธญาณ ฯลฯ กระทำอนาคตัง-

สญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพรากระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่

ไม่ใช่กามาวจรธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ครั้นกระทำขันธ์นั้น

ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามา-

วจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติ-

ปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 836

๔. อนันตรปัจจัย

[๗๔๐] ๑. กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกามาวจรธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกามาวจรธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน, อาวัชชนะ

เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกามาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๒. กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กามา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่เป็นกามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่ใช่

กามาวจรธรรม.

อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นกามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่ใช่

กามาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

บริกรรมแห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย ฯลฯ บริกรรมแห่งจตุตถฌาน ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญนา-

สัญญายตนะ ฯลฯ แห่งทิพยจักษุ ฯลฯ แห่งทิพโสตธาตุ ฯลฯ แห่งอิทธิ-

วิธญาณ ฯลฯ แห่งเจโตปริยญาณ ฯลฯ แห่งปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ

แห่งยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ บริกรรมแห่งอนาคตังสญาณ เป็นปัจจัยแก่อนาค-

ตังสญาณ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 837

โคตรภู, เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค อนุโลม

เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล, ผลเป็นปัจจัยแก่ผล, เนวสัญญานาสัญญาย-

ตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิต ที่เป็น

กามาวจรธรรม.

ภวังค์ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็น

กามาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 838

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๗๔๑] ๑. กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นกามาวจรธรรม แล้วให้ทาน ศีล ฯลฯ

อุโบสถกรรม ฯลฯ ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นกามาวจรธรรม ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ

ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ

แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังวิปัสสนา ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธาที่เป็นกามาวจรธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่

เป็นกามาวจรธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กามา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นกามาวจรธรรมแล้ว ยังฌานที่ไม่ใช่

กามาวจรธรรม ให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้

เกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 839

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นกามาวจรธรรม ฯลฯ เสนาสนะ แล้ว

ยังฌานที่ไม่ใช่กามาวจรธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยัง

สมาบัติให้เกิดขึ้น

ศรัทธาที่เป็นกามาวจรธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา

ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

บริกรรมแห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ฯลฯ แห่งจตตุถ-

ฌาน ฯลฯ แห่งอากาสานัญจายตนะ ฯลฯ แห่งปฐมมรรค ฯลฯ บริกรรมแห่ง

จตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม แล้วยังฌานที่ไม่ใช่

กามาวจรธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ฯลฯ ปัญญา แล้วยัง

ฌานที่ไม่ใช่กามาวจรธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยัง

สมาบัติ ให้เกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 840

ศรัทธาที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา

ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ

ตติยฌาน ฯลฯ จตุตถฌาน ฯลฯ อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญ-

จายตนะ, อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ ทุติยมรรค, ทุติยมรรค เป็นปัจจัยแก่

ตติยมรรค, ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค, ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย.

มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม แล้วให้ทาน ฯลฯ ศีล

ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ฯลฯ ปัญญา แล้วให้ทาน

ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 841

ศรัทธา ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา

ที่เป็นกามาวจรธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่ความปรารถนา แก่สุข

ทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายเข้าไปอาศัยมรรคแล้ว พิจารณาเห็นสังขารทั้งหลาย

โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

มรรค เป็นปัจจัยแก่อัตถิปฏิสัมภิทา แก่ธรรมปฏิสัมภิทา แก่นิรุตติ-

ปฏิสัมภิทา แก่ปฏิภาณปฏิสัมภิทา แก่ฐานาฐานโกสัลละ ของพระอริยะทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ผลสมาบัติ เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๗๔๒] ๑. กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น

ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 842

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กามา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ

๑๓. กัมมปัจจัย

[๗๔๓] ๑. กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 843

๒. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ด้วยอานาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามา-

วจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ด้วยอำนาจของกัมม-

ปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ ฯลฯ

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๔ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 844

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๗๘๔] ๑. กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒. กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กามา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 845

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้

ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๗๔๕] ๑. กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

และ อินทริยะ ฯลฯ

๒. กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กามา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 846

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ เหมือนกับ

วิปปยุตตปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามา-

วจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ-

ปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๖. กามาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม

เป็นปัจจัยแก่กามาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ

และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็น

ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่

กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่

กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๗. กามาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 847

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๔๖] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ

ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย

มี ๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอวิคตปัจจัย

มี ๗ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 848

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๗๔๗] ๑. กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๒. กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กามา-

วจรธรรม ด้วยอานาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 849

๕. ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กามา-

วจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ด้วยอำนาจของสหชาต-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๖. กามาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม

เป็นปัจจัยแก่กามาวจรธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหาร-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๗. กามาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม ด้วยอำนาจของสหชาต-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

การนับจานวนวาระในปัจจนียะ

[๗๔๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี

๖ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ใน

นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ใน-

นวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย

มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 850

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๗๔๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ... ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย

มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ

ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

โนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๗๕๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ... ใน

อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ พึงกระทาอนุโลมมาติกา ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๗

วาระ

กามาวจรทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 851

๙๔. รูปาวจรทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๕๑] ๑. รูปาวจรธรรม อาศัยรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นรูปาวจรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม อาศัยรูปาวจรธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. รูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

อาศัยรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นรูปาวจรธรรม

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 852

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่รูปาวจร-

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๕. รูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๖. รูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๗. รูปาวจรธรรม อาศัยรูปาวจรธรรม และธรรมที่

ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นรูปาวจรธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม อาศัยรูปาวจรธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม

และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 853

๙. รูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

อาศัยรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นรูปาวจรธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม และมหาภูตรูป

ทั้งหลาย.

