พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 1
พระอภิธรรมปิฎก
เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๓๑
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
๘. ทัสสนติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๕๗๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหา-
ตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯ ล ฯ ขันธ์
๒ อาศัยขันธ์ ๒.
๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม.
๑. บาลีเล่มที่ ๔๑
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 2
๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ฯ ล ฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.
[๕๗๘] ๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพ-
ธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯ ล ฯ ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒.
๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
ภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม.
๖. ภาวนายปทาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหา-
ตัพพธรรม ฯ ล ฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.
[๕๗๙] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 3
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯ ล ฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯ ล ฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒.
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯ ล ฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป ๒ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๕๘๐] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๕๘๑] ๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาว-
นายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิด
ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 4
๒. อารัมมณปัจจัย
[๕๘๒] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหา-
ตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯ ล ฯ ขันธ์
๒ อาศัยขันธ์ ๒.
[๕๘๓] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์
๒ อาศัยขันธ์ ๒.
[๕๘๔] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย
ปหาตัพพธรรม ฯ ล ฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒
ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
๓. อธิปติปัจจัย
[๕๘๕] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหา-
ตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 5
๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ - ๖)
๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนน
นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.
จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม
เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาว-
นายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิด
ขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 6
๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย
[๕๘๖] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย.
เหมือนกับอารัมมณปัจจัย.
๖. สหชาตปัจจัย
[๕๘๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหา-
ตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ.
๔. ภาวนาย ฯ ล ฯ มี ๓ วาระ.
๗. เนวทัสสเนน ฯลฯ
คือ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป...
อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑...ฯลฯ
๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น
เพราะสหชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น
เพราะสหชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 7
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
๗. อัญญมัญญปัจจัย
[๕๘๘ ] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ.
๒. อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๑ วาระ.
๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุอาศัยขันธ์ ๒.
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.
๘. นิสสยปัจจัย ฯลฯ ๑๒. กัมมปัจจัย
[๕๘๙] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 8
เหมือนกับเหตุปัจจัย.
เพราะปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ไม่มีปฏิสนธิ.
เพราะอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ.
เพราะอุปนิสสยปัจจัย ไม่มีวิปากปฏิสนธิ.
เพราะกัมมปัจจัย อัชฌัตติกรูป และมหาภูตรูปของอสัญญสัตว์
ทั้งหลายมีบริบูรณ์.
๑๓. วิปากปัจจัย
[๕๙๐] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายอาศัย
หทยวัตถุ
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัย
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
๑๔. อาหารปัจจัย
[๕๙๑] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอาหารปัจจัย
อัชฌัตติกรูป มหาภูตรูป และอาหารสมุฏฐานรูปมีบริบูรณ์.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 9
๑๕. อินทริยปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
เพราะอินทริยปัจจัย เหมือนกับกัมมปัจจัย.
เพราะฌานปัจจัย, เพราะมัคคปัจจัย เหมือนกับเหตุปัจจัย.
เพราะสัมปยุตตปัจจัย เหมือนกับอารัมมณปัจจัย.
เพราะวิปปยุตตปัจจัย เหมือนกับวิปปยุตตปัจจัย ในกุสลติกะ.
เพราะอัตถิปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัย.
เพราะนัตถิปัจจัย ฯลฯ เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๕๙๒] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ใน
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙
วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ใน
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
บทเหล่านั้นผู้มีปัญญาพึงนับอนุโลม.
อนุโลม จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 10
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๕๙๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหา-
ตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา.
[๕๙๔] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ.
[๕๙๕] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ที่เป็นเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒.
หทยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ, มหาภูตรูป
๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตรูป ที่เป็นอุปาทารูป
อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พาหิรรูป...อาหารสมุฏฐานรูปะ..อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 11
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑, กฏัตตา-
รูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตทั้งหลาย.
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๕๙๖] ๑. เนวทัสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
ทัสสเนนปหาตัพพธรรมเกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม.
[๕๙๗] ๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
ภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม.
[๕๘๘] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณ-
ปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพธรรม, หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ฯลฯ
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป.. อุตุสมุฏฐานรูป... ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑... ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 12
[๕๙๙ ] ๔. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย-
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๖๐๐] ๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
๓. นอธิปติปัจจัย
[๖๐๑] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนนปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
พึงทำให้บริบูรณ์ เหมือนกับเหตุปัจจัย.
๔. เพราะนอนันตรปัจจัย
๕. เพราะนสมนันตรปัจจัย
๖. เพราะนอัญญมัญญปัจจัย
๗. เพราะนอุปนิสสยปัจจัย... ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 13
๘. นปุเรชาตปัจจัย
[๖๐๒] ๑. ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม
ฯลฯ
๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสส-
เนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย.
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม.
๓. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม ฯลฯ
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
๔. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม
๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเนวทัสสเนนภาวนาย
ปหาตัพพธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 14
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูปะ... อุตุสมุฏฐานรูป... ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
๖. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม
ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม
เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และ
มหาภูตรูป ทั้งหลาย.
๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย ๑๑. นกัมมปัจจัย
[๖๐๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย
เพราะนกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 15
คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม.
[๖๐๔] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
ภาวนายปหาตัพพธรรม.
๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม.
พาหิรรูป...อาหารสมุฏฐานรูปะ...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
๑๒. นวิปากปัจจัย
[๖๐๕] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย เหมือนกับ เพราะอธิปติปัจจัย
ฯลฯ ปฏิสนธิไม่มี.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 16
๑๓. นอาหารปัจจัย
[๖๐๖] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาหารปัจจัย
คือ พาหิรรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ...
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ... ฯลฯ
๑๔. นอินทริยปัจจัย
[๖๐๗] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะ
นอินทริยปัจจัย
คือ พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ... มหา-
ภูตรูป ๑ ... ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๑๕. นฌานปัจจัย
[๖๐๘] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
เพราะนฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ... ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 17
๑๖. นมัคคปัจจัย
[๖๐๙] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
เพราะนมัคคปัจจัย
คือ เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ.
ในอเหตุกปฏิสนธิ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วน
อสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย
[๖๑๐] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เหมือนกับ
เพราะนอารัมมณปัจจัย ( มี ๕ วาระ)
๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย
[๖๑๑] ๑. อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนวิปป-
ยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ.
๒. อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนวิปป-
ยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 18
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ.
๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ (ขันธ์ ๓) อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย
ปหาตัพพธรรม.
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย... ฯลฯ
๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย
[๖๑๒] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะในนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย
เหมือนกับ เพราะนอารัมมณปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
สุทธมูลกนัย
[๖๑๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี
๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 19
มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ
ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย
มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโน
วิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
รู้แล้ว พึงนับ.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๖๑๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ...ในน
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย
มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิ
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
ผู้มีปัญญา พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียะ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 20
ปัจจนียานุโลม
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๖๑๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ...ในอนัน-
ตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๒
วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิ
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ผู้มีปัญญา พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 21
สหชาตวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย
[๖๐๖] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดร่วมกับทัสสเนนปหา-
ตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เกิดร่วมกับขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ
เกิดร่วมกับขันธ์ ๒ ฯลฯ.
สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
สหชาตวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 22
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๖๑๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่๑-๓)
๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ (วาระที่๔-๖)
[๖๑๘] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป
ทั้งหลาย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 23
ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
หทยวัตถุ
๘. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๙. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ,
๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนน-
ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ,
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๑๑. ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิด
ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๖๑๙] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหา-
ตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 24
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และหทย-
วัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ.
๑๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และหทย-
วัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหา-
ภูตรูปทั้งหลาย.
[๖๒๐] ๑๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และหทย-
วัตถุ ฯลฯ ... อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 25
๑๖. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
๑๗. ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และหทัย-
วัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และมหา-
ภูตรูปทั้งหลาย.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๖๒๑] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒.
[๖๒๒] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 26
[๖๒๓] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒.
ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยหทย-
วัตถุ
๔. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
[๖๒๔] ๖. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหา-
ตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 27
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และหทย-
วัตถุ.
[๖๒๕] ๗. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพ
ธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และหทย-
วัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ.
๓. อธิปติปัจจัย
[๖๒๖] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม ไม่มีปฏิสนธิ.
๗. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย
เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เหมือนกับเพราะ
อารัมมณปัจจัย.
๖. สหชาตปัจจัย
[๖๒๗] ๑. ฯลฯ เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 28
๔. ฯลฯ อาศัยภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ
๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัย
หทยวัตถุ
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย... ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาปหาตัพพธรรม อาศัย
หทยวัตถุ.
๖. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนน-
ภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
วาระที่เหลือ เหมือนกับเหตุปัจจัย (มี ๑๗ วาระ)
๗. อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
[๖๒๘] ทัสสเนนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะ
อุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 29
เพราะ ปุเรชาตปัจจัย ไม่มีปฏิสนธิ.
เพราะ อาเสวนปัจจัย ไม่มีปฏิสนธิ และวิบาก.
เพราะ กัมมปัจจัย เพราะ วิปากปัจจัย เพราะ อาหารปัจจัย
เพราะ อินทริยปัจจัย เพราะ ฌานปัจจัย เพราะ มัคคปัจจัย เพราะ สัม-
ปยุตตปัจจัย เพราะ วิปปยุตตปัจจัย เพราะ อัตถิปัจจัย เพราะ นัตถิ-
ปัจจัย เพราะ วิคตปัจจัย เพราะ อวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๖๒๙ ] ในเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ ใน
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี
๑๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสัม-
ปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี
๑๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคต-
ปัจจัย มี ๑๗ วาระ พึงนับอย่างนี้.
อนุโลม จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 30
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๖๓๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา.
[๖๓๑] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ
[๖๓๒] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย
อาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏ-
ฐานรูป ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 31
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ
อาศัยหทยวัตถุ.
๔. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยหทยวัตถุ.
๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทยวัตถุ.
[๖๓๓] ๕. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหา
ตัพพธรรม และเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา และหทยวัตถุ.
[๖๓๘] ๗. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพ -
ธรรม และเนวทัสสเนนนกาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนเหตุ
ปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 32
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ และหทยวัตถุ.
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๖๓๕] ๑. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม.
[๖๓๖] ๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาว-
นายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม.
[๖๓๗] ๓. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนนภาวนาย
ปหาตัพพธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพธรรม หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 33
... อาศัยมหาภูตรูป ๑
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป ...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ... ฯลฯ
[๖๓๘] ๔. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหา-
ตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะ
นอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๖๓๙] ๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาว-
นายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
เพราะนอารัมมณปัจจัย.
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม
และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย
[๖๔๐] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัย เพราะ
นอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย
เพราะนอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 34
๘. นปุเรชาตปัจจัย
[๖๔๑] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ.
๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัย
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม.
[๖๔๒] ๓. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ.
๔. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาว-
นายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม
๕. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย
ปหาตัพพธรรม ฯลฯ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
ตัพพธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 35
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, หทยวัตถุ อาศัย
ขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป...อาหารสมุฏฐานรูป ...อุตุสมุฏฐานรูป
ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
๖. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยทัสส-
เนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมอาศัยภาว-
นายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะ
นอาเสวนปัจจัย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 36
๑๑. นกัมมปัจจัย
[๖๔๓] ๑. ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม.
๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
ภาวนายปหาตัพพธรรม.
๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะ
นกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม.
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป. . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
๔. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาว
นายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยหทยวัตถุ
[๖๔๔] ๖. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหา-
ตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะ
นกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 37
คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และหทยวัตถุ.
๗. ภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนกัมม-
ปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
ภาวนายปหาตัพพธรรม และหทยวัตถุ.
๑๒. นวิปากปัจจัย
[๖๔๕] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม ปฏิสนธิไม่มี.
๑๓. นอาหารปัจจัย
ฯลฯ เพราะนอาหารปัจจัย
คือ พาหิรรูป ...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
๑๔. นอินทริยปัจจัย
ฯลฯ เพราะนอินทริยปัจจัย
คือ พาหิรรูป...อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วน
อสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 38
๑๕. นฌานปัจจัย
ฯลฯ เพราะนฌานปัจจัย
คือ ปัญจวิญญาณ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย
ฯลฯ.
๑๖. นมัคคปัจจัย
ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์
ทั้งหลาย ฯลฯ.
๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย
ฯลฯ เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย
ฯลฯ เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม ฯลฯ.
ในอรูปภูมิขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 39
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพธรรม
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนนภาวนายปหา-
ตัพพธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนอสัญญ-
สัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย
เพราะในนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๖๔๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๑๗ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ
ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย
มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
ปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 40
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๖๔๗] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ... ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๑๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
อนุโลมปัจจัยนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๖๔๘] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ในอนันตร
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัยมี ๗ วาระ
ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย
มี ๗ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ
ในกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗
วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 41
มี ๖ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ
ในอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ. พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัจจยวาระ จบ
นิสสยวาระ พึงกระทำเหมือนกับปัจจยวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 42
สังสัฏฐวาระ
อนุโลม
เหตุปัจจัย
[๖๔๙] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เจือกับทัสสเนนปหา-
ตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒.
[๖๕๐] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม เจือกับภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ.
[๖๕๑] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เจือกับ
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม ฯลฯ.
[๖๕๒] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
ทุก ๆ บท พึงแจกให้พิสดารปัจจัยละ ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 43
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๖๕๓] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ใน
อาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี
๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓
วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
อนุโลม จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๖๕๔] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เจือกับทัสสเนนปหา-
ตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เจือกับขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉา.
[๖๕๕] ๒ . ภาวนายปหาตัพพธรรม เจือกับภาวนายปหา-
ตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เจือกับขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ.
[๖๕๖] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เจือกับ
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 44
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย
[๖๕๗] ทัสสเนนปหาตัพพธรรมเจือกับทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะ
นปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย เพราะนกัมมปัจจัย เพราะ
นวิปากปัจจัย.
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนฌานปัจจัย
คือ ปัญจวิญญาณ ฯลฯ
ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ฯลฯ ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ เพราะนวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๖๕๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอา-
เสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓
วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิป-
ปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 45
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๖๕๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ...ในน
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย
มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในน-
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.
อนุโลมปัจจนียะ จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๖๖๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ...ใน
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย
มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหาร-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
ในมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจนียานุโลม จบ
สังสัฏฐวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 46
สัมปยุตตวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย
[๖๖๑] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ประกอบกับทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
สมปยุตตวาระ เหมือนกับสังสัฏฐวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 47
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๖๖๒] ๑.ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๖๖๓] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๖๖๔] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วย
อำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 48
[๖๖๕] ๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๖๖๖] ๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๖๖๗] ๖. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นภาวนาปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
[๖๖๘] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ
เหตุปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 49
๒. อารัมมณปัจจัย
[๖๖๙] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะที่เป็นทัสสเนนปหา-
ตัพพธรรม เพราะปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อม
เกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหา-
ตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งทิฏฐิ เพระปรารภทิฏฐินั้น
ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา
ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภวิจิกิจฉา วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น โทม-
นัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นทัสส-
เนนปหาตัพพธรรม โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจ-
ฉา ย่อมเกิดขึ้น.
[๖๗๐] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นทัสสเนนปหา-
ตัพพธรรม รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.
บุคคลพิจารณาเหตุขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม โดย
ความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 50
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริย-
ญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่นาคตังสญาณ
แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๖๗๑] ๓. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะที่เป็นภาวนายปหา-
ตัพพธรรม เพราะปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิด
ขึ้น อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสเป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
เพระปรารภอุทธัจจะ อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม โทมนัสที่เป็นภาว-
นายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น.
[๖๗๒] ๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะที่เป็นภาวนายปหา-
ตัพพธรรม เพราะปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อม
เกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหา-
ตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 51
เพราะปรารภอุทธัจจะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทม-
นัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม โทมนัสที่เป็น
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น.
[๖๗๓] ๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณาเห็นกิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม, พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้ว
ในกาลก่อน.
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม โดย
ความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ
แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่
อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๖๗๔] ๖. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 52
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมพิจารณา
กุศลกรรมนั้น, ย่อมพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.
บุคคลออกจากฌาน แล้วพิจารณาฌาน.
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค พิจารณานิพพาน.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล แก่
อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา.
บุคคลพิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง กลิ่น
รส โผฏฐัพพะ ฯลฯ หทัยวัตถุ เห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นเนวทัสสเนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ.
อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมู-
ปคญาณ แก่อนาคตตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 53
[๖๗๕] ๗. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี
ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งกุศลกรรมนั้น เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะที่เป็น
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น
โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้ว ในกาลก่อน.
บุคคลออกจากฌานแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งฌาน
เพราะปรารภฌานนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ
วิจิกิจฉา ฯลฯ
เมื่อฌานเสื่อมแล้ว โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น
แก่บุคคลผู้มีความเดือนร้อน.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิด
เพลินยิ่ง ซึ่งโสตะ ฯลฯ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็น
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ
[๖๗๖] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 54
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี
ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งกุศลกรรมนั้น เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ราคะ ย่อม
เกิดขึ้น อุทธัจจะย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
ออกจากฌาน ฯลฯ
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เพราะปรารภจักษุเป็น
ต้นนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ย่อมเกิด
ขึ้น โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
๓. อธิปติปัจจัย
[๖๗๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะที่เป็นทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำราคะนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น
ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำทิฏฐิให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว ครั้นกระทำทิฏฐินั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 55
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๖๗๘] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๖๗๙] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๖๘๐] ๔. ภาวนาปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 56
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะที่เป็นภาว-
นายปหาตัพพธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ครั้นกระทำราคะนั้น
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อม
เกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๖๘๑] ๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาอธิปติ ได้แก่
บุคคลกระทำราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ
ย่อมเกิดขึ้น.
[๖๘๒] ๖. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
รูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 57
[๖๘๓] ๗. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
[๖๘๔] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติ
ปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศล
กรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมพิจารณา.
กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ.
ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อม
พิจารณา.
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว ย่อมพิจารณา, กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
ย่อมพิจารณา กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมพิจารณา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 58
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๖๘๕] ๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี
ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ครั้นกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็น
ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ.
ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ฯลฯ ...
ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำหทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น
กระทำหทัยวัตถุเป็นต้น นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็น
ทัสสเนนปหาตัพพธรรมย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 59
[๖๘๖] ๑๐. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี ย่อม
เพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งกุศลกรรมนั้น เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรมย่อมเกิดขึ้น.
กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ.
บุคคลย่อมยินดีย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่
เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น
กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นภาวนายปหา-
ตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
๔. อนันตรปัจจัย
[๖๘๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจ
ของอนันตรปัจจัย.
[๖๘๘] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 60
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๖๘๙ ] ๓. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจ
ของอนันตรปัจจัย.
[๖๙๐] ๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๖๙๑] ๕. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ที่เกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัย แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 61
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล
ผล เป็นปัจจัยแก่ผล
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ
เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่
ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๖๙๒] ๖. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ
คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๖๙๓] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนายของอนันตรปัจจัย
คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 62
๕. สมนันตรปัจจัย
[๖๙๔] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหา-
ตัพพธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย
เหมือนกับ อนันตรปัจจัย.
๖. สหชาตปัจจัย
[๖๙๕] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๖๙๖] ๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ.
[๖๙๗] ๑. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 63
มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ มหาภูตรูปทั้งหลาย
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
พาหิรรูป ...อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ...
[๖๙๘] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
[๖๙๙] ๙. ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
๗. อัญญมัญญปัจจัย
[๗๐๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 64
[๗๐๑] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ
[๗๐๒] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลาย.
มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญ-
ปัจจัย ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๘. นิสสยปัจจัย
[๗๐๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 65
๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ
๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ หทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ, หทยวัตถุ ฯลฯ
[๗๐๔] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 66
[๗๐๕] ๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนน-
ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วย
อำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และหทยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๗๐๖] ๑๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนน-
ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
ตัพพธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
[๗๐๗] ๑๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนน-
ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วย
อำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และหทัยวัตถุ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๗๐๘] ๑๓. ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 67
คือ ขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๗๐๙] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมแล้ว ฆ่าสัตว์
ลักทรัพย์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ โมหะ ฯลฯ
ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ ทิฏฐิ ฯลฯ
ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม แก่โทสะ
แก่โมหะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๗๑๐] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 68
บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมแล้ว ให้ทาน
สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ความ
ปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ ทิฏฐิ ฯลฯ
ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์
ทางกาย แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
[๗๑๑] ๓. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ มานะ ฯลฯ
ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม แก่โทสะ
แก่โมหะ แก่มานะ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๗๐๒] ๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 69
บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรมแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ
ทำลายสงฆ์.
บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ โมหะ ฯลฯ
มานะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ มานะ ฯลฯ
ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม แก่โทสะ
แก่โมหะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสัยปัจจัย.
ฉันทราคะในภัณฑะของตน เป็นปัจจัยแก่ฉันทราคะในภัณฑะของ
ผู้อื่น ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ฉันทราคะในสิ่งของที่หวงแหนของตน เป็นปัจจัย แก่ฉันทราคะในสิ่ง
ของที่หวงแหนของผู้อื่น ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๗๑๓] ๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสะ และ ปกตปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรมแล้ว ให้ทานฯลฯ
ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ โมหะ ฯลฯ
มานะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 70
ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ มานะ ฯลฯ
ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๗๑๔] ๖. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ สุตะ จาคะ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์
ทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น
ศรัทธา ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย
อุตุ โภชนะ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย
แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๗๑๕] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 71
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ฯลฯ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
[๗๑๖] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ
โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ก่อมานะ.
ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ
เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ
แก่มานะ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๗๑๗ ] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 72
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์เป็น
อนัตตา
บุคคลพิจารณาเห็น โสตะ ฯลฯ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง
กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทัยวัตถุ ฯลฯ
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ. หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๗๑๘] ๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ เพราะปรารภจักษุนั้น
ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส
ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 73
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งหทยวัตถุ เพราะปรารภหทยวัตถุ
นั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น
วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๗๑๙] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ เพราะปรารภจักษุนั้น
ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส
ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งโสตะ ฯลฯ กายะ รูป ฯลฯ โผฏ-
ฐัพพะ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหา-
ตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นภาวนายปหา-
ตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 74
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๗๒๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
[๗๒๑] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนาปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๗๒๒] ๓. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปุหาตัพพธรรมที่เกิด
ภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๗๒๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 75
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายเกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๗๒๔ ] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๗๒๕] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวน-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ที่เกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน, โคตรภู
เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๗๒๖] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 76
[๗๒๗] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และ
กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๗๒๘] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๗๒๙ ] ๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 77
[๗๓๐] ๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๗๓๑] ๖. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๗๓๒ ] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่างคือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 78
เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่
วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๑๔. วิปากปัจจัย
[๗๓๓] ๑. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ซึ่งเป็น
วิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ
วิปากปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจ
ของวิปากปัจจัย.
๑๕. อาหารปัจจัย
[๗๓๔] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ กวฬีการาหาร ฯลฯ.
อาหารปัจจัย มี ๗ วาระ.
๑๖. อินทริยปัจจัย
...เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ จักขุนทรีย์ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์ ฯลฯ
มี ๗ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 79
๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของมัคคปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ ด้วยอำนาจของวิปปยุตต-
ปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิด
พร้อมกันเป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม
ที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๗๓๕] ๒. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
แม้บทนี้ก็เหมือนกับทัสสเนนะ.
[๗๓๖] ๓. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่เนวทัสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตต-
ปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย
ปหาตัพพธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 80
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ที่เกิดภาย
หลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๗๓๗] ๔. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๗๓๘] ๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 81
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๗๓๙] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๗๔๐] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๗๔๑] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 82
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย
ปหาตัพพธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔-๖)
พึงกระทำเหมือนกับทัสสเนนะ.
[๗๔๒] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมที่เกิดพร้อมกัน
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายเป็น ปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
สำหรับอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา.
บุคคลพิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ กายะ รูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ
โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 83
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้, รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปทั้งหลาย.
[๗๔๓] ๘. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ เพราะปรารภจักษุนั้น
ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา
ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมยินดีซึ่งโสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 84
[๗๔๘] ๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ภาวนายปาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ เพราะปรารภจักษุนั้น
ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส
ที่เป็นภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวปหาตัพพธรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๗๔๕] ๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนน-
ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปทาตัพพธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดพร้อมกัน และหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ ฯลฯ.
[๗๔๖] ๑๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 85
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดพร้อมกัน และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง และกวฬี-
การาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพธรรมที่เกิดภายหลัง และรูป-
ชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๗๔๗] ๑๒. ภาวนาปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
พึงกระทำเป็น ๒ วาระ. (วาระที่ ๑๒-๑๓)
๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย
[๗๔๘ ] ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของวิคตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๗๔๙] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๘ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี
๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสย-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 86
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓
วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมม-
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ
ในอินทริยปัจจัย ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ
ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วานะ ในอัตถิปัจจัย
มี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคต-
ปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้
อนุโลม จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัย ในปัจจนียะ แห่งปัญหาวาระ
[๗๕๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๗๕๑] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิ-
สสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 87
[๗๕๒] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน
ปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๗๕๓] ๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๗๕๔] ๕. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนน-
ปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
[๗๕๕] ๖. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๗๕๖] ๗. ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย-
ปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๗๕๗] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 88
ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อินทริยปัจจัย.
[๗๕๘] ๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปุเรชาตปัจจัย.
[๗๕๙] ๑๐. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาต-
ปัจจัย.
[๗๖๐] ๑๑. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
[๗๖๑] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนน-
ภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
ตัพพธรรม ฯลฯ
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ
[๗๖๒] ๑๓. ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 89
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
[๗๖๓] ๑๔. ภาวนายปหาตัพพธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม ฯลฯ
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ รวมกับ
อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๗๖๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๔
วาระ ในนอิธิปติปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๑๔ วาระ
ในนสมนันตรปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในน
อัญญมัญญปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย
มี ๑๔ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑๔ วาระ
ในนวิปากปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอินทริย-
ปัจจัย มี ๑๔ วานะ ในนฌานปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑๔
วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๘ วาระ
ในโนอัตถิปัจจัย มี ๘ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย
มี ๑๔ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 90
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๗๖๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ...
ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอสัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
มี ๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๗ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ
ในนฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียะ จบ
ปัจจนียนุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๗๖๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๘ วาระ ใน
อธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 91
กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗
วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย
มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระใน
อัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗
วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
ทัสสนติกะที่ ๘ จบ
อรรถกถาทัสสนติกะ
ใน ทัสสนติกะ ในคำทั้งหลายที่อาทิว่า ราคะ ที่พึงละด้วย
ทัสสนะ (พระโสดาบัน) ย่อมเกิดขึ้น ผู้ศึกษาพึงทราบว่า ธรรมที่เกิดขึ้น
แก่พระอริยบุคคลเบื้องต่ำ ย่อมไม่เกิดแก่พระอริยบุคคลเบื้องสูงอย่างนี้คือ ราคะ
ที่พึงละด้วยทัสสนะย่อมเกิดแก่ปุถุชน ราคะที่พึงละด้วยภาวนาย่อมเกิดแม้แก่
พระโสดาบัน ธรรมที่พึงละด้วยทัสสนะย่อมไม่เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่พึงละด้วย
ภาวนา ด้วยอำนาจของปัจจัยแม้อย่างหนึ่ง. คำที่เหลือในอธิการนี้ ผู้ศึกษาพึง
ติดตามบาลี แล้วทราบด้วยอำนาจแห่งลักษณะที่กล่าวไว้ในกุสลติกะ.
อรรถกถาทัสสนติกะ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 92
๙. ทัสสเนนปหตัพพเหตุกติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๗๖๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม.
๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหา-
ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
[๗๖๘] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 93
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุธรรม อาศัย
ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม.
๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนาปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนานปหา-
ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๗๖๙] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ที่เป็นเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยยโมหะที่หรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ, ฯลฯ
อาศัยมหาภูตรูป ๑
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 94
๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหุตกธรรม และเนวทัสสเนนน-
ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ฯลฯ
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะที่-
สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๑๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนน-
ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ฯลฯ
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะที่สหรคต-
ด้วยอุทธัจจะ.
[๗๗๐] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 95
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และโมหะ.
๑๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม
และมหาภูตรูปทั้งหลาย, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา และโมหะ.
๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรมและเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และโมหะ ฯลฯ
[๗๗๑] ๑๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และโมหะ.
๑๖. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 96
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
และมหาภูตรูปทั้งหลาย, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะและโมหะ.
๑๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
และโมหะ ฯลฯ
๒. อารัมมณปัจจัย
[๗๗๒] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหุตกธรรม อาศัยทัสสเนน
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา.
๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุก -
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 97
คือ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๒.
[๗๗๓] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงจำแนกเหมือนกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม.
[๗๗๔] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทัยวัตถุ.
[๗๗๕] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
[๗๗๖] ๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 98
[๗๗๗] ๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหุตก-
ธรรม ฯลฯ เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และโมหะ.
[๗๗๘] ๑๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และโมหะ.
๓. อธิปติปัจจัย
[๗๗๙] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือน
กับเหตุปัจจัย (วาระที่ ๑-๓)
๔. ฯลฯ อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๓
วาระ เหมือนกับเหตุปัจจัย (วาระที่ ๔-๖)
ในอธิปติปัจจัย โมหะไม่มี.
[๗๘๐] ๗. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุธรรม อาศัย
เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 99
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็น
อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๗๘๑] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๗๘๒] ๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะอนันตรปัจจัย
เพราะ สมนันตรปัจจัย เหมือนกับอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 100
๖. สหชาตปัจจัย
[๗๘๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา.
๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.
[๗๘๔] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 101
๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์หลาย ที่เป็นภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม.
โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนน
ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.
ขันธ์ ๓ และ โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ ฯลฯ.
[๗๘๕] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ
สหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 102
ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัย
หทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป...อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัย โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกรรม อาศัยเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย ฯลฯ
พึงกระทำเหมือนกับเหตุปัจจัย ( มี ๑๗ วาระ)
๗. อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
[๗๘๖] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหา-
ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะ นิสสยปัจจัย
เพราะ อุปนิสสยปัจจัย เพราะ ปุเรชาตปัจจัย เพราะ อาเสวนปัจจัย
เพราะ กัมมปัจจัย เพราะ วิปากปัจจัย เพราะ อาหารปัจจัย เพราะ
อินทริยปัจจัย เพราะ ฌานปัจจัย เพราะ มัคคปัจจัย เพราะ สัมปยุตต-
ปัจจัย เพราะ วิปปยุตตปัจจัย เพราะ อัตถิปัจจัย เพราะ นัตถิปัจจัย
เพราะ วิตตปัจจัย เพราะ อวิคตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 103
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๗๘๗] ในเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑๑
วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในสมนันตร-
ปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๑
วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในปุเรชาต-
ปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑๗
วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย
มี ๑๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ใน
นัตถิปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๗๘๘] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 104
[๗๘๙] ๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ.
[๗๙๐] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย
อาศัยหทยวัตถุ.
...อาศัยมหาภูตรูป ๑.
พาหิรรูป ...อาหารสมุฏฐานรูป . . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๗๙๑] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 105
[๗๙๒] ๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม.
[๗๙๓] ๓. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย
ปหาตัพพเหตุกธรรม, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนน-
ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม, หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, มหาภูตรูป ๑
ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
[๗๙๔] ๔. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม
และมหาภูตรูปทั้งหลาย, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา และโมหะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 106
[๗๙๕] ๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
และมหาภูตรูปทั้งหลาย, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ และโมหะ.
๓. นอธิปติปัจจัย
[๗๙๖] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย เหมือน
กับ สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย
เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะน-
อัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย (ทุกปัจจัยมี ๕ วาระ).
๘. นปุเรชาตปัจจัย
[๗๙๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 107
๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม.
๓. ทัสสเนนปทาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนน
ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม
ฯลฯ
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
๔. อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เหมือน
กับทัสสเนนะ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔-๖)
[๗๙๘] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย
เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาต-
ปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯสฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 108
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ.
[๗๙๙] ๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ
โมหะ ฯลฯ.
๑๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 109
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม
และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ.
[๘๐๐] ๑๒. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
แม้เหล่านี้ พึงกระทำเป็น ๒ วาระ (รวมมี ๑๓ วาระ)
๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย ๑๑. นกัมมปัจจัย
[๘๐๑] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะน-
อาเสวนปัจจัย เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม.
[๘๐๒] ๒. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่
เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 110
[๘๐๓] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม.
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตกธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
[๘๐๔] ๖. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ฯลฯ
คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ
โมหะ.
[๘๐๕] ๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 111
คือ สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ
โมหะ.
๑๒. นวิปากปัจจัย
[๘๐๖] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหา-
ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย. ปฏิสนธิ ไม่มี.
๑๓. นอาหารปัจจัย
[๘๐๗] เนวทัสสเนนนภาวนาย ฯลฯ เพราะนอาหารปัจจัย
คือ พาหิรรูป... อุตุสมุฏฐานรูป... ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๑๔. นอินทริยปัจจัย
เพราะนอินทริยปัจจัย
คือ พาหิรรูป...อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย
ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๑๕. นฌานปัจจัย
เพราะนฌานปัจจัย
คือ ปัญจวิญญาณ... ฯลฯ พึงกระทำมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 112
๑๖. นมัคคปัจจัย
ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย
ฯลฯ เพราะนสัมปยุตตปัจจัย
๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย
[๘๐๘] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม.
๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลาย
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 113
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๘๐๙] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ...
ภาวนาย ฯลฯ มี ๓ วาระ.
[๘๑๐] ๗. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะน-
วิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมอาศัยเนวทัสสเนนน-
ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 114
คือ ในอรูปภูมิ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ.
[๘๑๑] ๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ
โมหะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
[๘๑๒] ๑๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ
โมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๑๙. เพราะโนนัตถิปัจจัย ๒๐. เพราะโนวิคตปัจจัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๘๑๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 115
มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗
วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในน-
วิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย
มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในน-
สัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในโนนัตถิ-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียะ จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๘๑๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ...
ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗
วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในน-
วิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕
วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียะ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 116
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๘๑๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ...
ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓วาระ ในอาเสวนปัจจัย
มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหาร-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
ในมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาระ จบ
สหชาตวาระเหมือนกับปฏิจจวาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 117
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๘๑๖] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย.
มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ (วาระที่ ๑ - ๓ )
๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ (วาระที่ ๔-๖)
๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหตัพพเหตุกธรรมอาศัย
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มี ๑ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย
หทยวัตถุ.
[๘๑๗] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 118
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉา.
๑๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนน-
ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ,
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ.
[๘๑๘] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรมและเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และ
หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 119
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ ขันธ์
๒ อาศัยขันธ์ ๒ และโมหะ.
๑๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม
และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และ
หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และโมหะ ฯลฯ.
[๘๐๙] ๑๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (รวม ๑๗ วาระ)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 120
๒. อารัมมณปัจจัย
[๘๒๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
มี ๓ วาระ เหมือนกับอารัมมณปัจจัย ในปฏิจจวาระ (วาระที่๑-๔).
๔. ภาวนาย ฯลฯ มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย
หทยวัตถุ.
[๘๒๑] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 121
๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ อาศัยหทยวัตถุ.
๑๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนน-
ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ อาศัยหทยวัตถุ.
[๘๒๒] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และ
หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และโมหะ.
๑๖. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา และหทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 122
๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ
หทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ ฯลฯ.
[๘๐๓] ๑๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และ
หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ โมหะ ฯลฯ ขันธ์
๒ ฯลฯ.
๑๖. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ และหทยวัตถุ.
๑๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหาตัพพเหุตกธรรม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 123
และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ
หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ ฯลฯ.
๓. อธิปติปัจจัย
[๘๒๔] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ.
๔. อาศัยภาวนาย ฯลฯ มี ๓ วาระ.
๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะอธิปติ
ปัจจัย มี ๑ วาระ.
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยหทยวัตถุ.
๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 124
๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย หทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๑๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๘๒๕] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และ
หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ ฯลฯ.
๑๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม
และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 125
๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น
เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และ
หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ ฯลฯ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๘๒๖] ๑๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และ
หทยวัตถุ มี ๓ วาระ เหมือนกับทัสสเนนะ (จึงรวมเป็น ๑๗ วาระ)
๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย
เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย ฯลฯ
๖. สหชาตปัจจัย
[๘๒๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 126
๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม.
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหา-
ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๓ และโมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉา ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๔. อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ
เหมือนกับทัสสเนน.
[๘๒๘] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ
สหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 127
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะสหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัย
หทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย
หทยวัตถุ.
๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 128
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉา.
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ อาศัยหทยวัตถุ.
๑๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคด้วยอุทธัจจะ และโมหะ อาศัยหทยวัตถุ.
[๘๒๙] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหายตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และ
หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ.
๑๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 129
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม
และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ
โมหะ.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา และหทยวัตถุ.
๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุ-
กธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น
เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และ
หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
แลโมหะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และหทย-
วัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ.
[๘๓๐] ๑๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม เกิดขึ้น เพราสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 130
๗. อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ๑๘. สัมปยุตตปัจจัย
[๘๓๑ ] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหา-
ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย, เพราะนิสสยปัจจัย,
เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย, เพราะอาเสวนปัจจัย, เพราะ
กัมมปัจจัย, เพราะวิปากปัจจัย, เพราะอาหารปัจจัย, เพราะอินทริย-
ปัจจัย, เพราะฌานปัจจัย, เพราะมัคคปัจจัย, เพราะสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ
๑๙. วิปปยุตตปัจจัย
[๘๓๒] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม, จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา,
โมหะ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 131
๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหา
ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ ๓ โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ขันธ์ทั้งหลาย และโมหะ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
[๘๓๓] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ เหมือนกับ ทัสสเนนะ (วาระที่ ๓-๖)
[๘๓๔ ] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 132
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ.
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยโมหะเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัย
หทยวัตถุ.
ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย, หทย-
วัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ฯลฯ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
จักขุวิญญาณอาศัยจักขายตะ, กายวิญญาณอาศัยกายายตนะ.
ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยหทยวัตถุ.
๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทย-
วัตถุ, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ,
ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 133
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ, ขันธ์ทั้ง
หลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ,
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยโมหะ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ อาศัยหทยวัตถุ, ขันธ์
ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๑๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็น ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย
หทยวัตถุ ฯลฯ เหมือนกับ ทัสสเนนะ.
[๘๓๕] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 134
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และ
หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๑๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม
และมหาภูตรูปทั้งหลาย, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย และโมหะ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม และเนวทัสสเนนนกาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และ
หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย. ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 135
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
หทยวัตถุ และโมหะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ และ ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย และโมหะ เกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ ๓ และโมหะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และหทยวัตถุ
ฯลฯ และอาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๑๕. ฯลฯ อาศัย ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มี ๓ วาระ เหมือนกับ ทัสสเนนะ.
๒๐. อัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุ-
กธรรม เกิดขึ้น เพราะ อัตถิปัจจัย, เพราะ ปัจจัย, เพราะ วิคต-
ปัจจัย เพราะ อวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๘๓๖] ในเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสมนันตร-
ปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 136
๑๗ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในกัมมปัจจัย
มี ๑๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ ใน
อินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี
๑๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี
๑๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลม จบ
ปัจจนียนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๘๓๗] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา.
[๘๓๘] ๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 137
[๘๓๙] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัย เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงกระทำให้เต็ม.
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ซึ่ง
เป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทยวัตถุ
[๘๔๐] ๔. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา และหทยวัตถุ.
[๘๔๑] ๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ และหทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 138
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๘๔๒] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายเป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม.
[๘๔๓] ๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม.
[๘๔๔] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนาย
ปหาตัพพเหตุกธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนน-
ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป . . . อาหารสมุฏฐานรูป . . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 139
[๘๔๕] ๔. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาเหตุกธรรม
และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ
โมหะ.
[๘๔๖] ๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหา
ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ.
๓. นอธิปติปัจจัย
[๘๔๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย เหมือนกับ สหชาต-
ปัจจัย (คือมี ๑๗ วาระ)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 140
๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย
เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญ-
มัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย
เหมือนกับปัจจนียะ ในปฏิจจวาระ, มี ๑๓ วาระ ไม่มีแตกต่างกัน.
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย
๑๑. นกัมมปัจจัย
[๘๔๘] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม.
[๘๔๙] ๒. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่
เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม.
[๘๕๐] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
อาศัยเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 141
คือ เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัย
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม.
พาหิรรูป .. .อาหารสมุฏฐานรูป . .. อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทย-
วัตถุ.
๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
สัมปยุตตเจตนา อาศัย โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยหทยวัตถุ
สัมยุตตเจตนา อาศัยโมหะ ที่สหรคตอุทธัจจะ.
[๘๕๑] ๖. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุธรรม อาศัยทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ฯลฯ
คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และหทยวัตถุ
สัมปยุตตเจตนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 142
[๘๕๒] ๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลาย
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ.
๑๒. นวิปากปัจจัย
[๘๕๓] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม อาศัยทัสสเนนปหา-
ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย. พึงการทำให้บริบูรณ์.
ปฏิสนธิ ไม่มี. (มี ๑๗ วาระ)
๑๓. นอาหารปัจจัย
ฯลฯ เพราะนอาหารปัจจัย
คือ พาหิรรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๑๔. นอินทรีย์ปัจจัย
ฯลฯ เพราะนอินทริยปัจจัย
คือ พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 143
๑๕. นฌานปัจจัย
ฯลฯ เพราะนฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ
พาหิรรูป.... อาหารสมุฏฐานรูป. . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๑๖. นมัคคปัจจัย
ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ
๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย ๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย
ฯลฯ เพราะนสัมปยุตตปัจจัย, เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
เหมือนกับนวิปปยุตตปัจจัย ในปัจจนียะแห่งปฏิจจวาระ ไม่มีแตกต่าง
กัน มี ๑๑ วาระ.
๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย
เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
สุทธมูลกนัย
[๘๕๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 144
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗
วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในน-
วิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย
มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในน-
สัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในโนนัตถิ-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียนัย
สุทธมูลกนัย
[๘๕๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ....ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัยมี
๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปาก-
ปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย
มี ๑๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 145
ปัจจนียานุโลม
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
สุทธมูลกนัย
[๘๕๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ... ใน
อนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสหชาตปัจจัย
มี ๕ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาเสวน-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
ในอาหารปัจจัย มี ๕ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๕ วาระ ในฌานปัจจัย มี
๕ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ใน
วิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๕
วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัจจยวาระ จบ
นิสสยวาระ เหมือนกับปัจจยวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 146
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๘๕๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒.
[๘๕๘] ๒. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เ จือกับภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒
[๘๕๙] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือ
กับเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 147
๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับโมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
[๘๖๐] ๖. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๘๖๑] ๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุ-
ธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 148
๒. อารัมมณปัจจัย
[๘๖๒] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือ
กับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา.
๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม
ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และโมหะ เจือกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๔. ฯลฯ เจือกับภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มี ๓ วาระ.
[๘๖๓] ๗. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือ
กับเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรมเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 149
๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับโมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา.
๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับโมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
[๘๖๔] ๑๐. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒ และโมหะ.
[๘๖๕] ๑๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๓. อธิปติปัจจัย
[๘๖๖] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 150
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๒. ฯลฯ เจือกับภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มี ๑ วาระ.
๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เจือเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ
เหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย
เพราะ อนันตรปัจจัย เพราะ สมนันตรปัจจัย
๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
[๘๖๗] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับทัสสเนนปหา-
ตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญ-
ปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย
เพราะอาเสวนปัจจัย เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย เพราะอาหาร-
ปัจจัย เพราะอินทริยปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะ
สัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิ
ปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 151
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๘๖๘] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑๑ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในสมนันตร-
ปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี
๑๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ ใน
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในกัมมปัจจัย
มี ๑๑ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๑ วาระ ใน
อินทริยปัจจัย มี ๑๑ วาระ. ในฌานปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในมัคคปัจจัย มี
๑๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
ในอัตถิปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑๑
วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลม จบ
ปัจจนียนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๘๖๙] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับ
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เจือกับขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 152
[๘๗๐] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับ
ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ
[๘๗๑] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เจือกับ
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุ-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๘๗๒] ฯลฯ เจือกับทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
เพราะนอธิปติปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัย.
เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะ
นอาเสวนปัจจัย เพราะนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ.
เพราะนวิปากปัจจัย เพราะนฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๘๗๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๑ วาระ
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ใน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 153
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๑๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ใน
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียะ จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๘๗๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ...ในน
ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๗ วาระ
ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียะ จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๘๗๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ... ใน
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี
๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสย-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 154
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓
วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย
มี ๒ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
สัมปยุตตวาระ
สัมปยุตตวาระ เหมือนกับสังสัฏฐวาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 155
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๘๗๖] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๘๗๗] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุ-
ปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๘๗๘] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 156
๔. ภาวนาย ฯลฯ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔-๖)
๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๑ วาระ
[๘๗๙] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๘๘๐] ๙. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๘๘๑] ๑๐. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 157
[๘๘๒] ๑๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๘๘๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนเปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะที่เป็นทัสสเนนปหา-
ตัพพเหตุกธรรม เพราะปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่
เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งทิฏฐิ เพราะปรารภทิฏฐินั้น
ราคะ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น
วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภวิจิกิจฉา วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น โทม-
นัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม โทมนัสที่
เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา
ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 158
[๘๘๔] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่
เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้วที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ฯลฯ ที่ข่มแล้ว ฯลฯ ที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม
โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโต-
ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
แก่อาวัชชนะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๘๘๕] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ฯลฯ
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น
[๘๒๖] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 159
คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะที่เป็นภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม เพราะปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสเป็นภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภอุทธัจจะ อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น, โทมนัสที่เป็นภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภโทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โทมนัสที่
เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น.
[๘๘๗] ๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งราคะที่เป็นภาวนายปหา-
ตัพพเหตุกธรรม เพราะปรารภราคะนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น โทมนัสที่เป็น
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภอุทธัจจะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น
โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภโทมนัสทีเป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โทมนัสที่
เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา
ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 160
[๘๘๘] ๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้วที่เป็นภารนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ ที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโต-
ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
แก่อาวัชชนะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๘๘๙] ๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะย่อมเกิดขึ้น.
[๘๙๐] ๘. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 161
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
[๘๙๑] ๙. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ พึงให้พิสดารเหมือนกับ ทัสสนติกะ.
ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย.
[๘๙๒] ๑๐. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน ฯ ฯ เหมือนกับ ทัสสนติกะ.
[๘๙๓] ๑๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ เหมือนกับ ทัสสนติกะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 162
[๘๙๔] ๑๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เพราะปรารภจักษุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ
โมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภ โสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
[๘๙๕] ๑๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะและโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
[๘๙๖] ๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 163
[๘๙๗] ๑๕. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ย่อมเกิด
ขึ้น.
[๘๙๘] ๑๖. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
[๘๙๙] ๑๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 164
[๙๐๐] ๑๘. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ฯลฯ
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
[๙๐๑] ๑๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ย่อม
เกิดขึ้น.
[๙๐๒] ๒๐. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 165
[๙๐๓] ๒๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
๓. อธิปติปัจจัย
[๙๐๔] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย เหมือนกับ
ทัสสนติกะ มี ๑๐ วาระ.
๔. อนันตรปัจจัย
[๙๐๕] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดหลัง ๆ
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๐๖] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 166
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
โมหะ ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๐๗] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลัง ๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
[๙๐๘] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดหลัง ๆ
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๐๙] ๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 167
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
โมหะที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๑๐] ๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลัง ๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
[๙๑๑] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดหลัง ๆ
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมที่เกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 168
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน ฯลฯ
เนวสัญญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่
ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๑๒] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๐๓] ๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้ง
หลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจ อนันตรปัจจัย.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 169
[๙๑๔] ๑๐. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้ง
หลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดหลัง ๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ
โมหะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๑๕] ๑๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดหลัง ๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๑๖] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 170
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดก่อน ๆ และโมหะ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
[๙๑๗] ๑๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดก่อน ๆ และโมหะ เป็น
ปัจจัยแก่โมหะที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๙๑๘] ๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดก่อน ๆ และโมหะ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดหลัง ๆ และโมหะ ด้วยอำนาจ
ของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 171
[๙๑๙] ๑๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
มี ๓ วาระ เหมือนกับทัสสเนนะ.
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย
[๙๒๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับ
อนันตรปัจจัย.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับสหชาต-
ปัจจัย ในปฏิจจวาระ.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับ
สหชาตปัจจัย ในปฏิจจวาระ.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับนิสสย-
ปัจจัย วาระที่ต่างกันไม่มี.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๙๒๑] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 172
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลที่เข้าไปอาศัยราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรมแล้ว ฆ่า
สัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
โมหะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ ทิฏฐิ
ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม
ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๒๒] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรมแล้ว ให้
ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
โมหะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 173
ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็น
ปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมาบัติ
และแก่โมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๒๓] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ ทิฏฐิ
ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ
โมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๒๔] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่
ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ โทสะ โมหะ มานะ
ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
แก่โทสะ แก่โมหะ แก่มานะ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจ องอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 174
[๙๒๕] ๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมแล้ว ฆ่าสัตว์
ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม โมหะ ฯลฯ
มานะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็น
ปัจจัยแก่ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม แก่โทสะ แก่โมหะ แก่ทิฏฐิ
แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ฉันทราคะในภัณฑะของตน เป็นปัจจัยแก่ฉันทราคะในภัณฑะของ
ผู้อื่น ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, ฉันทราคะในของที่ตนหวงแหน เป็น
ปัจจัยแก่ฉันทราคะในของที่คนอื่นหวงแหน ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๒๖] ๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่เนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 175
บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมแล้ว ให้
ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัย โทสะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ โมหะ
ฯลฯ มานะ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ความปรารถนา เป็นปัจจัย
แก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมาบัติ และ
โมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๒๗] ๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ด้วยอำนาจของอุป-
นิสสยปัจจัย.
[๙๒๘] ๘. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 176
ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอุป-
นิสสยปัจจัย.