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๕๒] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี

๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปาก-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

สัมปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี

๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 854

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๗๕๓] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่รูปาวจร-

ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์

ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. นอารัมมณปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.

๓. นอธิปติปัจจัย

[๗๕๔] ๑. รูปาวจรธรรม อาศัยรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นรูปาวจรธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปา-

วจรธรรม.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 855

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นรูปาวจรธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม อาศัยรูปาวจรธรรม

เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม ซึ่ง

เป็นวิบาก.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. รูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

อาศัยรูปาวจรธรรมเกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นรูปาวจร-

ธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่รูปาวจร-

ธรรม ฯลฯ

ธรรมที่ไม่ใช่กามาวจรธรรม เหมือนกับปฏิจจวาระ ทั้ง ๓ วาระ

ไม่มีแตกต่างกันในทุกะนี้ พึงกระทำมหาภูตรูปทั้งหมด.

๕. รูปาวจรธรรม อาศัยรูปาวจรธรรม และธรรมที่

ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 856

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นรูปาวจรธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

๖. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม อาศัยรูปาวจรธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม ซึ่ง

เป็นวิบาก และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๗. รูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

อาศัยรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นอธิปติปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นรูปาวจรธรรม

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม และมหาภูตรูป

ทั้งหลาย.

๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๖. นอุปนิสสยปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอนันตรปัจจัย

ฯลฯ เพราะนสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอุปนิสสยปัจจัย

๗. ปุเรชาตปัจจัย

[๗๕๕] ๑. รูปาวจรธรรม อาศัยรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นปุเรชาตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 857

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นรูปาวจรธรรม ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม อาศัยรูปาวจรธรรม

เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. รูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

อาศัยรูปาวจรธรรมเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น

รูปาวจรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

วาระ ๕ นอกนี้ (วาระที่ ๕-๙) พึงกระทำตามลำดับ.

๘. นปัจฉาชาตปัจจัย

ฯลฯ เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 858

๙. นอาเสวนปัจจัย

[๗๕๖] ๑. รูปาวจรธรรม อาศัยรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นรูปาวจรธรรม ซึ่งเป็นวิบาก.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม อาศัยรูปาวจรธรรม

เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๓. รูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

อาศัยรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นรูปาวจร-

ธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่

๔-๕-๖)

๗. รูปาวจรธรรม อาศัยรูปาวจรธรรม และธรรมที่

ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 859

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๘)

วาระที่ ๙ แม้นอกนี้ ก็พึงกระทำ.

๑๐. นกัมมปัจจัย ฯลฯ ๑๖. นสัมปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เพราะกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ

ฯลฯ เพราะนวิปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ

๑๗. นวิปปยุตตปัจจัย

[๗๕๗] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วน

อสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ

ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๗๕๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙

วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 860

นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑

วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคค-

ปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑

วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สหชาตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 861

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๕๙] ๑. รูปาวจรธรรม อาศัยรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่รูปาวจร-

ธรรม ฯลฯ ตลอดถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๕. รูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๖. รูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 862

๗. รูปาวจรธรรม อาศัยรูปาวจรธรรม และธรรมที่

ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นรูปาวจรธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๘. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม อาศัยรูปาวจรธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๙. รูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

อาศัยรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นรูปาวจรธรรม และหทยวัตถุ

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม และมหาภูต-

รูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 863

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๖๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๔ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ใน

อวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๗๖๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่

สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 864

๒. นอารัมมณปัจจัย

เพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ

๓. นอธิปติปัจจัย

[๗๖๒] ๑. รูปาวจรธรรม อาศัยรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๕. รูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นรูปาวจรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม ซึ่งเป็นวิบาก อาศัยหทยวัตถุ.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๖. รูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม ซึ่งเป็นวิบาก อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๗. รูปาวจรธรรม อาศัยรูปาวจรธรรม และธรรม

ที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 865

คือ อธิปติธรรมที่เป็นรูปาวจร อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจร-

ธรรม และหทยวัตถุ.

ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นรูปาวจรธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และ

หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นรูปาวจรธรรม และ

หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๘. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม อาศัยรูปาวจรธรรม

และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม ซึ่ง

เป็นวิบาก และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๙. รูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

อาศัยรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นรูปาวจรธรรม ซึ่งเป็นวิบาก

และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม ซึ่งเป็น

วิบาก และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 866

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๗๖๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสย-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ พึงกำหนดคำว่า วิบาก ในอรูป-

ภูมิล้วนด้วย ในภูมิที่เจือปนกันด้วย ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปาก-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ

ในโนวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 867

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๖๔] ๑. รูปาวจรธรรม เจือกับรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นรูปาวจรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ใช่

รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๖๕] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๖๖] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ใช่

รูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 868

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๗๖๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

นปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๑ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 869

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๖๘] ๑. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

เหตุทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอานาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เหตุทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 870

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. อารัมมณปัจจัย

[๗๖๙] ๑. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นรูปาวจรธรรม

ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่

เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนา-

คตังสญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๒. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจร-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลพิจารณาปฐมฌาน ฯลฯ พิจารณาจตุตถฌาน พิจารณา

ทิพยจักษุ พิจารณาทิพโสตธาตุ ฯลฯ อิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ ปุพเพ-

นิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ พิจารณาอนาคตังสญาณ, ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อม

เกิดขึ้น.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 871

คือ บุคคลให้ทาน ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณาซึ่ง

กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง

เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

พระอริยะทั้งหลาย ออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล

พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่

อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ

กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ

จักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม โดยความ

เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ, อากิญจัญ-

ญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

รูปายนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวาจรธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปาวจร-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

ด้วยเจโตปริยญาณ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 872

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิญญาณ แก่

เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาค-

ตังสญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๗๗๐] ๑. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจร-

ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลกระทำปฐมฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา,

ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำฌานนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

บุคคลกระทำจตุตถฌาน ฯลฯ ทิพยจักษุ ทิพโสตธาตุ อิทธิวิธญาณ

เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสนุสสติญาณ ฯลฯ อนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักเเน่นแล้ว พิจารณา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำฌาน

เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น, ทิฏฐิ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 873

บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์นั้น ให้เป็น

อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น, ทิฏฐิ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปาวจรธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

๔. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

ฯลฯ ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ บุคคลกระทำกุศล-

กรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้ว ในกาลก่อนให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

แล้วพิจารณา, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้

เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น ฯลฯ กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 874

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ

จักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

บุคคลกระทำอากาสานัญจายตนะ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว

พิจารณา, กระทำเนวสัญญานาสัญญายตนะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว

พิจารณา.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. อนันตรปัจจัย

[๗๗๑] ๑. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๒. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจร-

ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่เป็นรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่ใช่

รูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 875

ภวังค์ที่เป็นรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่ใช่รูปา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, เนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัย

แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปาวจร-

ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็น

รูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็น

รูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

บริกรรมแห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

บริกรรมแห่งจตุตถฌาน ฯลฯ แห่งทิพยจักษุ ฯลฯ แห่งทิพโสตธาตุ

ฯลฯ แห่งอิทธิวิธญาณ ฯลฯ แห่งเจโตปริยญาณ ฯลฯ แห่งปุพเพนิวาสา-

นุสสติญาณ ฯลฯ แห่งยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ บริกรรมแห่งอนาคตังสญาณ

เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 876

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๗๗๒] ๑. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นรูปาวจรธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็น

รูปาวจรธรรมให้เกิดขึ้น ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นรูปาวจรธรรม ฯลฯ อาศัยปัญญาแล้ว

ยังฌานที่เป็นรูปาวจรธรรมให้เกิดขึ้น ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ศรัทธาที่เป็นรูปาวจรธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ที่เป็น

รูปาวจรธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ทุติยฌาน เป็นปัจจัยแก่ตติยฌาน ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

ตติยฌาน เป็นปัจจัยแก่จตุตถฌาน ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 877

๒. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจร-

ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นรูปาวจรธรรม แล้วให้ทาน ฯลฯ ศีล

ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ยังฌานที่เป็นรูปาวจรธรรม ยังวิปัสสนา ยังมรรค

ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นรูปาวจรธรรม ฯลฯ ปัญญา แล้วให้ทาน

ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

ศรัทธาที่เป็นรูปาวจรธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ไม่ใช่

รูปาวจรธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย

แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ

อุโบสถกรรมแล้ว ยังฌานที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ฯลฯ ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยัง

มรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 878

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ฯลฯ ปัญญา แล้วให้ทาน

ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

ศรัทธาที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ปัญญาที่ไม่ใช่

รูปาวจรธรรม ฯลฯ แก่ราคะ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย, แก่ทุกข์

ทางกาย, แก่มรรค, แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปาวจร-

ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็น

รูปาวจรธรรม ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ฯลฯ เสนาสนะ แล้ว

ยังฌานที่เป็นรูปาวจรธรรม ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ศรัทธาที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา

ที่เป็นรูปาวจรธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

บริกรรมแห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

ฯลฯ บริกรรมแห่งจตุตถฌาน ฯลฯ บริกรรมแห่งทิพยจักษุ ฯลฯ

แห่งทิพโสตธาตุ ฯลฯ แห่งอิทธิวิธญาณ ฯลฯ แห่งเจโตปริยญาณ ฯลฯ แห่ง

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 879

ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ แห่งยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ บริกรรมแห่ง

อนาคตังสญาณ เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๗๗๓] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ ฯลฯ

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปาวจร-

ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 880

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ.

๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๗๗๔] ๑. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ.

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจร-

ธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจร-

ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 881

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วย

อานาจของกัมมปัจจัย.

๓. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปาวจรธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจร-

ธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 882

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่รูปาว-

จรธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๗๗๕] ๑. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่รูปาว-

จรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 883

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปาวจร-

ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจร-

ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๗๗๖] ๑. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจร-

ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 884

๓. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปาวจรธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับ

ปฏิจจวาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

และ อินทริยะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปาวจร-

ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจร-

ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย.

๖. รูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

เป็นปัจจัยแก่รูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 885

ขันธ์ ๑ ที่เป็นรูปาวจรธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๗. รูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ

และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัย

แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรมที่เกิดก่อน และกพฬีการาหาร เป็น

ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นรูปาวจรธรรมที่เกิดก่อน และรูปชีวิตินทรีย์ เป็น

ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. วิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอานาจของวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 886

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๗๗] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔

วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิ

ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ใน

อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๗๗๘] ๑. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจร-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 887

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปาวจรธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่รูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอานาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่รูปาวจร-

ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอานาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. รูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

เป็นปัจจัยแก่รูปาวจรธรรม.