[๙๒๙] ๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเป็น
ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ
โภชนะ เสนาสนะ ฯสฯ โมหะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ
ศรัทธา ฯลฯ โมหะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ผลสมาบัติ และโมหะ
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๓๐] ๑๐. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 177
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ฯลฯ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย เสนา-
สนะ ฯลฯ โมหะแล้ว ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่เป็น
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๙๓๑] ๑๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเป็น
ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ฯลฯ ก่อมานะ.
บุคคลเข้าไปอาศัยโมหะ ฯลฯ ก่อมานะ.
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ และโมหะ เป็นปัจจัย แก่ราคะที่เป็นภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 178
[๙๓๒] ๑๒. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย เสนาสนะ ฯลฯ และ
โมหะ เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๓๓] ๑๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย
ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๓๔] ๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 179
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่
เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
[๙๓๕] ๑๕. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมาบัติ และโมหะ ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๓๖] ๑๖. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 180
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้ง
หลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๓๗] ๑๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่
เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
[๙๓๘] ๑๘. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ราคะที่
เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 181
[๙๓๙] ๑๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๔๐] ๒๐. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
[๙๔๑] ๒๑. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 182
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๙๔๒] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจ
ของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ
บุคคลพิจารณาเห็น โสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง
ฯลฯ
บุคคลเห็นรูป ด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ ฟังเสียง ด้วยทิพโสตธาตุ ฯลฯ
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
และโมหะ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๙๔๓] ๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 183
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ
ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ
ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๙๔๔] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ภาวนาปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ
ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น
อุทธัจจะ โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๙๔๕] ๔. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 184
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
จักษุ ฯลฯ เพราะปรารภหทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ
โมหะ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๙๔๖] ๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย
ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
จักษุ ฯลฯ เพราะปรารภหทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะและโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 185
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๙๔๗] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่เนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เนนทัสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๙๔๘] ๒. ภาวนายปาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๙๔๙] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่
เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๙๕๐] ๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 186
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ที่เกิดภายหลัง
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๙๕๑] ๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนน-
ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ที่เกิดภายหลัง
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๙๕๒] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดหลัง ๆ
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๙๕๓] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
โมหะ ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนายของอาเสวนปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 187
[๙๕๔] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทสัสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดหลัง ๆ และโมหะ ด้วยอำนาจของ
อาเสวนปัจจัย.
[๙๕๕] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม มี ๓ วาระ
เนวทัสสเนนนภาวนาย ฯลฯ ในอาเสวนมูลกะ วุฏฐานะก็ดี
อาวัชชนะก็ดี พึงทิ้งเสีย. มี ๑๓ วาระ พึงใส่ให้เต็ม เหมือนกับอนันตรปัจจัย.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๙๕๖] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจยัแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 188
[๙๕๗] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่โมหะ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์
และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๙๕๘] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ฯลฯ
คือ เจตนาที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๙๕๙] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 189
[๙๖๐] ๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่โมหะ
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๙๖๑] ๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
คือ เจตนาที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๙๖๒] ๗. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ. ฯลฯ
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัย
แก่วิบากขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 190
๑๔. วิปากปัจจัย
[๙๖๓] ๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัย แก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจ
ของวิปากปัจจัย
คือ ทั้งปวัตติและปฏิสนธิ วิบากขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุ.
๑๕.อาหารปัจจัย
[๙๖๔] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
[๙๖๕] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัย
แก่โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
[๙๖๖] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 191
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ
ของอาหารปัจจัย
๔. ภาวนาย ฯลฯ ๓ วาระ เหมือนกับ ทัสสเนน.
[๙๖๗] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจ
ของปัจจัย
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวหายปหาตัพพเหตุกธรรม
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ
อาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ฯลฯ
๑๖. อินทริยปัจจัย
[๙๖๘] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ด้วยอำนาจของ
อินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับอาหารปัจจัย โมหะต้องนับเข้าด้วย.
ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ.
[๙๖๙] เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 192
จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ ฯลฯ
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ
อินทริยปัจจัย.
๑๗. ฌานปัจจัย ๑๘. มัคคปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของมัคคปัจจัย เหล่านี้พึงกระทำให้เป็นสเหตุกธรรม. (มี ๗ วาระ)
๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย เหมือนกับสัมปยุตต-
วาระ๑ ในปฏิจจวาระ (มี ๑๑ วาระ)
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
[๙๗๐] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปยุตต-
ปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ เหมือนกับ
ทัสสนติกะ.
๑. น่าจะเป็นสัมปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 193
[๙๗๐] ๒. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจยแก่เนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตต-
ปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ เหมือนกับ
ทัสสนติกะ.
[๙๗๒] ๓. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
เหมือนกับทัสสนติกะ.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิด
ภายหลัง และโมหะ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน.
[๙๗๓] ๔. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 194
[๙๗๔] ๕. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
ฯลฯ
[๙๗๕] ๖. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๙๗๖] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 195
[๙๗๗] ๘. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดพร้อมกัน และโมหะ เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดภายหลัง และโมหะ เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๙๗๘] ๙. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดพร้อมกัน และโมหะ เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดภายหลัง และโมหะ เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 196
๒๑.อัตถิปัจจัย
[๙๗๙] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
[๙๘๐] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่เนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดพร้อมกัน
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่
โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๙๘๑] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 197
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์
๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓. โมหะ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.
๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ.
[๙๘๒] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และ อินทริยะ
ที่เป็น สชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ของอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯสฯ โดยความเป็นของไม่
เที่ยง ฯลฯ
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 198
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ ฯลฯ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมที่เกิด
ภายหลัง และโมหะ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย.
[๙๘๓] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ
ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรมย่อมเกิดขึ้น
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 199
ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม
ย่อมเกิดขึ้น.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๙๘๔] ๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือทีเป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกะ
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๙๘๕] ๑๐. เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 200
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
เพราะปรารภจักษุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ
ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ เพราะปรารภหทัยวัตถุ ฯลฯ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
[๙๘๖] ๑๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ จิตตสมุฏ-
ฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
เพราะปรารภซึ่งจักษุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ
ย่อมเกิดขึ้น, เพราะปรารภหทยวัตถุ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 201
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และ
โมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๙๘๗] ๑๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และสหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม หทยวัตถุ และโมหะ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๙๘๘] ๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยเเก่เนวทัสสเนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ,สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ, ปัจฉาชาตะ
ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดพร้อมกัน และมหา-
ภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 202
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดพร้อมกัน และโมหะ เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดพร้อมกัน และหทัยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่โมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่เกิดภายหลัง และโมหะ เป็น
ปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และกวฬีการาหาร
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง และ
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่ กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๙๘๙] ๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 203
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดพร้อมกัน และหทัยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และโมหะ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาที่เกิดพร้อมกัน และโมหะ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และโมหะ ฯลฯ
[๙๙๐] ๑๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนาย ฯลฯ พึงแจกเป็น
๓ วาระ โดยนัยแห่งทัสสเนนะ พึงกำหนดเอาอุทธัจจะ.
๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ นัตถิปัจจัย ด้วยอำนาจของ วิคตปัจจัย
ด้วยอำนาจของ อวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๙๙๑] ในเหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสมนันตร-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 204
ปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี
๑๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ใน
ปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย
มี ๑๗ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหาร-
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัยมี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ใน
มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย
มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในวิคต-
ปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลม จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๙๙๒] ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
[๙๙๓] ๑. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 205
[๙๙๔] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๙๕] ๓. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-
นายปหาตัพพเหตุกรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๙๖] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
[๙๙๗] ๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๙๙๘] ๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนายของอุป-
นิสสยปัจจัย.
[๙๙๙] ๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 206
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสห-
ชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๐๐] ๘. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจ
ของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาต-
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๑๐๐๑] ๙. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสปุเรชาตปัจจัย.
[๑๐๐๒] ๑๐. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๐๐๓] ๑๑. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 207
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๐๐๔] ๑๒. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๐๐๕] ๑๓. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ในข้อนี้ สหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย เจือปนกันมีอยู่ พึงกระทำ
ตามในบาลี เพื่อที่จะนับ พึงใคร่คราญแล้วจึงนับ.
[๑๐๐๖] ๑๔. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรมเป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และ อินทริยะ
แม้ในข้อนี้ เพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย ก็มีอยู่ แต่
ในบาลีไม่มี เมื่อจะนับ พึงใคร่ครวญแล้วจึงนับ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 208
[๑๐๐๗ ] ๑๕. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ในข้อนี้ สหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย มีหัวข้อปัจจัยเจือปนด้วยปัจจัย
ใดมีอยู่ ปัจจัยนั้นก็พึงกระทำตามในบาลี.
[๑๐๐๘] ๑๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๐๐๙] ๑๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
แม้ในข้อนี้ สหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย มีหัวข้อนี้ปัจจัยเจือปนด้วย
ปัจจัยใดมีอยู่.
[๑๐๑๐] ๑๘. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 209
มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ
อินทริยะ
แม้ในข้อนี้ อารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ก็มี.
[๑๐๑๑] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
[๑๐๑๒] ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจ
ของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
แม้ในข้อนี้ก็มี สหชาตปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย วาระนั้นใดที่ไม่ได้
เขียนไว้ วาระเหล่านั้นเมื่อนั้นในบาลี ย่อมไม่เสมอกันโดยพยัญชนะ วาระที่
ไม่ได้เขียนไว้ให้บาลีเหล่านั้น จำนวนปรากฏแล้ว ถ้าเกิดสงสัย พึงพิจารณา
ดูในอัตถปัจจัย ในอนุโลม.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๐๑๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒๑
วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ ใน-
นสมนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอัญญ-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 210
มัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒๑ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย ๒๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๒๑ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๒๑ วาระ
ในนฌานปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนสัมปยุตต-
ปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี
๒๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ใน
โนอวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ.
ทั้งหมด พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๐๑๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๑ วาระ...
ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนส-
นันตรปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย
มี ๓ วารในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในน-
วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอินทริยปัจจัย
มี ๓ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 211
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย
มี ๑๑ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๑๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียะ จบ
ปัจจนียานุโลม
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๐๑๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ...
ในอธิปติปัจจัยมี ๑๐ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๑๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๑ วาระ
ในนิสสปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑วาระ ในปุเรชาต
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑๗
วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัยมี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย
มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ใน-
มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย
มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ใน-
วิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ที่ ๙ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 212
อรรถกถาทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ
ใน ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ผู้ศึกษาพึงทราบการจำแนก
ธรรมที่มีเหตุอันพึงละด้วยทัสสนะ โดยนัยที่ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถากัณฑ์ (ใน
ธัมมสังคณีบาลี) โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและอุทธัจจะ จัดเข้าในหมวดที่ ๓
เพราะไม่มีเหตุ. ในอธิการนี้ธรรมเหล่าใดมีเหตุที่พึงละด้วยทัสสนะและภาวนา
ดังกล่าวมาแล้วนั้น ธรรมเหล่านั้นชื่อว่ามีเหตุที่พึงละ. ธรรมเหล่าใดไม่มีเหตุ
ธรรมเหล่านั้นชื่อว่าไม่มีเหตุที่พึงละด้วยทัสสนะและภาวนา ผู้ศึกษาพึงทราบ
วิภาคแห่ง ปหาตัพพเหตุกธรรม และ นปหาตัพพเหตุกธรรม ดังนี้แล้ว
พึงทราบคำที่เหลือ ตามแนวแห่งลักษณะที่แสดงไว้ในทัสสเนนปหาตัพพติกะ
และกุสลติกะ.
อรรถกถาทัสสเนนปหาตัพพเหตุติกะ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 213
๑๐. อาจยคามิติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๐๑๖] ๑. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒.
๒. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม
๓. อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม
อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิ-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.
[๑๐๑๗] ๔. อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 214
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอปจยคามิธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒.
๕. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม
๖. อปจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอปจยคามิธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒.
[๑๐๑๘] ๗. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามิ-
นาปจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินา-
ปจยคามิธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจย-
คามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ.
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯมหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 215
[๑๐๑๙] ๘. เนวาจยคมินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิ-
ธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูต-
รูปทั้งหลาย.
๙. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิ-
ธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอปจยคามิธรรม และมหาภูต-
รูปทั้งหลาย.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๐๒๐] ๑. อาจยคามิธรรม อาศัจอาจยคมิธรรม เกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๐๒๑] ๒. อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอปจยคามิธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๐๒๒] ๓. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามิ-
นาปจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 216
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๐๒๓] ๔. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระ ๑ - ๓)
๔. อปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓
วาระ (วาระ๔- ๖)
๗. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัย เนวาจยคามิ-
นาปจยคามิธรรม ฯลฯ มี ๑ วาระ ปฏิสนธิ ไม่มี.
คือ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็น
อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๘. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม
และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอปจยคามิธรรม และมหาภูต-
รูปทั้งหลาย.
๙. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิ-
ธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์เป็นอปจยคามิธรรม และมหา-
ภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 217
๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
[๑๐๒๔] อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะ
อนันตรปัจจัย เพราะ สมนันตรปัจจัย เพราะ สหชาตปัจจัย พึง
กระทำมหาภูตรูปทั้งหมด.
เพราะ อัญญมัญญปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูปก็ดี กฏัตตารูปก็ดี
อุปาทารูปก็ดี ไม่มี.
เพราะ นิสสยปัจจัย เพราะ อุปนิสสยปัจจัย เพราะ ปุเรชาต-
ปัจจัย เพราะ อาเสวนปัจจัย เพราะ กัมมปัจจัย เพราะ วิปากปัจจัย
เพราะ อาหารปัจจัย เพราะ อินทริยปัจจัย เพราะ ฌานปัจจัย เพราะ
มัคคปัจจัย เพราะ สัมปยุตตปัจจัย เพราะ วิปปยุตตปัจจัย เพราะ
อัตถิปัจจัย เพราะ นัตถิปัจจัย เพราะ วิคตปัจจัย เพราะ อิวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๐๒๕] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปาก
ปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ
ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 218
๓ วาระ ในวิปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิ
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลม จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๐๒๖] ๑. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
[๑๐๒๗] ๒. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามิ-
นาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามิ-
นาปจยคามิธรรม ซึ่งเป็นเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย
อาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป .. .อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 219
๑. นอารัมมณปัจจัย
[๑๐๒๘] ๑. เนวาจยคมินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิ-
ธรรม ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม.
๒. เนวายคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิ-
ธรรม ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม.
[๑๐๒๙] ๓. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามิ-
นาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป . . . อาหารสมุฏฐานรูป . . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
[๑๐๓๐] ๔. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจคามิ-
ธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรม และ.มหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 220
[๑๐๓๑] ๕. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิ-
ธรรม และเนวาจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอปจยคามิธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
๓. นอธิปติปัจจัย
[๑๐๓๒] ๑. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
๔. อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจย-
คามิธรรม.
๕. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามิ-
นาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินา-
ปจยคามิธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัย
หทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป ... ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 221
[๑๐๓๓] ๔. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิ-
ธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๙. นปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๐๓๔] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม
ฯลฯ เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญ-
มัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย
มี ๗ วาระ เหมือนกับ กุสลติกะ.
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย (มี ๙ วาระ)
๑๐. นอาเสวนปัจจัย
[๑๐๓๕] ๑. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓)
๔. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม.
๕. เนวจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวจยคามิ-
นาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย
มี ๑ วาระ พึงกระทำมหาภูตรูปทั้งหมด.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 222
[๑๐๓๖] ๖. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิ-
ธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
๗. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิ-
ธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวน-
ปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอปจยคามิธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
๑๑. นกัมมปัจจัย
[๑๐๓๗] ๑. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิ-
ธรรม.
๒. อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม ฯลฯ
เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิ-
ธรรม.
๓. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคา-
มินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 223
คือ เจตนาที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่
เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม.
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหา-
ภูตรูป ๑ ฯลฯ
๑๒. นวิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย
[๑๐๓๘] ๑. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะนวิปากปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม. ปฏิสนธิ ไม่มี ฯลฯ.
เพราะนอาหารปัจจัย เพราะนอินทริยปัจจัย เพราะนณาน-
ปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ.
เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๐๓๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 224
มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ
ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี
๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วานะ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ใน
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๐๔๐] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี
๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 225
ปัจจนียานุโลม
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๐๔๑] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ...ใน
อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย
มี ๒ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ใน
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๒
วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ ในอินทริย-
ปัจจัย มี ๒ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัตถิปัจจัย
มี ๒ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอวิคต-
ปัจจัย มี ๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปฏิจจวาระ จบ
สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๐๔๒] ๑. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 226
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒.
๒. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิ-
ธรรม ฯลฯ เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม
๓. อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม
อาศัยอาจยคามิธรรม
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิ-
ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
๔. อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม มี ๓ วาระ.