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

๗. รูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่รูปาวจรธรรม.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 888

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปุเรชาตะ รวมกับ อาหาระ

และรวมกับ อินทริยะ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๗๗๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๖

วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ใน

นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตต-

ปัจจัย มี ๖ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ

ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย

มี ๕ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๗๘๐] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ... ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย

มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ

ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิ-

ปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 889

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๗๘๑] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ... ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ อนุโลมมาติกาพึงให้พิสดาร ในอวิคตปัจจัย มี

๗ วาระ.

รูปาวจรทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 890

๙๕. อรูปาวจรทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๘๒] ๑. อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจร-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม.

๓. อรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม

อาศัยอรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจร-

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อรูปาวจร-

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 891

ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่

อรูปาวจรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

ฯลฯ มหาภูตรูป ๑.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจร-

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

ฯลฯ

การนับจานวนวาระในอนุโลม

[๗๘๓] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี

๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปาก-

ปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๘๔] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 892

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อรูปาวจร-

ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.

๓. นอธิปติปัจจัย

[๗๘๕] ๑. อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นอรูปาวจรธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

อรูปาวจรธรรม ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรธรรม ซึ่งเป็นวิบาก

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อรูปาวจร

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 893

๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอนันตรปัจจัย ฯลฯ

ฯลฯ เพราะนอุปนิสสยปัจจัย

๘. นปุเรชาตปัจจัย

[๗๘๖] ๑. อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรธรรม ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจร-

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาต-

ปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 894

๙. นปัจฉาชาตปัจจัย

ฯลฯ เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย.

๑๐. นอาเสวนปัจจัย

[๗๘๗] ๑. อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรธรรม ซึ่งเป็นวิบาก

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจร-

ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม-

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อรูปาว-

จรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจร-

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวน-

ปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 895

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

การนับจานวนวาระในปัจจนียะ

[๗๘๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี

๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี

๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ

ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สหชาตะวาระก็ดี พึงกระทำ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 896

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๘๙] ๑. อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ฯลฯ ตลอดถึง

อัชฌัตติกมหาภูตรูป.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๕. อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม

เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๖. อรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม

อาศัยธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๗. อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม และธรรม

ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรธรรม และหทยวัตถุ

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 897

๘. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจร-

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙. อรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม

อาศัยอรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรธรรม และหทยวัตถุ

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม และมหา-

ภูตรูปทั้งหลาย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๙๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี

๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๔ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปาก-

ปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 898

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๗๙๑] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ

ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. นอารัมมณปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.

๓. นอธิปติปัจจัย

[๗๙๒] ๑. อรูปาวจรธรรม อาศัยอรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นอรูปาวจรธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

อรูปาวจรธรรม ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรธรรม ซึ่งเป็นวิบาก

ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 899

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยธรรมมที่ไม่ใช่

อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ,

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๗๙๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี

๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

นอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี

๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 900

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๙๔] ๑. อรูปาวจรธรรม เจือกับอรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ใช่

อรูปาวจรธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๗๙๕] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.

ปัจจนียนัย

การนับจานวนวาระในปัจจนียะ

[๗๙๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 901

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๗๙๗] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

เหตุทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เหตุทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 902

๒. อารัมมณปัจจัย

[๗๙๘] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปวจรธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย, อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๒. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลพิจารณาอากาสานัญจายตนะ, วิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ

อากิญจัญญายตนะ ฯลฯ พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นอรูปาวจรธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นอรูปาวจรธรรม

ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ, แก่

ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่

อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณา

ซึ่งกุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น

ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 903

พิจารณากุศลกรรมที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจาก

ฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค, พิจารณามรรค, พิจารณาผล,

พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล,

แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว, กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลส

ทั้งหลายที่เกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ

พิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม

โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม

ด้วยเจโตปริยญาณ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่

ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่

อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๗๙๙] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 904

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลกระทำอากาสานัญจายตนะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว

พิจารณา ฯลฯ กระทำเนวสัญญานาสัญญายตนะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

แล้ว พิจารณา.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่ไม่

ใช่อรูปาวจรธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็น

อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

อธิปติธรรมที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 905

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำ

กุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา ย่อมยินดี ย่อม

เพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศสกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว

ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

พิจารณากุศลกรรมที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจาก

ฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่นแล้ว พิจารณา ฯลฯ พิจารณาผล ฯลฯ พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ

จักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ

ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 906

๔. อนันตรปัจจัย

[๘๐๐] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๒. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่ใช่

อรูปาวจรธรรม.

ภวังค์ที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่ไม่ใช่

อรูปาวจรธรรม.

เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่

ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย

แก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-

ปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 907

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ จุติจิตที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่ไม่ใช่

อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็น

อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

บริกรรมแห่งอากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่อากาสานัญจายตนะ

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

บริกรรมแห่งวิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ บริกรรมแห่งอากิญจัญญายตนะ

ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญา-

ยตนะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๘๐๑] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 908

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย, วิญญาณัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่อากิญจัญญายตนะ, อากิญ-

จัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย

ปัจจัย.

๒. รูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอรูปาวจรธรรม แล้วให้ทาน ฯลฯ ศีล

ฯลฯ อุโบสถกรรม ยังฌานที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ยังวิปัสสนา ยังมรรค

ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ที่เป็นอรูปาวจรธรรม ฯลฯ ปัญญา แล้วให้

ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

ศรัทธาที่เป็นอรูปาวจรธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่

ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่ความปรารถนา แก่สุข

ทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย.

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของของอุปนิสสยปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 909

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรมแล้ว ให้ทาน ศีล

ฯลฯ อุโบสถกรรม ยังฌานที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ยังวิปัสสนา ยังมรรค

ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ

ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ

แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธาที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา

ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย

แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บริกรรมแห่งอากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่อากาสานัญจายตนะ

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ

เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 910

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๘๐๒] ๑. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น

ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทย-

วัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของปุเร-

ชาตปัจจัย.

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 911

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ๑๒. อาเสวนปัจจัย

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ.

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๘๐๓] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ ฯลฯ

๒. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เจตนาที่เป็นอรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 912

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย

[๘๐๔] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยเเก่อรูปาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของวิปากปัจจัย

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.

๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

[๘๐๕] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

๒. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

๓. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 913

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๘๐๖] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ ฯลฯ

๒. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

๓. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ ฯลฯ

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

และ อินทริยะ ฯลฯ

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 914

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม ด้วย

อานาจของอัตถิปัจจัย.

๖. อรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม

เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่

ขันธ์ ๑ ที่เป็นอรูปาวจรธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓

ด้วยอานาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๗. อรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ

และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็น

ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม ที่เกิดภายหลัง และกพฬีการาหาร

เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรูปาวจรธรรม ที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิติน-

ทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 915

๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. วิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอานาจของนัตถิปัจจัย.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๘๐๗] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี

๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒

วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมม-

ปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ใน

อินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ

ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย

มี ๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอวิคต-

ปัจจัย มี ๗ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๘๐๘] ๑. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 916

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

กัมมปัจจัย.

๒. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจองอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๓. อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๔. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม เป็นปัจจัยแก่อรูปา-

วจรธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย.

๖. อรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม

เป็นปัจจัยแก่อรูปาวจรธรรม.

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 917

๗. อรูปาวจรธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่อรูปาวจรธรรม.

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ

และรวมกับ อินทริยะ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๘๐๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕

วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ใน

นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตต-

ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ

ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย

มี ๔ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๘๑๐] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ.... ใน

อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย

มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ

ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

โนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 918

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๘๑๑] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ... ใน

อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ อนุโลมมาติกาพึงให้พิสดาร ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย

มี ๗ วาระ.

อรูปาวจรทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 919

๙๖. ปริยาปันนทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๐๒] ๑. ปริยาปันนธรรม อาศัยปริยาปันนธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริยาปันน-

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พึงกระทำทุกะแม้นี้ เหมือนโลกิยทุกะ ในจูฬันตรทุกะ ฉะนั้น ไม่มี

แตกต่างกัน.

ปริยาปันนทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 920

๙๗. นิยยานิกทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๑๓] ๑. นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยยานิกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๒. อนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม.

๓. นิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยา-

นิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยยานิก-

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๔. อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิก-

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย

หทยวัตถุ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 921

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

๕. อนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม และอนิยยา-

นิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

การนับจานวนวาระในอนุโลม

[๘๑๔] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปาก-

ปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๘๑๕] ๑. อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิก-

ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 922

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย

อาศัยหทยวัตถุ.

มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. นอารัมมณปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.

๓. นอธิปติปัจจัย

[๘๑๖] ๑. นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยา-

นิกธรรม.

๒. อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิก-

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 923

๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๖. นอัญญมัญญปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอนันตรปัจจัย

ฯลฯ เพราะนสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เพราะนอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ

๗. ปุเรชาตปัจจัย

[๘๑๗] ๑. นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยยานิกธรรม ฯลฯ

๒. อนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม.

๓. อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม.

ในปฎิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๔. อนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม และ

อนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 924

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๘๑๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย

มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สหชาตวาระก็ดี พึงกระทำ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 925

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๐๙] ๑. นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒. อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิก-

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ตลอดถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๓. นิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๔. นิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม อาศัย

อนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม อาศัยหทยวัตถุ จิตตสมุฏ-

ฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๕. นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม และอนิยยา-

นิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 926

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยยานิกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ

ขันธ์๒.

๖. อนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม และ

อนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

๗. นิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม อาศัย

นิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยยานิกธรรม เเละหทยวัตถุ

ฯลฯ ขันธ์ ๒.

จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม และมหา-

ภูตรูปทั้งหลาย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๘๒๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๔ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 927

ปัจจนียนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๒๑] ๑. อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะนเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม

ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์ ฯลฯ

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

๒. นอารัมมณปัจจัย

[๘๒๒] ๑. อนิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.

๓. นอธิปติปัจจัย

[๘๒๓] ๑. นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยา-

นิกธรรม.

๒. อนิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอธิปติปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 928

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ฯลฯ ตลอดถึง

อสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยานิกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๓. นิยยานิกธรรม อาศัยอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.

๔. นิยยานิกธรรม อาศัยนิยยานิกธรรม และอนิยยา-

นิกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย

คือ อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น

นิยยานิกธรรมและหทยวัตถุ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๘๒๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนอุปนิสสย-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙

วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปาก-

ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ

ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 929

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๒๕] ๑. นิยยานิกธรรม เจือกับนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยยานิกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

๒. อนิยยานิกธรรม เจือกับอนิยยานิกธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

การนับจานวนวาระในอนุโลม

[๘๒๖] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

ปัจจัยทั้งปวง มี ๒ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี

๒ วาระ.

ปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๘๒๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำอย่างนี้.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 930

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๒๘] ๑. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

เหตุทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เหตุทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๔. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 931

๒. อารัมมณปัจจัย

[๘๒๙] ๑. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นนิยยานิกธรรม ด้วย

เจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่

ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย.

๒. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือบุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณา

ซึ่งกุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น

ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายพิจารณาผล พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่ผล, แก่อาวัชชนะ

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ

รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 932

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยา-

นิกธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นอนิยยานิกธรรม

ด้วยเจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ, อากิญจัญญาย-

ตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น

ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่

เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนา-

คตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๘๓๐] ๑. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 933

อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่นแล้ว พิจารณา.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

อธิปติธรรมที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำ

กุศลกรรมนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา ย่อมยินดี ย่อม

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 934

เพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ

ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจาnฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายกระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา

กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่ผล ด้วยอำนาจของ

อธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ

จักษุเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ

ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 935

๔. อนันตรปัจจัย

[๘๓๑] ๑. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๒. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย

แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยยานิกธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-

ปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, ผล เป็นปัจจัยแก่ผล,

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ, เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออก

จากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๓. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 936

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๘๓๒] ๑. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลาย เข้าไปอาศัยมรรคแล้ว ยังสมาบัติที่ยังไม่เกิด ให้

เกิดขึ้น, เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว, พิจารณาเห็นสังขารทั้งหลาย โดยความ

เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

มรรค เป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา, แก่ธัมมปฏิสัมภิทา, แก่นิรุตติ-

ปฏิสัมภิทา, แก่ปฏิภาณปฏิสัมภิทา, แก่ฐานาฐานโกสัลละ ของพระอริยะ

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๓. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 937

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอนิยยานิกธรรม แล้วให้ทาน ฯลฯ

ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ยังฌาน ยังวิปัสสนา ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติ

ให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอนิยยานิกธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ

ความปรารถนา อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติ

ให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ศรัทธาที่เป็นอนิยยานิกธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา

ที่เป็นอนิยยานิกธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ฯลฯ แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์

ทางกาย แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ บริกรรมแห่งจตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 938

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๘๓๓] ๑. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ.

พึงกระทำเหมือนอรูปทุกะ.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ.

๑๓. กัมมปัจจัย

[๘๓๔] ๑. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 939

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของกัมม-

ปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เจตนาที่เป็นนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ฯลฯ

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นอนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตา-

รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 940

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

พึงกระทำเหมือนอรูปทุกะ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ.

พึงกระทำเหมือนอรูปทุกะ.

หลักจำแนกวาระ มีบทต่างกันนั้น.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

การนับจานวนวาระในอนุโลม

[๘๓๕] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔

วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิ-

ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 941

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๘๓๖] ๑. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย.

๓. นิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม และ

อนิยยานิกธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๔. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยยานิกธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย

อานาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหาร

ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. อนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยยานิกธรรม ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. นิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่

นิยยานิกธรรม.

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 942

๗. นิยยานิกธรรม และอนิยยานิกธรรม เป็นปัจจัยแก่

อนิยยานิกธรรม.

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ

อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๘๓๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕

วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ใน

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ใน

นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย

มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ใน

โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๘๓๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ.... ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย

มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 943

ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิ-

ปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

ปัจจนียานุโลม

การนับจานวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๘๓๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ... ใน

อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ อนุโลมมาติกาพึงให้พิสดาร ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

นิยยานิกทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 944

๙๘. นิยตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๔๐] ๑. นิยตธรรม อาศัยนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ

ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒

๒. อนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นนิยตธรรม พึงทำ

๕ วาระ

ปฏิจจวาระก็ดี สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี

สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงทำเหมือนนิยยานิกทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน

การจำแนกวาระต่างกัน

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 945

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๔๑] ๑. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของเหตุปัจจัย

มี ๔ วาระ เหมือนกับนิยยานิกทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๘๔๒] ๑. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค, พิจารณา

กิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นนิยตธรรม, กิเลสทั้งหลายที่เกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ

พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นนิยตธรรม ด้วย

เจโตปริยญาณ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพ-

นิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

๒. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 946

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณา

กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน พิจารณา

ฌาน, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภทานเป็นต้นนั้น ราคะที่

เป็นอนิยตธรรมย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส

ที่เป็นอนิยตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณาผล, พิจารณานิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่อาวัชชนะ ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอนิยตธรรม กิเลส

ที่ข่มแล้ว รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรมโดยความ

เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้น

นั้น ราคะที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ

อารัมมณปัจจัย.

๓. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย

คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม แก่ปิตุฆาตกรรม แก่

อรหันตฆาตกรรม แก่รุหิรุปปาทกรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 947

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้นแก่บุคคลผู้ยึดถือวัตถุใด

วัตถุนั้นเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของ

อารัมมณปัจจัย.