[๑๐๔๓] ๗. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคา-
มินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามิ
นาปจยคามิธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย
หทยวัตถุ.
ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยหทยวัตถุ
๘. อาจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิ
ธรรม ฯลฯ เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 227
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๙. อปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๑๐. อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม
อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรมอาศัยหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๑๑. อปจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิ
ธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๑๐๔๔] ๑๒. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และ
เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
๑๓. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิ-
ธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 228
๑๔. อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวจยคามินาปจยคามิธรรม เกิด
ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
๑๕. อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม และ
เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ (รวมเป็น ๑๗ วาระ)
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๐๔๕] ๑. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจคามิธรรม
๒. ฯลฯ อาศัยอปจยคามิธรรม มี ๑ วาระ
[๑๐๔๖] ๓. เนวจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคา-
มินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 229
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๔. อาจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามิาปจยคามิ-
ธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๕. อปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
[๑๐๔๗] ๖. อาจยคามิธรรม อาศัจอาจยคามิธรรม และ
เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๐๔๘] ๗. อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม และ
เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอปจยคามิธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 230
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๐๔๙] ๑. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ อาศัยอปจยคามิธรรม มี ๓ วาระ.
๗. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคมิธรรม ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๘. อาจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม ฯลฯ
แม้ในข้อนี้ ปัจจัยสงเคราะห์ก็เหมือนกับเหตุปัจจัย.
๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๖. สหชาตปัจจัย
[๑๐๕๐] ๑. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะอนันตรปัจจัย, เพราะ สมนันตรปัจจัย , เพราะ สหชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ.
๔. อปจยคามิธรรม มี ๓ วาระ.
๗. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคา-
มินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามิ-
นาปจยคามิธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 231
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ
ฯลฯ อาศัยหทยวัตถุ.
๘. อาจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิ
ธรรม ฯลฯ เพราะสหชาตปัจจัย ฯลฯ
พึงกระทำปัจจัยสงเคราะห์ทั้งหลาย.
๗. อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
[๑๐๕๑] ฯลฯ อาศัยอปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะ อัญญมัญญ-
ปัจจัย, เพราะ นิสสยปัจจัย เพราะ อุปนิสสยปัจจัย, เพราะ ปุเรชาต-
ปัจจัย, เพรา ะ อาเสวนปัจจัย, เพราะ กัมมปัจจัย, เพราะ วิปากปัจจัย,
เพราะ อาหารปัจจัย เพราะ อินทริยปัจจัย, เพราะ ฌานปัจจัย, เพราะ
มัคคปัจจัย, เพราะ สัมปยุตตปัจจัย เพราะ วิปปยุตตปัจจัย, เพราะ
อัตถิปัจจัย เพราะ นัตถิปัจจัย, เพราะ วิคตปัจจัย เพราะ อวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๐๕๒] ในเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
ในอิธปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย ๗ วาระ ใน
นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ ใน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 232
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย ใน
ฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย (แต่ละปัจจัย) มี ๑๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๗
วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนัตถิ
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๐๕๓] ๑. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๒. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามิ-
นาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ เป็นเนวาจยคามินา
ปจยคามิธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ อาศัยมหา-
ภูตรูป ๑. ฯลฯ
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายาตนะ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 233
๓. อาจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม ฯลฯ เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทย-
วัตถุ
[๑๐๕๔] ๔. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และ
เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์
ที่หลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและหทยวัตถุ.
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๑๐๕๕] ๑. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิ-
ธรรม ฯลฯ เพราะนอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.
๓. นอธิปติปัจจัย
[๑๐๕๖] ๑. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ.
๔. อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม ฯลฯ
เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อปจยคามิธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 234
๕. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
คือ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ
กายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยหทย-
วัตถุ.
๖. อาจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจคามิธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๗. อปจยคามิธรรม อาศัยเนวจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๘. อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม อาศัยเนวจายคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยหทยวัตถุ, จิตตสมุฏฐาน-
รูปอาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๑๐๕๗] ๙. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และ
เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๑๐. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิ-
ธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 235
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
๑๑. อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
[๑๐๕๘] ๑๒. อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม และ
เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อปจยคามิธรรม และหทยวัตถุ.
๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๙. นปัจฉาชาตปัจจัย
เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญ-
มัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เหมือน
กับปฏิจจวาระ มี ๗ วาระ.
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม.
๑๐. นอาเสวนปัจจัย
[๑๐๕๙] ๑. อายคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะ
นอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 236
๔. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิ-
ธรรม ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม.
๕. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามิ-
นาปจยคามิธรรม ฯลฯ
คือ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ อาศัยจักขายตนะ อาศัยหทย-
วัตถุ.
๖. อาจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๗. อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยหทยวัตถุ จิตตสมุฏฐาน-
รูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๑๐๖๐] ๘. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวา-
จยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๙. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิ-
ธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 237
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
๑๐. อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
๑๑. เนวาจยคามินาปจยาคามิธรรม อาศัยอปจยคามิ-
ธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอปจยคามิธรรม และมหา-
ภูตรูปทั้งหลาย.
๑๑. นกัมมปัจจัย
[๑๐๖๑] ๑. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิ-
ธรรม.
๒. อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม ฯลฯ
เพราะนกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 238
คือ เจตนาที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิ-
ธรรม.
๓. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามิ-
นาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่
เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม.
พาหิรรูป. .. อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
เจตนาที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๔. อาจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๕. อปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
[๑๐๖๒] ๖. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม และเนวา-
จยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอาจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิ-
ธรรม และหทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 239
[๑๐๖๓] ๗. อปจยคามิธรรม อาศัยอปจยคามิธรรม และ
เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอปจยคามิธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิ-
ธรรม และหทยวัตถุ.
๑๒. นวิปากปัจจัย
[๑๐๖๔] ๑. อาจยคามิธรรม อาศัยอาจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะ
นวิปากปัจจัย
พึงกระทำให้เต็ม (๑๗ วาระ) ในปฏิสนธิขณะ ไม่มี.
๑๓. นอาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๖. นมัคคปัจจัย
[๑๐๖๕] ๑. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม อาศัยเนวาจยคามิ-
นาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนอาหารปัจจัย
คือ พาหิรรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
[๑๐๖๖] ฯลฯ เพราะนอินทริยปัจจัย
คือ พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๑๐๖๗] ฯลฯ เพราะนฌานปัจจัย
คือ ปัญจวิญญาณ... พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป ... อุตุ-
สมุฏฐานรูป ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 240
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ
[๑๐๖๘] ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย
คือ เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ อาศัยกายายตนะ.
เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.
๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย
ฯลฯ เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย เหมือน
กับปฏิจจวาระ มี ๓ วาระ.
เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๐๖๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาร ในนวิปากปัจจัย
มี ๑๗ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 241
ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย
มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียะ จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
[๑๐๗๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ...ในน
อธิปติปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัยมี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
โนนอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๑๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียะ จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๐๗๑] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ...ใน
อนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 242
มี ๔ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ
ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ โนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอาเสวนปัจจัย
มี ๔ วาระ โนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหาร-
ปัจจัย มี ๔ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๔ วาระ
ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย
มี ๔ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคต-
ปัจจัย มี ๔ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัจจยวาระ จบบริบูรณ์
นิสสยวาระ เหมือนกับ ปัจจยวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 243
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๐๗๒] อาจยคามิธรรม เจือกับอาจคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๒.
[๑๐๗๓] อปจยคามิธรรม เจือกับอปจยคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอปจยคามิธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๐๗๔] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เจือกับ เนวาจยคา-
มินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๐๗๕] อาจยคามิธรรม เจือกับอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะ อารัมมณปัจจัย เพราะ อธิปติปัจจัย เพราะ อนันตรปัจจัย
เพราะ สมนันตรปัจจัย เพราะ สหชาติปัจจัย เพราะ อัญญมัญญปัจจัย
เพราะ นิสสยปัจจัย เพราะ อุปนิสสยปัจจัย เพราะ ปุเรชาตปัจจัย
เพราะ อาเสวนปัจจัย เพราะ กัมมปัจจัย เพราะ วิปากปัจจัย เพราะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 244
อาหารปัจจัย เพราะ อินทริยปัจจัย เพราะ ฌานปัจจัย เพราะ มัคค-
ปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะ อัตถิ-
ปัจจัย เพราะ นัตถิปัจจัย เพราะ วิคตปัจจัย เพราะ อวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๐๗๖] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปาก-
ปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ
ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี
๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิ-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๐๗๗] อาจยคามิธรรม เจือกับอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 245
คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เจือกับ
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
[๑๐๗๘] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เจือกับเนวาจยคา-
มินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ซึ่ง
เป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๕. นอาเสวนปัจจัย
[๑๐๗๙] ๑. อาจยคามิธรรม เจือกับอาจยคามิธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย
เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๐๘๐] ๒. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เจือกับเนวาจยคา
มินาปจยคามิธรรม ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๖. นกัมมปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย
เพราะนกัมมปัจจัย เพราะนวิปากปัจจัย เพราะนฌานปัจจัย
เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนวิปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 246
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๐๘๑] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๐๘๒] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ...ในน-
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย
มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิป-
ปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๐๘๓] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ... ใน
อนันตรปัจจัย ในสมนันตรปัจจัยในสหชาตปัจจัย ในอัญญมัญญปัจจัย ในนิสสย-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 247
ปัจจัย ในอุปนิสสยปัจจัย ในปุเรชาตปัจจัย ในอาเสวนปัจจัย ในกัมมปัจจัย
แต่ละปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๒
วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๒ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในมัคคปัจจัย
มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย ในอัตถิปัจจัย
ในนัตถิปัจจัย ในวิคตปัจจัย ในอวิคตปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
สังสัฏฐวาระ จบ
สัมปยุตตวาระเหมือนกับสังสัฏฐวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 248
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๐๘๔] ๑. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๐๘๕] ๒. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจย-
คามิธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๐๘๖] ๓. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม และ
เนวาจยคามิยนาปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของปัจจัย.
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอาจคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๐๘๗] ๔. อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔ ๕ ๖)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 249
[๑๐๘๘] ๗. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวา-
จยคามินาปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
เหตุทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๐๘๙] ๑. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล การทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมพิจารณา
กุศลกรรมนั้น.
บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.
บุคคลออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌาน.
พระเสกขบุคคลทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว, พิจารณากิเลสที่ข่ม
แล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.
พระเสกขบุคคล หรือ ปุถุชน พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อาจยคานิธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, ย่อมยินดี
ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ
วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 250
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอาจยคามิธรรม ด้วย
เจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายคนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตกุศล ด้วยอำ-
นาจของอารัมมณปัจจัย.
อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญาตนกุศล.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิญาณ แก่
เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตตัง-
สญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๐๙๐] ๒. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินา-
ปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอรหันต์พิจารณากิเลสที่ละแล้ว, รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิด
ขึ้นแล้วในกาลก่อน.
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม โดยความเป็น
ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนันตตา.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอาจยคามิธรรม ด้วย
เจโตปริยญาณ.
พระเสกขบุคคล หรือ ปุถุชน พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อาจยคามิธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เมื่อกุศล
ดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตที่เป็นวิบากย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 251
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิ-
ธรรม เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น
เมื่ออกุศลดับไปแล้ว ตารัมมณจิตที่เป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนวิบาก และ
กิริยา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก
กิริยา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโคปริยญาณ แก่
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๐๙๑] ๓. อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระเสกขบุคคลทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว ย่อมพิจารณามรรค.
บุคคลย่อมรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอปจยคามิธรรม
ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๐๙๒] ๔. อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจย-
คามิธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 252
คือ พระอรหันต์ออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค.
บุคคลย่อมรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอปจยคามิธรรม
ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
[๑๐๙๓] ๕. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่
เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
คือ พระอรหันต์พิจารณาผล พิจารณานิพพาน.
พระอรหันต์พิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา.
พิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคา-
มินาปจยคามิธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.
ย่อมเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนกิริยา เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนกิริยา ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย.
อากิญจัญญายตนกิริยา เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญายาตนกิริยา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 253
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิ-
วิญญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ
แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๐๙๔] ๖. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่
อาจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
คือ พระเสกขบุคคลทั้งหลายพิจารณาผล พิจารณานิพพาน.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย
พระเสกขบุคคล หรือ ปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็น
ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ
ปรารภจักษุนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
พิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะ
ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัส ฯลฯ
เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
ย่อมรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นเนวาจยคามินาปจย-
คามิธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 254
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิ
วิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๐๙๕] ๗. เนวาจยคามินาปจตยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่
อปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๐๙๖] ๑. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศลกรรม
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
บุคคลกระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
บุคคลออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
พิจารณา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 255
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อาจยคามิธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๐๙๗] ๒. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินา-
ปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอาจคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้ง
หลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๐๙๘] ๓. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม
และเนวาจยคามินาปจยคามธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
มีอย่างเดียว คือเป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
[๑๐๙๙] ๔. อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 256
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๑๐๐] ๕. อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระเสขบุคคลทั้งหลายออกจากมรรค กระทำธรรมให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๑๐๑] ๖. อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินา-
ปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอรหันต์ออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
แล้ว พิจารณา.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 257
[๑๑๐๒] ๗. อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม
และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมเป็นอปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจชองอธิปติปัจจัย.
[๑๑๐๓] ๘. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวา-
จยคามินาปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอรหันต์กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา,
กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมป-
ยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๑๐๔] ๙. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่
อาจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 258
พระเสกขบุคคลทั้งหลาย กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
พิจารณา, กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน ด้วยอำนาจของอธิปติ-
ปัจจัย.
บุคคลการทำจักษุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อม
เพลิดเพลิน ฯลฯ
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำหทยวัตถุ ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อม
เกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๑๐๕] ๑๐. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่
อปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย ฯลฯ เป็น
ปัจจัย ฯลฯ
๔. อนันตรปัจจัย
[๑๑๐๖] ๑. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 259
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแกโคตรภู, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๑๐๗] ๒. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม ฯลฯ
คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๑๐๘] ๓. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินา-
ปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลมของพระเสกขบุคคล เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ, เนวสัญญานา-
สัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจ
ของอนันตรปัจจัย.
[๑๑๐๙] ๔. อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินา-
ปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 260
[๑๑๑๐] ๕. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวา-
จยคามินาปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ที่เกิดก่อน ๆ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดหลัง ๆ, ภวังค์ เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ, กิริยา
เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ, อนุโลมของพระอรหันต์ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ,
เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยา ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผล-
สมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๑๑๑] ๖. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่
อาจยคามิธรรม ฯลฯ
คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย
[๑๑๑๒] ๑. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย (คือ ๖ วาระ).
๖. สหชาตปัจจัย
ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ เหมือนกับสหชาตปัจจัยในปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 261
๗. อัญญมัญญปัจจัย
ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับอัญญมัญญปัจจัยใน
ปฏิจจวาระ.
๘. นิสสยปัจจัย
ในนิสสยปัจจัย เหมือนกับนิสสยปัจจัยในปัจจัยวาระ แม้ทั้ง ๔
ปัจจัย ปัจจัยสงเคราะห์ที่ต่างกันไม่มี มี ๑๓ วาระ.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๑๑๓] ๑. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ.
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอาจยคามิธรรมแล้ว ให้ทาน รักษาศีล
ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ฌาน ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อ
มานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอาจยาคามิธรรม ฯลฯ สุตะ จาคะ ปัญญา
ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทานรักษาศีล
ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ฌาน ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติ ฯลฯ
ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 262
ศรัทธาที่เป็นอาจยคามิธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอาจยคามิธรรม แก่ปัญญา แก่ราคะ ฯลฯ แก่ความ
ปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
บริกรรมแห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ด้วยอำนาจของอุป-
นิสสยปัจจัย ฯสฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนว-
สัญญานาสัญญานะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัย
แก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๑๔] ๒. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ฯลฯ บริกรรมแห่ง
จตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ฯลฯ บริกรรมแห่ง
[๑๑๑๕] ๓. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจย-
คามธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 263
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นอาจยคามีธรรม แล้วกระทำคนให้
เดือดร้อน ให้เร่าร้อน ย่อมได้รับทุกข์ มีการแสวงหาเป็นมูล.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอาจยคามิธรรม ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความ
ปรารถนา แล้วกระทำคนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน ย่อมได้รับทุกข์ มีการแสวง
หาเป็นมูล.