๓. อธิปติปัจจัย

[๘๔๓] ๑. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่นแล้ว พิจารณา.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม และอนิยต-

ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 948

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำ

กุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ย่อมยินดี ย่อม

เพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

ราคะที่เป็นนิยตธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

พิจารณากุศลที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายกระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว

พิจารณา กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่ผล ด้วยอำนาจของ

อธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ราคะที่เป็น

อนิยตธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 949

อธิปติธรรมที่เป็นอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. อนันตรปัจจัย

[๘๔๔] ๑. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของอนันตรปัจจัย

คือ มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

๒. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน, ผล

เป็นปัจจัยแก่ผล, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะ

ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตร-

ปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 950

๓. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของอนันตรปัจจัย

คือ โทมนัสที่เป็นอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่โทมนัสที่เป็นนิยตธรรม.

มิจฉาทิฏฐิที่เป็นอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉาทิฏฐิที่เป็นนิยตธรรม

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ.

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๘๔๕] ๑. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของอุปนิสสยปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

มาตุฆาตกรรม เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม แก่ปิตุฆาตกรรม แก่

อรหันตฆาตกรรม แก่รุหิรุปปาทกรรม แก่สังฆเภทกรรม แก่มิจฉาทิฏฐิ

ที่เป็นนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 951

พึงกระทำจักรนัย.

ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค, ทุติยมรรค เป็นปัจจัยแก่

ตติยมรรค, ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย.

๒. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

ปลงชีวิตมารดา ฯลฯ ทำลายสงฆ์แล้ว ย่อมให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ

กระทำอุโบสถกรรม ฯลฯ เพื่อลบล้างอกุศลกรรมนั้น.

พระอริยะทั้งหลายเข้าไปอาศัยมรรคแล้ว ยังสมาบัติที่ยังไม่เกิดขึ้นให้

เกิดขึ้น ย่อมเข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว ฯ ล ฯ เป็นปัจจัยแก่ฐานาฐานโกสัลละ.

มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๓. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 952

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นอนิยตธรรม ย่อมให้ทาน ฯลฯ ศีล

ฯลฯ อุโบสถกรรม ยังฌาน ฯลฯ ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยัง

สมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ความ

ปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติ

ให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ฯลฯ

ศรัทธาที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น

อนิยตธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผล

สมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นอนิยตธรรมแล้ว ปลงชีวิตมารดา ฯลฯ

ทำลายสงฆ์.

บุคคลเข้าไปอาศัยโทมนัสที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ เสนาสนะแล้ว

ปลงชีวิตมารดา ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

ราคะที่เป็นอนิยตธรรม โทมนัส ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่

มาตุฆาตกรรม ฯลฯ แก่สังฆเภทกรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 953

บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ฯลฯ บริกรรม

แห่งจตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๘๔๖] ๑. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

๒. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม แก่ปิตุฆาตกรรม แก่

อรหันตฆาตกรรม แก่รุหิรุปปาทกรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 954

๑๓. กัมมปัจจัย

[๘๔๗] ๑. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป

ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓)

เจตนาที่เป็นนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏ-

ฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 955

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

เหมือนกับอรูปทุกะ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ.

เหมือนกับอรูปาวจรทุกะ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๘๔๘] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒

วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาต-

ปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 956

วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย

มี ๔ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ใน

มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี

๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย

มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๘๔๙] ๑. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. นิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓. นิยตธรรม เป็นปัจจัย แก่นิยตธรรม และอนิยต-

ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๔. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 957

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

เป็นปัจจัย ด้วยอานาจของอินทริยปัจจัย.

๕. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. นิยตธรรม และอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยต-

ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย.

๗. นิยตธรรม และอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยต-

ธรรม.

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ, รวมกับ อาหาระ,

และรวมกับ อินทริยะ

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๘๕๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕

วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปุเร-

ชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตต-

ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๔

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 958

วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในโน-

อวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๘๕๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี

๔ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ

ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๘๕๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ อนุโลมมาติกาพึงให้พิสดาร ในอวิคตปัจจัย มี ๗

วาระ.

นิยตทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 959

๙๙. สอุตตรทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๕๓] ๑. สอุตตรธรรม อาศัยสอุตตรธรรม เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสอุตตร-

ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป.

เหมือนโลกิยทุกะ ในจูฬันตรทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน.

สอุตตรทุกะ จบ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 960

๑๐๐. สรณทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๕๔] ๑. สรณธรรม อาศัยสรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ

ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสรณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

มี ๕ วาระ เหมือนกับอรูปาวจรทุกะ เหมือนกับอนุโลมปฏิจจวาระ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๘๕๕] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๕๖] ๑. สรณธรรม อาศัยสรณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุ

ปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย

ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 961

๒. อรณธรรม อาศัยอรณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุ

ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอรณธรรม

ซึ่งเป็นอเหตุกะ.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๘๕๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสย-ภ

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕

วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปาก-

ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑

วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมป-

ยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี

๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สหชาตวาระก็ดี พึงกระทำ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 962

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๕๘] ๑. สรณธรรม อาศัยสรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ

ปัจจัย

คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสรณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.

แม้ปัจจยวาระแห่งอรูปาวจรทุกะ ฉันใด พึงกระทำฉันนั้น.

การนับจานวนวาระในอนุโลม

[๘๕๙] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๘๖๐] ๑. สรณธรรม อาศัยสรณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุ

ปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒. อรณธรรม อาศัยอรณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุ

ปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 963

คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอรณธรรม

ซึ่งเป็นอเหตุกะ, ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ อาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.

๓. สรณธรรม อาศัยอรณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุ

ปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย

หทยวัตถุ.

๔. สรณธรรม อาศัยสรณธรรม และอรณธรรม

เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๘๖๑] ในนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-

ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี

๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน

นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี

๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน

นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 964

๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน

โนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี

พึงกระทำ.

ในปัจจัยทั้งปวงพึงทำ ๒ วาระ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๘๖๒] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๒ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย

มี ๒ วาระ.

ปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๘๖๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ วาระ.

การนับทั้งสองนัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 965

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๘๖๔] ๑. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของเหตุปัจจัย เหมือนกับอรูปทุกะ มี ๔ วาระ.

๒. อารัมมณปัจจัย

[๘๖๕] ๑. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะ เพราะปรารภ

ราคะนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ

โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งทิฏฐิ เพราะปรารภทิฏฐินั้น

วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ เพราะปรารภโทมนัส โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น

ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น.

๒. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย

คือ พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว ฯลฯ กิเลสที่ข่ม

แล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นสรณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 966

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นสรณธรรมด้วย

เจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสรณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ, แก่

ปุพเพนิวสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่

อาวัชชนะ ด้วยอานาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย

คือบุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม แล้วพิจารณา

กุศลกรรมนั้น.

พิจารณาซึ่งกุศลกรรมที่เคยสั่งสมไว้ในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค ฯลฯ ผล พิจารณา

นิพพาน.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล,

แก่อาวัชชนะ, ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรณ-

ธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๔. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 967

คือบุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี

ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งกุศลกรรมนั้น เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะ

ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ

พิจารณากุศลกรรมที่กระทำไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง จักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นอรณธรรม เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส

ย่อมเกิดขึ้น.

๓. อธิปติปัจจัย

[๘๖๖] ๑. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะให้เป็น

อารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำราคะนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว

ฯลฯ ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำทิฏฐิให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 968

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสรณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๒. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสรณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม และอรณ-

ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นสรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ

ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำ

กุศลกรรมนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา ฯลฯ กุศลกรรมที่เคย

สั่งสมไว้ในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 969

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่นแล้ว พิจารณา ฯลฯ ผล ฯลฯ กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่นแล้วพิจารณา.

นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล,

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นอรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำ

กุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง

เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น

ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออก

จากฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุ

เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 970

๔. อนันตรปัจจัย

[๘๖๗] ๑. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสรณธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นสรณธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๒. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสรณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

๓. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรณธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นอรณธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

๔. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอนันตรปัจจัย

คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสรณธรรม ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 971

๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ

๙. อุปนิสสยปัจจัย

[๘๖๘] ๑. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ

ทำลายสงฆ์.

ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ แก่ความ

ปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 972

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม

ยังฌาน ฯลฯ ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติ

ให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ

ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา

แก่สุขทางกาย, แก่ทุกข์ทางกาย, แก่มรรค, แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

๓. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ

โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่

สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-

ปัจจัย.

๔. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอุปนิสสยปัจจัย

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 973

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา แล้วให้ทาน ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะ แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลาย

สงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ ราคะ ฯลฯ แก่ความ

ปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๑๐. ปุเรชาตปัจจัย

[๘๖๙] ๑. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

พิจารณาจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย

แก่กายวิญญาณ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 974

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอรณธรรม ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย.

๒. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ

ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสรณธรรม ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๒. อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ

๑๓. กัมมปัจจัย

[๘๗๐] ๑. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของกัมมปัจจัย

คือ เจตนาที่เป็นสรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒)

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 975

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสรณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย

อำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสรณธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป

ทั้งหลาย ด้วยอานาจของกัมมปัจจัย.

พึงกระทามูล (วาระที่ ๓)

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

เจตนาที่เป็นสรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏ-

ฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ

ที่เป็น สหชาตะ ฯลฯ

๑๔. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๐. วิปปยุตตปัจจัย

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๔ วาระ.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 976

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.

ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.

เหมือนกับอรูปทุกะ.

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๘๗๑] ๑. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอัตถิปัจจัย ฯลฯ

๒. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

๓. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม และอรณ-

ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

๔. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม ด้วยอานาจ

ของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ

และ อินทริยะ

๕. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 977

ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ

เพราะปรารภจักษุเป็นต้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอัตถิปัจจัย.

๖. สรณธรรม และอรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณ-

ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

๗. สรณธรรม และอรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณ-

ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ

และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสรณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัย

แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสรณธรรมที่เกิดภายหลัง และกพฬีการาหาร เป็น

ปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสรณธรรมที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็น

ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 978

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๘๗๒] ในเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย

มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ

ในนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ใน

กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ

ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๔

วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิ-

ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ใน

อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๘๗๓] ๑. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

๒. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอานาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 979

๓. สรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม และอรณ-

ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๔. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

๕. อรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณธรรม ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖. สรณธรรม และอรณธรรม เป็นปัจจัยแก่สรณ-

ธรรม คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ

๗. สรณธรรม และอรณธรรม เป็นปัจจัยแก่อรณ-

ธรรม.

มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ

และรวมกับ อินทริยะ

การนับจานวนวาระในปัจจนียะ

[๘๗๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓

วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ใน

พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๕ - หน้าที่ 980

นนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย

มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕

วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิ-

ปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจานวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๘๗๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ... ใน

ในนอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในน-

อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ในนสัมป-

ยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี

๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๘๗๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ... ใน

อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ พึงกระทำอนุโลมมาติกา

ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.

สรณทุกะ จบ

อนุโลมทุกปัฏฐาน จบ