ศรัทธาที่เป็นอาจยคามิธรรม ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ ราคะ ฯลฯ ความ
ปรารถนา เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
กุศลกรรมและอกุศลกรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๑๖] ๔. อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่
จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๑๗] ๕. อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม ฯลฯ
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 264
พระเสกขบุคคลทั้งหลาย เข้าไปอาศัยมรรคแล้ว ยังกุศลสมาบัติที่ยังไม่
เกิดให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว.
บุคคลพิจารณาเห็นสังขาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา.
มรรคของพระเสกบุคคล เป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา แก่ธัมมปฏิ-
สัมภิทา แก่นิรุตติปฏิสัมภิทา แก่ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ความฉลาดในฐานะและ
อฐานะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๑๘] ๖. อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจย-
คามิธรรม ฯลฯ
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอรหันต์เข้าไปอาศัยมรรคแล้วยังกิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิดขึ้นให้เกิด
ขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ฐานาฐานโกสัลละ ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๑๙] ๗. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวา-
จยคามินาปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 265
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยสุขทางกาย แล้วกระทำตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน
ย่อมได้รับทุกข์ มีการแสวงหาเป็นมูล.
บุคคลเข้าไปอาศัยทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ
แล้วกระทำตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน.
สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ
เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
พระอรหันต์เข้าไปอาศัยสุขทางกายแล้ว ยังกิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิด
ให้เกิดขึ้น ฯลฯ ย่อมเห็นแจ้ง ฯลฯ เข้าไปอาศัยทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ
ฯลฯ เสนาสนะ ฯลฯ ย่อมเห็นแจ้ง ฯลฯ.
[๑๑๒๐] ๘. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจย-
คามิธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่างที่เป็นคือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยสุขทางกายแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่า
สัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
บุคคลเข้าไปอาศัยทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ
แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 266
สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอาจยคามิธรรม
แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
[๑๑๒๑] ๙. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจย-
คามิธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยสุขทางกายแล้วยังมรรคให้เกิดขึ้น.
สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่มรรค
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๑๑๒๒] ๑. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวา-
จยคามินาปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
พระอรหันต์พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่
เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.
เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 267
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขาตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่
การวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๑๒๓] ๒. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจย-
คามิธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
พระเสกขบุคคลหรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดย
ความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง
เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม ด้วยอำนาจ
ของปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 268
[๑๑๒๔] ๓. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่
อปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
คือ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๑๒๕] ๑. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจย-
คามิธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๑๒๖] ๒. อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจคามินาปจย-
คามิธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๑๒๗] ๓. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
จยคามินาปจยามิธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยมิธรรม ที่เกิดภายหลัง
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 269
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๑๑๒๘] ๑. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๑๑๒๙] ๒. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วย
อำนาจของเสวนปัจจัย
[๑๑๓๐] ๓. เนวาจคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวา-
จยคามินาปจยมิธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๑๑๓๑] ๑. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 270
คือ เจตนาที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
[๑๑๓๒] ๒. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยาคามินา-
ปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสุมฏฐานรูปทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์และกฏัตตารูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๑๓๓] ๓. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม
และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
คือ เจตนาที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๑๓๔] ๔. อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยอปจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 271
คือ เจตนาที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
[๑๑๓๕] ๕. อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินา-
ปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๑๓๖] ๖. อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม
และเนวาจยคามินาปจยมิธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๑๓๗] ๗. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวา-
จยคามินาปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นเนวจยคามินาปจยมิธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 272
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นเนวาจยคามินาปจยธรรม เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๑๔. วิปากปัจจัย
[๑๑๓๘] ๑. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวา-
จยคามินาปจยมิธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามินาปจยมิธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจ
ของวิปากปัจจัย.
๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
[๑๑๓๙] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม ด้วย
อำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคค-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
[๑๑๔๐] ๑. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจย-
คามิธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 273
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๑๔๑] ๒. อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจ-
ยคามิธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๑๔๒] ๓. เนวจคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวา-
จยคามินาปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 274
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามิธรรม เป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย,
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปตยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขาตะที่เกิดก่อน ฯลฯ กายายตนะที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่กาย-
วิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินามิธรรมที่เกิดภายหลัง เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน.
[๑๑๔๓] ๔. เนวจยคามิปจยมิธรรม เป็นปัจจัยแก่
อาจยามิธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 275
หทยวัตถุที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๑๔๔] ๕. เนวาจยคามินาปจยมิธรรม เป็นปัจจัยแก่
อปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๑๑๔๕] ๑. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ
[๑๑๔๖] ๒. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินา-
ปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 276
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๑๔๗] ๓. อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม
และเนวาจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๔. อปจยคามิธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔-๕-๖-)
พึงกระทำโดยนัยแห่งอาจยคามิธรรม.
[๑๑๔๘] ๗. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่
เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจ-
ของอัตถิปัจจัย, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 277
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐาน... อุตุสมุฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
พระอรหันต์พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่
เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.
เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวาจยคามินาปจยคามิธรรมที่เกิดภายหลัง เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้.
รูปชีวิตนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย.
[๑๑๔๙] ๘. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจย-
คามิธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 278
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
พระเสกขบุคคล หรือปุถุชนพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่
เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภ
จักษุนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลพิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง
ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อม
เกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ.
ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอายคามิธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย.
[๑๑๕๐] ๙. เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่
อปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๑๕๑] ๑๐. อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรมเป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 279
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอาจยคามิธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๑๕๒] ๑๑. อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรมและกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจคามิธรรมและรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 280
[๑๑๕๓] ๑๒. อปจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิ-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พึงกระทำเป็น ๒ วาระตามนัยที่ได้แสดงมาแล้ว.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของวิคตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๑๑๕๔] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๖ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗
วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย
มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
ในอัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๖
วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
อนุโลมนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 281
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๑๑๕๕] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๕๖] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๕๗] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจย-
คามิธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๑๕๘] อาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรมและ
เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๑๕๙] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๖๐] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๖๑] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจย-
คามิธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาของ
สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 282
[๑๑๖๒] อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม และ
เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๑๖๓] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจย-
คามินาปจยคามิธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๑๑๖๔] เนวาจคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคา-
มิธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๑๖๕] เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อปจย-
คามิธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปุเรชาตปัจจัย.
[๑๑๖๖] อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม
เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม ฯลฯ
มี อย่างเดียวคือ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
[๑๑๖๗] อาจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยมิธรรม
เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และ
รวมกับ อินทริยะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 283
[๑๑๖๘] อปจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม
เป็นปัจจัยแก่อปจยคามิธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
[๑๑๖๙] อปจยคามิธรรม และเนวาจยคามินาปจยคามิธรรม
เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจยคามิธรรม ฯลฯ
มี ๓ อย่างเดียว คือ สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๑๗๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย ในน
อธิปติปัจจัย ในนอนันตรปัจจัย ในนสมนันตรปัจจัย แต่ละปัจจัยมี ๑๕ วาระ
ในนสหาชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนนิสสย-
ปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๓
วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย ในนกัมมปัจจัย
ในนวิปากปัจจัย ในนอาหารปัจจัย ในนอินทริยปัจจัย ในนฌานปัจจัย ในน-
มัคคปัจจัย แต่ละปัจจัยมี ๑๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนวิป-
ปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๑๕
วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๑๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 284
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๑๗๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ... ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในน-
สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
มี ๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย ในนปัจฉาชาตปัจจัย ในนอาเสวนปัจจัย ในน-
กัมมปัจจัย ในนวิปากปัจจัย ในนอาหารปัจจัย ในอินทริยปัจจัย ในฌาน-
ปัจจัย ในนมัคคปัจจัย แต่ละปัจจัยมี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนันตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย
มี ๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๑๗๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ...
ในอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๖ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 285
ในกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗
วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย
มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
ในอัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๖
วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
อาจยคามิติกะ ที่ ๑๐ จบ
อรรถกถาอาจยคามิติกะ
อนุโลมปัฏฐานในปฏิจจวาระ และสังสัฏฐวาระ ใน อาจยคามิติกะ
เหมือนกับในกุศลติกะ คำที่เหลือท่านอธิบายไปตามบาลีนั่นเอง ทั้งโดยวิสัชนา
และการนับ.
อรรถกถาอาจยคามิติกะ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 286
๑๐. เสกขติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๑๗๓] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๒. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกธรรม เกิด
ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกธรรม.
๓. เสกขธรรม และเนวเสกขธรรม อาศัย
เสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
[๑๑๗๔] ๔. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเสกขธรรม ฯลฯ
๕. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 287
๖. อเสกขธรรม และเนวเสกขานาธรรม อาศัย
อเสกขธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเสกขธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๑๗๕] ๗. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานา-
เสกขธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานา-
เสกขธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานา-
เสกขธรรม. ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ. มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑
ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒. จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็น
อุปาทานรูปอาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๑๑๗๖] ๘. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และ
เนวเสกขานาเสกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเสกธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย
[๑๑๗๗] ๙. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม
และเนวเสกขานาเสกธรรม เกิดขึ้น เพระเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 288
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอเสกขธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
๒. อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๑๑. อาเสวนปัจจัย
[๑๑๗๘] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย, เพราะ อธิปติปัจจัย ปฏิสนธิ ไม่มี.
เพราะ อนันตรปัจจัย เพราะ สมนันตรปัจจัย เพราะ สห-
ชาตปัจจัย พึงกระทำมหาภูตรูปทั้งหมด.
เพราะ อัญญมัญญปัจจัย เพราะ นิสสยปัจจัย เพราะ อุป-
นิสสยปัจจัย เพราะ ปุเรชาตปัจจัย เพราะ อาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๑๗๙] ๒. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานา-
เสกขธรรม ฯลฯ เพราะอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒
ฯลฯ
๑๒. กัมมปัจจัย ๑๓. วิปากปัจจัย
เพราะ กัมมปัจจัย เพราะ วิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ ขันธ์
๒ ฯลฯ มี ๓ วาระ พึงใส่ให้เต็ม. (๓ วาระเหมือนข้อ ๑๑๗๓)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 289
[๑๑๘๐] ๔. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ
วิปากปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเสกขธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ (เหมือน
ข้อ ๑๑๗๔)
[๑๑๘๑] ๗. เนวเสกขาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานา-
เสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานา-
เสกขธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย
หทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
[๑๑๘๒] ๘. เนวเสกขานาเสกธรรม อาศัยเสกขธรรม และ
เนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเสกขธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๑๑๘๓] ๙. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม และ
เนวเสกขานาเสกธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 290
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอเสกขธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
๑๔. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
[๑๑๘๔] เสกขธรรม อาศัยธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะอาหาร-
ปัจจัย เพราะ อินทริยปัจจัย เพราะ ฌานปัจจัย เพราะ มัคคปัจจัย
เพราะ สัมปยุตตปัจจัย เพราะ วิปปยุตตปัจจัย เพราะ อัตถิปัจจัย
เพราะ นัตถิปัจจัย เพราะ วิคตปัจจัย เพราะ อวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๑๗๕] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ใน-
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙
วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในวิปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ใน-
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 291
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๑๘๖] ๑. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานา-
เสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานา-
เสกขธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย
อาศัยหทยวัตถุ.
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุ-
สมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้ง-
หลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๑๑๘๗] ๑. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม.
[๑๑๘๘] ๒. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 292
[๑๑๘๙] ๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานา-
เสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกข-
ธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย.
มหาภูตรูป ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
[๑๑๙๐] ๔. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกธรรม และ
เนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเสกขธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
[๑๑๙๑] ๕. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยอเสกธรรม และ
เนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอเสกขธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
๓. นอธิปติปัจจัย
[๑๑๙๒] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ เพราะน-
อธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 293
คือ อธิปติธรรมที่เป็นเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม.
๒. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม ฯลฯ เพราะน
อธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกข-
ธรรม.
๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานา-
เสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม.
ปฏิสนธิก็ดี มหาภูตรูปทั้งหลายก็ดี พึงกระทำทั้งหมด.
๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๙. นปัจฉาชาตปัจจัย
เพราะนอันนตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะน
อัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย (ทั้ง ๔ ปัจจัย มี ๕ วาระ)
เพราะนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ เหมือนกับกุศลติกะ.
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ (มี ๙ วาระ)
๑๐. นอาเสวนปัจจัย
[๑๑๙๓] ๑. เสกขธรรมอาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะน-
อาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ซึ่งเป็นวิปาก ฯลฯ ขันธ์
๒ ฯลฯ
๒. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 294
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม.
๓. เสกขธรรม และเนวเสขานาเสกขธรรม อาศัย
เสกขธรรม ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรมซึ่ง
เป็นวิบาก ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๔. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม เกิดขึ้น มี ๓
วาระ (วาระที่ ๔-๕-๖)
๗. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานา-
เสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ พึงใส่ให้เต็ม.
๘. ฯลฯ อาศัยเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกข-
ธรรม เกิดขึ้น ปัจจัยสงเคราะห์พึงใส่ให้เต็มแม้ทั้ง ๒ วาระ รวมเป็น ๙ วาระ.
๑๑. นกัมมปัจจัย
[๑๑๙๔] ๑. ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม.
๒. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานา-
เสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นเนวเสกขนาเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
เนวเสกขานาเสกขธรรม.
พาหิรรูป...อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป
๑ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 295
๑๒. นวิปากปัจจัย
[๑๑๙๕] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะน-
วิปากปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม.
๒. เนวาเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม.
๓. เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัย
เสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ฯลฯ
[๑๑๙๖] ๔. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานา-
เสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม ปฏิสนธิไม่มี.
[๑๑๙๗] ๕. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และ
เนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเสกขธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 296
๑๓. นอาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๖. นมัคคปัจจัย
[๑๑๙๘] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกข-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาหารปัจจัย เพราะนอินทริยปัจจัย เพราะ
นฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย (ทุกปัจจัย มี ๑ วาระ)
๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย
๑. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนสัมปยุตตปัจจัย (มี ๕ วาระ)
๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย
[๑๑๙๙] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะน-
วิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ฯลฯ.
๒. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอเสกขธรรม ฯลฯ.
๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานา-
เสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรมฯลฯ.
พาหิรรูป...อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 297
๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย
เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๒๐๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย ในนสมนันตรปัจจัย ในน-
อัญญมัญญปัจจัย ในนอุปนิสสยปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาต
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑
วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคค-
ปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑
๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำวนววาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๒๐๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ...
ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย ในนสมนันตรปัจจัย ในน-
อัญญมัญญปัจจัย ในนอุปนิสสยปัจจัย แต่ละปัจจัย มี๕วาระ ในนปุเรชาติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 298
มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ
ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย
มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลม
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๒๐๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ... ใน
อนันตรปัจจัย ในสมนันตรปัจจัย ในสหชาตปัจจัย ในอัญญมัญญปัจจัย ใน
นิสสยปัจจัย ในอุปนิสสยปัจจัย ในปุเรชาตปัจจัย ในอาเสวนปัจจัย ในกัมม-
ปัจจัย ในวิปากปัจจัย ในอาหารปัจจัย ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ใน
มัคคปัจจัย ในสัมปยุตตปัจจัย ในวิปปยุตตปัจจัย ในอัตถิปัจจัย ในนัตถิ
ปัจจัย ในวิคตปัจจัย ในอวิคตปัจจัย แต่ละปัจจัยมี ๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปฏิจจาวาระ จบ
สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 299
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๒๐๓] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
๔. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย มี ๓ วาระเหมือนกับปฏิจจวาระ.
[๑๒๐๔] ๗. เนวเสกขานาเสกธรรม อาศัยเนวเสกขานา-
เสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๘. เสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิด
ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๙. อเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิด
ขึ้น เพราะปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๑๐. เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัย
เนวเสกขานาเสกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 300
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ, จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๑๑. อเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกธรรม อาศัย
เนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ, จิตตสมุฏฐาน-
รูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๑๒๐๕] ๑๒. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และเนวเสกขานา-
เสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ทำเป็นเสกธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๑๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และ
เนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเสกขธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
๑๔. เสกขธรรม และเนวเสกนาเสกขธรรม อาศัย
เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเสกขธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 301
๑๕. ฯลฯ อาศัยอเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกข-
ธรรม มี ๓ วาระ เหมือนกับเสกขธรรม (วาระที่ ๑๕-๑๖-๑๗).
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๒๐๖] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ
๒. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม มี ๑ วาระ.
๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานา-
เสกขธรรม มี ๑ วาระ.
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๔. เสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ
เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๕. อเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ
เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
[๑๒๐๗] ๖. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และเนวเสกขานา-
เสกขธรรม ฯลฯ เพราะอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 302
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๒๐๘] ๗. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม และเนวเสก-
ขานาเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเสกขธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๓. อธิปติปัจจัย ฯลฯ ๑๑. อาเสวนปัจจัย
[๑๒๐๙] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อธิปติปัจจัย, เพราะ อนันตรปัจจัย, เพราะ สมนันตรปัจจัย, เพราะ
สหชาตปัจจัย, เพราะ อัญญมัญญปัจจัย, เพราะ นิสสยปัจจัย, เพราะ
อุปนิสสยปัจจัย, เพราะ ปุเรชาตปัจจัย, เพราะ อาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ฯลฯ
[๑๒๑๐] ๒. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานา-
เสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๓. เสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม
ขึ้นเกิด ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 303
[๑๒๑๑] ๔. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรมและเนวเสกขานา-
เสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๑๒. กัมมปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
[๑๒๑๒] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ
กัมมปัจจัย, เพราะวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ
เพราะ อาหารปัจจัย, เพราะ อินทริยปัจจัย, เพราะ ฌานปัจจัย,
เพราะ มัคคปัจจัย, เพราะ สัมปยุตตปัจจัย, เพราะ วิปปยุตตปัจจัย,
เพราะ อัตถิปัจจัย, เพราะ นิตถิปัจจัย, เพราะ วิคตปัจจัย, เพราะ
อวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๒๑๓] ในเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตร-
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี
๗ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ใน
ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในกัมมปัจจัย มี
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 304
๑๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ ใน
อินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย แต่ละปัจจัยมี ๑๗ วาระ ในสัม-
ปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗
วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย
มี ๑๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๒๑๔] ๑. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานา-
เสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสก-
ขานาเสกขธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย
อาศัยหทยวัตถุ.
ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป...อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 305
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัย
หทยวัตถุ
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.
๒. นอารัมมณปัจจัย
๑. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ
เพราะนอารัมมณปัจจัย ฯลฯ
๓. นอธิปติปัจจัย
[๑๒๑๕] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ เพราะน-
อธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกข-
ธรรม.
๒. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม ฯลฯ เพราะ
นอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกข-
ธรรม.
๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานา-
เสกขธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 306
คือ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
จักขายตนะ ฯลฯ
๔. เสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ
เพราะนอธิปติปัจจัย
๕. อเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ
เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
[๑๒๐๖] ๖. เสกขธรรมอาศัยเสกขธรรม และเนวเสกขานา-
เสกขธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกข-
ธรรมและหทยวัตถุ.
๗. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม และเนวเสก-
ขานาเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกข-
ธรรมและหทยวัตถุ.
๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย
[๑๒๑๗] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ
เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญ-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 307
ปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะ
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ.
เพราะนอาเสวนปัจจัย ฯลฯ
๑๑. นกัมมปัจจัย
[๑๒๑๘] ๑. เสกขธรรมอาศัยเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนกัมม-
ปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม.
๒. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานา-
เสกขธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
เนวเสกขานาเสกขธรรม.
พาหิรรูป...อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
เจตนาที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๓. เสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ
เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นเสกขธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๔. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และเนวเสกขา-
นาเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นเสกขธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม
และหทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 308
๑๒. นวิปากปัจจัย
[๑๒๑๙] ๑. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม ฯลฯ เพราะนวิ-
ปากปัจจัย ในเสกขมูลกะ มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑-๓)
๔. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานา-
เสกขธรรม ฯลฯ เพราะนวิปากปัจจัย ในเนวเสกขานาเสกขมูลกะ มี
๓ วาระ (วาระที่ ๔-๖)
๗. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และเนวเสกขา-
นาเสกขธรรมเกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย ในปัจจัยสงเคราะห์ แห่ง
เสกขธรรมทั้งหลาย มี ๓ วาระ (รวมนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ)
๑๓. นอาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย
[๑๒๒๐] เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานาเสกข-
ธรรม ฯลฯ เพราะนอาหารปัจจัย, เพราะนอินทริยปัจจัย, เพราะ
นฌานปัจจัย, เพราะนมัคคปัจจัย, เพราะนสัมปยุตตปัจจัย, เพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย, เพราะโนนัตถิปัจจัย, เพราะโนวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๒๒๑] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย
มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 309
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ
ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย
มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิตตปัจจัย
มี ๕ วาระ
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๒๒๒] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ. . .
ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย ในนสมนันตรปัจจัย ในน-
อัญญมัญญปัจจัย ในนอุปนิสสยปัจจัย แต่ละปัจจัยมี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย
มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย
มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ใน
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 310
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๒๒๓] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ...ใน
อนันตรปัจจัย ในสมนันตรปัจจัย ในสหชาตปัจจัย ในอัญญมัญญปัจจัย แต่ละ
ปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัจจยวาระ จบ
นิสสวาระ เหมือนกับปัจจยวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 311
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๒๒๔] ๑. เสกขธรรม เจือกับเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
เหตุปัจจัย
๒. อเสกขธรรม เจือกับอเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเสกขธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม เจือกับเนวเสกขานา
เสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ ขันธ์
๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
[๑๒๒๕] เสกขธรรม เจือกับเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย เกิดขึ้น เพราะปุเรชาต-
ปัจจัย (ทุกปัจจัยมี ๓ วาระ)
เพราะอาเสวนปัจจัย พึงกระทำเป็น ๒ วาระ ฯลฯ
เพราะอวิคตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 312
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๒๒๖] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย ในสมนันตรแจจัย ในสหชาต-
ปัจจัย ในอัญญมัญญปัจจัย ในนิสสยปัจจัย ในอุปนิสสยปัจจัย ในปุเรชาต-
ปัจจัย แต่ละปัจจัยมี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย
มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๒๒๗] เนวเสกขานาเสกขธรรม เจือกับเนวเสกขานาเสกข-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ซึ่งเป็น
อเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๒. นอธิปติปัจจัย
[๑๒๒๘] ๑. เสกขธรรม เจือกับเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 313
คือ อธิปติธรรมที่เป็นเสกขธรรม เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกข-
ธรรม.
๒. อเสกขธรรม เจือกับอเสกธรรม ฯลฯ
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอเสกขธรรม เจือกันขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกข-
ธรรม.
๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม เจือกับเนวเสกขานา-
เสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม ๓ วาระ.
๓. นปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย
[๑๒๒๙] เสกขธรรม เจือกับเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นปุเรชาตปัจจัย, เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย, เพราะนอาเสวนปัจจัย,
เพราะนกัมมปัจจัย พึงกระทำ ๒ วาระ.
เพราะนวิปากปัจจัย พึงกระทำ ๒ วาระ.
เพราะนฌานปัจจัย, เพราะนมัคคปัจจัย (๒ ปัจจัยนี้
มี ๑ วาระ) เพราะนวิปปยุตตปัจจัย (มี ๓ วาระ)
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๒๓๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 314
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๒๓๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ... ในน-
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย
มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในน-
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๒๓๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ... ใน
อนันตรปัจจัย ในสมนันตรปัจจัย ในสหชาตปัจจัย ในอัญญมัญญปัจจัย ใน
นิสสยปัจจัย ในอุปนิสสยปัจจัย ในปุเรชาตปัจจัย ในอาเสวนปัจจัย ในกัมม-
ปัจจัย ในวิปากปัจจัย ในอาหารปัจจัย ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ใน
มัคคปัจจัย ในสัมมปยุตตปัจจัย ในวิปปยุตตปัจจัย ในอัตถิปัจจัย ในนัตถิ
ปัจจัย ในวิคตปัจจัย ในอวิคตปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียานุโลมานัย จบ
สังสัฏฐวาระ จบ
สัมปยุตตวาระ เหมือนกับสังสัฏฐวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 315
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๒๓๓] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจ
ของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๒๓๔] ๒. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสวกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลายด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๒๓๕] ๓. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม และเนว-
เสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๒๓๖] ๔. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม เกิดขึ้น
มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔-๕-๖)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 316
๗. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสก-
ขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๒๓๗] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยเนวเสกขานาเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผลที่
เป็นเสกขธรรม.
รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นเสกขธรรม ด้วยเจโตปริย-
ญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพ-
เพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
[๑๒๓๘] ๒. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอรหันต์พิจารณาผลที่เป็นอเสกขธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 317
รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยเจโตปริย-
ญาณ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
[๑๒๓๙] ๓. เนวเสกาขาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสก-
ขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้วพิจารณา
กุศลกรรมนั้น.
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในก่อน
ออกจากฌาน พิจารณาฌาน.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณานิพพาน.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โดยโคตรภู แก่โวทาน แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจ
ของอารัมมณปัจจัย.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้
ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิด ขึ้นแล้วในกาลก่อน.
พิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ
ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 318
พิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายทีเป็นเนวเสกขานา-
เสกขธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, ย่อมยินดี
ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นเนวเสกขานาเสกธรรม
ด้วยเจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณณัญจายตนะ, อากิญจัญญาย-
ตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ
แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาค-
ตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๒๔๐] ๔. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ที่เป็นเสกขธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
[๑๒๔๑] ๕. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 319
คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๒๔๒] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
อย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๒๔๓] ๒. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคกระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่นแล้ว พิจารณา, กระทำผลที่เป็นเสกขธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
แล้ว พิจารณา.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรม ที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 320
[๑๒๔๔] ๓. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม และเนว-
เสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๒๔๕] ๔. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาของอธิปติปัจจัย.
[๑๒๔๖] ๕. อเสกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอรหันต์กระทำผลที่เป็นอเสกขธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
แล้ว พิจารณา.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 321
[๑๒๔๗] ๖. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม และ
เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๒๔๘] ๗. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสก-
ขานาเสกธรรม ฯลฯ
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศล-
กรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
พระอริยะทั้งหลายกระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว
พิจารณา.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน ด้วยอำนาจของอธิปติ-
ปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 322
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ
ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐ ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งเพราะกระทำโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น
กระทำโสตะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น
ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๒๔๙] ๘. เนวเสกขานาเสกธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ที่เป็นเสกขธรรม ด้วยอำนาจ
ของอธิปติปัจจัย.
[๑๒๕๐] ๙. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 323
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติ-
ปัจจัย.
๔. อนันตรปัจจัย
[๑๒๕๑] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกธรรม ด้วยอำนาจ
ของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นเสกขธรรม.
ผลที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นเสกขธรรม ด้วยอำนาจ
ของอนันตรปัจจัย.
[๑๒๕๒] ๒. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
คือ มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
[๑๒๕๓] ๓. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ผลที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 324
[๑๒๕๔] ๔. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม ที่ เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอเสกขธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ผลที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจ
ของอนันตรปัจจัย.
[๑๒๕๕] ๕. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
คือ ผลที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
[๑๒๕๖] ๖. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสก-
ขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ที่เกิดหลัง ๆ.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 325
[๑๒๕๗] ๗. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นเสกขธรรม.
เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่
ผลสมาบัติที่เป็นเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๒๕๘] ๘. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
คือ อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นอเสกขธรรม.
เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่
ผลสมาบัติที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย
[๑๒๕๙] เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจ
ของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย มี ๘ วาระ.
๖. สหชาตปัจจัย ๗. อัญญมัญญปัจจัย
[๑๒๖๐] เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจ
ของสหชาติปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัยในปฏิจจวาระ มี ๘ วาระ.
อัญญมัญญปัจจัย เหมือนกับอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิจจวาระ
มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 326
๘. นิสสยปัจจัย
เหมือนกับนิสสยปัจจัย ในกุสลติกะ มี ๑๓ วาระ.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๑๒๖๑] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ทุติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ตติยมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นเสกขธรรม ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
[๑๒๖๒] ๒. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 327
[๑๒๖๓] ๓. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกาขานาเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายเข้าไปอาศัยมรรคแล้ว ยังสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้
เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว.
พิจารณาเห็นสังขาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ
มรรค เป็นปัจจัยแก่อัตถิปฏิสัมภิทา แก่ธัมมปฏิสัมภิทา แก่นิรุตติ-
ปฏิสัมภิทา แก่ปฏิภาณปฏิสัมภิทา แก่ความฉลาดในฐานะและอฐานะ ของ
พระอริยะทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ผลสมาบัติ ที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๒๖๔] ๔. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น อเสกขธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลาย ที่เป็นอเสกขธรรมที่เกิดหลัง ๆ ฯลฯ ผลที่เป็นอเสกขธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ผลที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 328
[๑๒๖๕] ๕. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกข-
ธรรม ฯลฯ
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ผลสมาบัติ ที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๒๖๖] ๖. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสก-
ขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรมแล้ว ให้ทาน
สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ฌาน ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ
ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ
ฯลฯ ความปรารถนา สุขทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน
สมาทานศีล ฯสฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธาที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความ
ปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นเนวเสก-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 329
ขานาเสกขธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทาง
กาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
บริกรรมแห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานา-
สัญญายตนะ.
ปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ
อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๒๖๗] ๗. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ บริกรรมแห่งจตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๒๖๘] ๘. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 330
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูนิสสยะ ได้แก่
สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ฯลฯ อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ
เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๑๒๖๙] ๑. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสก-
ขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี
ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ฯลฯ
บุคคลพิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 331
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๒๗๐] ๒. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม ด้วยอำนาจ
ของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๒๗๑] ๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจ
ของปุเรชาตปัจจัย.
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๒๗๒] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 332
[๑๒๗๓] ๒. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย
นี้ที่เกิดก่อน ฯลฯ
[๑๒๗๔] ๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสก-
ขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขธรรมที่เกิดภายหลัง เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน.
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๑๒๗๕] ๑. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสก-
ขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจ
ของอาเสวนปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๑๒๗๖] ๒. เนวเสกขานาเสกธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 333
คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๑๒๗๗] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วย
อำนาจของเสวนปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม
ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๒๗๘] ๒. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 334
[๑๒๗๙] ๓. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๒๘๐] ๔. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม และ
เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม และ
เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
[๑๒๘๑] ๕. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๒๘๒] ๖. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 335
[๑๒๘๓] ๗. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม และ
เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๒๘๔] ๘. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสก-
ขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
เนวเสกขานาเสกขธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ
ของกัมมปัจจัย.
๑๔. วิปากปัจจัย
[๑๒๘๕] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วย
อำนาจของวิปากปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 336
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรมซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ใน เสกขมูลกะ มี ๓ วาระ.
[๑๒๘๖] ๔. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วย
อำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ
ใน อเสกขมูลกะ มี ๓ วาระ.
[๑๒๘๗] ๗. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสก-
ขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจ
ของวิปากปัจจัย.
๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
[๑๒๘๘] เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจของ
อาหารปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของฌานปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 337
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
[๑๒๘๙] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ-
ฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๒๙๐] ๒. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
เหมือนกับเสกขธรรม.
[๑๒๙๑] ๓. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสก-
ขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 338
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาธรรม
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๒๙๒] ๔. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม ด้วยอำนาจ
ของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 339
[๑๒๙๓] ๕. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจ
ของวิปปยุตตปัจจัย.
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๑๒๙๔] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ
[๑๒๙๕] ๒. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ-
ฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 340
[๑๒๙๖] ๓. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม และเนว-
เสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน-
รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๒๙๗] ๔. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับเสกขธรรม.
[๑๒๙๘] ๗. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสก-
ขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
ฯลฯ มหาภูตรรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 341
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ ย่อมเกิด
ขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น
บุคคลพิจารณาเห็น โสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่
เที่ยง ฯลฯ
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานาเสกขธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ฯลฯ
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย.
[๑๒๙๙] ๘. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 342
อย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย.
[๑๓๐๐] ๙. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
อย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย.
[๑๓๐๑] ๑๐. เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นเสกขธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๓๐๒] ๑๑. เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 343
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นเสกขธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรมที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกัน อินทริยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกขธรรมที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๓๐๓] ๑๒. อเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกธรรม
เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย พึงกระทำ ๒ วาระ
เหมือนเสกขธรรม (คือเหมือนข้อ ๑๓๐๑-๑๓๐๒ จึงรวมเป็น ๑๓ วาระ)
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๑๓๐๔] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๘ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๘ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 344
มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย ๒ วาระ ใน
กัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ
ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๗
วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิ-
ปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๘ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ ใน
อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๑๓๐๕] ๑. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๒. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วยอำ-
นาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๓๐๖] ๓. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๓๐๗] ๔. เสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม และเนว-
เสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 345
[๑๓๐๘] ๕. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม ด้วยอำ-
นาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๓๐๙] ๖. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกข
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๓๑๐] ๗. อเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกขธรรม และ
เนวเสกขานาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๓๑๑] ๘. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขา-
นาเสกขธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๑๓๑๒] ๙. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่เสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปุเรชาตปัจจัย.
[๑๓๑๓] ๑๐. เนวเสกขานาเสกขธรรม เป็นปัจจัยแก่อเสกข-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 346
[๑๓๑๔] ๑๑. เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เสกขธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
[๑๓๑๕] ๑๒. เสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
[๑๓๑๖] ๑๓. อเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม เป็น
ปัจจัยแก่อเสกขธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
[๑๓๑๗] ๑๔. อเสกขธรรม และเนวเสกขานาเสกขธรรม
เป็นปัจจัยแก่เนวเสกขานาเสกขธรรม ฯลฯ
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
สุทธมูลกนัย
[๑๓๑๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๔
วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๑๔ วาระ ใน
นสมนันตรปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอัญญ-
มัญญปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนปัจฉาชาต-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 347
ปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนกัมปัจจัย
มี ๑๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑๔ วาระ
ในนอินทริยปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนมัคค-
ปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย
มี ๘ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๘ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๑๔ วาระ
ในโนวิคตปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๓๑๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ...
ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
มี ๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๔ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ
ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 348
ปัจจนียานุโลม
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๓๒๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ...
ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๘ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๘ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗
วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย
มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
ในอัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๘ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๘
วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปัญหาวาระ จบ
เสกขติกะ ที่ ๑๑ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 349
อรรถกถาเสกขติกะ
ใน เสกขติกะ อเสกขธรรมย่อมไม่เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม โดย
ปัจจัยไร ๆ แต่เสกขธรรมเป็นอนันตรรูปนิสสยะ และปกตูนิสสยปัจจัย แก่
อเสกขธรรม. คำที่เหลือในอธิการนี้ อธิบายตามบาลี.
ใน ปริตตติกะ ก็เหมือนกัน
อรรถกถาเสกขติกะ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 350
๑๒. ปริตตติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๓๒๑] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตต-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๒. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทยวัตถุ
๓. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 351
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทย-
วัตถุ
กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๑๓๒๒] ๔. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๕. ปริตตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.
๖. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยมหัคคต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานขณะ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม
ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคต-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๓๒๓] ๗. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 352
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๘. ปริตตธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม.
๙. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณ-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๓๒๔] ๑๐. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และอัปปมาณ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูต-
รูปทั้งหลาย.
[๑๓๒๕] ๑๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๑๒. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 353
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และ
หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๑๓. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตต-
ธรรม และมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และ
หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๓๒๖] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.
๒. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทย-
วัตถุ.
[๑๓๒๗] ๓. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 354
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๓๒๘] ๔. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๓๒๙] ๕. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรมและ
หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๓๓๐] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 355
[๑๓๓๑] ๒. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๓. ปริตตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.
๔. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยมหัคคต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๓๓๒] ๕. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๖. ปริตตธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม.
๗. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม อาศัยอัปป-
มาณธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณ-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 356
[๑๓๓๓] ๘. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และอัปปมาณ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูต-
รูปทั้งหลาย.
[๑๓๓๔] ๙. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๖. สหชาตปัจจัย
[๑๓๓๕] ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อนันตรปัจจัย, เพราะสมนันตรปัจจัย, เพราะสหชาตปัจจัย พึงกระทำ
มหาภูตรูปแม้ทั้งหมด.
๗. อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ๑๑. อาเสวนปัจจัย
เพราะ อัญญมัญญปัจจัย, เพราะ นิสสยปัจจัย, เพราะ อุป-
นิสสยปัจจัย, เพราะ ปุเรชาตปัจจัย พึงกระทำ ๓ วาระ.
เพราะ อาเสวนปัจจัย พึงกระทำ ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 357
๑๒. กัมมปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
เพราะ กัมมปัจจัย, เพราะ วิปากปัจจัย พึงกระทำ ๑๓ วาระ.
เพราะ อาหารปัจจัย, เพราะ อินทริยปัจจัย, เพราะ ฌานปัจจัย
เพราะ มัคคปัจจัย, เพราะ สัมปยุตตปัจจัย, เพราะ วิปปยุตตปัจจัย,
เพราะ อัตถิปัจจัย, เพราะ นัตถิปัจจัย, เพราะ วิคตปัจจัย, เพราะ
อวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๓๓๖] ในเหตุปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัยมี ๕ วาระ
ในอธิปติปัจจัยมี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัยมี ๕ วาระ ในสมนันตรปัจจัยมี
๕ วาระ ในสหชาตปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัยมี ๗ วาระ ใน
นิสสยปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัยมี ๕ วาระ ในปุเรชาตปัจจัยมี ๓
วาระ ในอาเสวนปัจจัยมี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในวิปากปัจจัย
มี ๑๓ วาระ ในอาหารปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในอินทริยปัจจัยมี ๑๓ วาระ ใน
ฌานปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในมัคคปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัยมี ๕ วาระ
ในวิปปยุตตปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในอัตถิปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัยมี ๕
วาระ ในวิคตปัจจัยมี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัยมี ๑๓ วาระ.
อนุโลมนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 358
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๓๓๗] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นเหตุปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม
ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย
อาศัยหทยวัตถุ ฯลฯ
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๑๓๓๘] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอารัมมณปัจจัย.
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม,
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 359
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป. .. อุตุสมุฏฐาน-
รูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
[๑๓๓๙] ๒. ปริตตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอารัมมณปัจจัย.
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.
[๑๓๔๐] ๓. ปริตตธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย.
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม.
[๑๓๔๑] ๔. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และอัปปมาณ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย.
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
[๑๓๔๒] ๕. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 360
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๓๔๓] ๑. ปริตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอธิปติปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัย
หทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๒. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอธิปติปัจจัย.
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทย-
วัตถุ.
๓. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 361
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทย-
วัตถุ, กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๑๓๔๔] ๔. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคต-
ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๕. ปริตตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอธิปติปัจจัย.
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคตธรรม ซึ่ง
เป็นวิบาก.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.
๖. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยมหัคคต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม
ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๓๔๕] ๗. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย.
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อัปปมาณธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 362
[๑๓๔๖] ๘. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก
และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
๙. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม
และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๑๐. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตต-
ธรรม และมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม
และหทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย
[๑๓๔๗] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม ฯลฯ เพราะ
นอนันตรปัจจัย, เพราะนสมนันตรปัจจัย, เพราะนอัญญมัญญปัจจัย,
เพราะนอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 363
๘. นปุเรชาตปัจจัย
[๑๓๔๘] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นปุเรชาตปัจจัย.
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
ปริตตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พึงกระทำมหาภูตรูปทั้งหมดให้พิสดาร. ในปริตตมูลกะ มี ๓ วาระ.
[๑๓๔๙] ๔. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย.
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๕. ปริตตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม ฯลฯ เพราะ
นปุเรชาตปัจจัย.
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.
๖. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยมหัคคต-
ธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 364
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
มหัคคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๓๔๐] ๗. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม ฯลฯ
เพราะนปุเรชาตปัจจัย.
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ.
๘. ปริตตธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม ฯลฯ.
นปุเรชาตปัจจัย.
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม.
[๑๓๕๑] ๙. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และอัปปมาณ-
ธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย.
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๑๓๕๒] ๑๐. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคต-
ธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย.
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๑๑. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคต-
ธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 365
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม
และหทยวัตถุ ฯลฯ.
๑๒. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตต-
ธรรม และมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และ
หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย
[๑๓๕๓] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
ปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลายอาศัย
หทยวัตถุ. มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
[๑๓๕๔] ๒. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอาเสวนปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทย-
วัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 366
๓. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตต-
ธรรม ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทย-
วัตถุ, กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๑๓๕๕] ๔. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ
๕. ปริตตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม ฯลฯ เพราะ
นอาเสวนปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๖. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยมหัคคต-
ธรรม ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม
ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ
[๑๓๕๖] ๗. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม ฯลฯ
เพราะนอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 367
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
๘. ปริตตธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ เพราะ
นอาเสวนปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม.
๙. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม อาศัยอัปป-
มาณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม
ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ.
[๑๓๕๗] ๑๐. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย
[๑๓๕๘] ๑๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหา-
ภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 368
๑๒. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และ
หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๑๓. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตต-
ธรรมและมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย.
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และ
หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๑๑. นกัมมปัจจัย
[๑๓๕๙] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นปริตตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป
ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
[๑๓๖๐] ๒. มัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 369
[๑๓๖๑] ๓. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอัปปมาณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณ-
ธรรม ซึ่งเป็นกุศล.
๑๒. นวิปากปัจจัย
[๑๓๖๒] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
[๑๓๖๓] ๒. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
๓. ปริตตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นวิปากปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 370
๔. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยมหัคคต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๓๖๔] ๕. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะนวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ซึ่งเป็นกุศล ฯลฯ
๖. ปริตตธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะนวิปากปัจจัย
คือ จิตตสมูกฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม ซึ่ง
เป็นกุศล ฯลฯ
๗. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม อาศัยอัปป-
มาณธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณ-
ธรรม ซึ่งเป็นกุศล ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๓๖๕] ๘. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และอัปปมาณ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม ซึ่งเป็นกุศล
และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 371
[๑๓๖๖] ๙. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
๑๓. นอาหารปัจจัย
[๑๓๖๗] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอาหารปัจจัย
คือ พาหิรรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
พึงให้พิสดาร.
๑๔. นอินทริยปัจจัย
๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอินทริยปัจจัย
คือ พาหิรรูป...อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วน
อสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตนทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๑๕. นฌานปัจจัย
๑. ฯลฯ เพราะนฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ ส่วน
อสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พึงกระทำมหาภูตรูปทั้งหมด.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 372
๑๖. นมัคคปัจจัย
๑. ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พึงกระทำมหาภูตรูป
ทั้งหมด.
๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย
๑. ฯลฯ เพราะนสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ (มี ๕ วาระ)
๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย
[๑๓๖๘] ๑. ฯลฯ เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ขันธ์
๒ ฯลฯ
พาหิรรูป...อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๒. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนวิปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ.
[๑๓๖๙] ๓. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 373
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ.
เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียนัย
สุทธมูลกนัย
[๑๓๗๐] ในเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัยมี ๕
วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ใน
นอาเสวนปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย ในนฌานปัจจัย
ในนมัคคปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ใน
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย
มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๓๗๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ...ในน
อธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย ในนอัญญมัญญปัจจัย ในนอุปนิสสยปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๕ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 374
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในน
อาเสวนปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙
วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปากยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๓๗๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ ใน
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑
วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปฏิจจวาระ จบ
สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจาวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 375
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๓๗๓] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย
หทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๒. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทยวัตถุ, ในปฏิสนธิ
ขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๓. อัปปมาณธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๔. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม อาศัยปริตต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 376
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม อาศัยหทยวัตถุ, จิตตสมุฏ-
ฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๕. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยหทยวัตถุ.
[๑๓๗๔] ๖. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ
๗. ปริตตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๘. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยมหัคคต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 377
[๑๓๗๕] ๙. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
ในอัปปมาณธรรม มี ๓ วาระ.
[๑๓๗๖] ๑๒. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และอัปปมาณ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
๑๓. อัปปมาณธรรม อาศัยปริตตธรรม และอัปป-
มาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม และหทยวัตถุ.
๑๔. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม อาศัยปริตต-
ธรรม และอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปมาณธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
[๑๓๗๗] ๑๕. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พึงกระทำแม้ทั้ง ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 378
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๓๗๘] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขาตนะ ฯลฯ อาศัยกายายตนะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
วาระ ๖ ที่เหลือเหมือนกับเหตุปัจจัย พึงกระทำเป็น ๗ วาระ.
เพราะอธิปติปัจจัย ปฏิสนธิไม่มี วาระ ๑๓ พึงใส่ไม่เต็ม.
เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๓๗๙] ในเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ใน
นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๗
วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในวิปากปัจจัย
มี ๑๗ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย
ในมัคคปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ใน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 379
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗
วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๓๘๐] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม
ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้ง
หลายอาศัยหทยวัตถุ.
ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขาตนะ ฯลฯ กายายตนะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 380
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๑๓๘๑] ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอารัมมณปัจจัย.
เหมือนกับปฏิจจวาระ มี ๕ วาระ.
๓. นอธิปติปัจจัย
[๑๓๘๒] ๑. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอธิปติปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
จักขาตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๒. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอธิปติปัจจัย.
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทยวัตถุ, ขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก อาศัยหทยวัตถุ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๓. อัปปมาณธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 381
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๔. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตต-
ธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย.
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก อาศัยหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๑๓๘๓] ๕. มหัคคตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม ฯลฯ เพราะ
นอธิปติปัจจัย.
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
มหัคคตธรรม, ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๖. ปริตตธรรม อาศัยมหัคคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอธิปติปัจจัย.
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่ง
เป็นวิบาก.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๗. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยมหัคคต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 382
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคต-
ธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๑๓๘๔] ๘. อัปปมาณธรรม อาศัยอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย.
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อัปปมาณธรรม.
[๑๓๘๕] ๙. อัปปมาณธรรม อาศัยปริตตธรรม และอัปป-
มาณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อัปปมาณธรรม และหทยวัตถุ.
[๑๓๕๖] ๑๐. ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๑๑. มหัคคตธรรม อาศัยปริตตธรรม และมหัคคต-
ธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 383
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
มหัคคตธรรม และหทยวัตถุ.
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และ
หทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๑๒. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม อาศัยปริตต-
ธรรม และมหัคคตธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และ
หทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคต-
ธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และมหาภูตรูป.
๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นปุเรชาตปัจจัย
[๑๓๘๗] ปริตตธรรม อาศัยปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญปัจจัย
เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ
มี ๑๒ วาระ.
๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม
พึงแสดงว่า วิบาก, จิตตสมุฏฐานรูป ไม่พึงแสดงว่า วิบาก.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 384
๑๑. นกัมมปัจจัย ๑๒. นวิปากปัจจัย
เพราะนกัมมปัจจัย เพราะนวิปากปัจจัย แม้ปฏิสนธิวิบากไม่มี.
๑๓. นอาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย
เพราะนอาหารปัจจัย เพราะอินทริยปัจจัย เพราะนฌาน-
ปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปป-
ยุตตปัจจัย เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๓๘๘] ในนเหตุปัจจัยมี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัยมี ๕ วาระ
ในนอธิปติปัจจัยมี ๑๒ วาระ ในนอนันตรปัจจัยมี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัยมี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัยมี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัยมี ๕
วาระ ในนปุเรชาตปัจจัยมี ๑๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัยมี ๑๗ วาระ ใน
นอาเสวนปัจจัยมี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัยมี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี
๑๗ วาระ ในนอาหารปัจจัยมี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัยมี ๑ วาระ ใน
นมัคคปัจจัยมี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัยมี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี
๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัยมี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัยมี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 385
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๓๘๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัยมี ๕ วาระ...ใน
นอธิปติปัจจัยมี ๑๒ วาระ ในนอนันตรปัจจัยมี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย
มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัยมี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัยมี ๕ วาระ
ในนปุเรชาตปัจจัยมี ๑๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัยมี ๑๗ วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัยมี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัยมี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัยมี ๑๗ วาระ
ในนสัมปยุตตปัจจัยมี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัยมี ๓ วาระ ในโนนัตถิ-
ปัจจัยมี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัยมี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลม
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๓๙๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย ๑ วาระ...
ในอนันตรปัจจัยมี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัยมี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัยมี
๑ วาระ ฯลฯ ในวิคตปัจจัยมี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัยมี ๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปัจจยาวาระ จบ
นิสสยวาระ เหมือนกับปัจจยวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 386
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๓๙๑] ๑. ปริตตธรรม เจือกับปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิ ฯลฯ
[๑๓๙๒] ๒. มหัคคตธรรม เจือกับมหัคคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๓๙๓] ๓. อัปปมาณธรรม เจือกับอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
๒. อารัมมณปัจจัย ๓. อธิปติปัจจัย
[๑๓๙๔] ๑. ปริตตธรรม เจือกับปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย. เพราะอธิปติปัจจัย ปฏิสนธิ ไม่มี.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 387
๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาต-
ปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสย-
ปัจจัย. เพราะปุเรชาตปัจจัย ปฏิสนธิ ไม่มี.
๑๑. อาเสวนปัจจัย
เพราะอาเสวนปัจจัย วิบากก็ดี ปฏิสนธิก็ดี ไม่มี.
๑๒. กัมมปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย
เพราะอินทริยปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะ
สัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะ
นัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๓๙๕] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 388
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๓๙๖] ๑. ปริตตธรรม เจือกับปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๒. นอธิปติปัจจัย
[๑๓๙๗] ๑. ปริตตธรรม เจือกับปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ เพราะ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๓๙๘] ๒. มหัคคตธรรม เจือกับมหัคคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เจือขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
มหัคคตธรรม, ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 389
[๑๓๙๙] ๓. อัปปมาณธรรม เจือกับอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อัปปมาณธรรม.
๓. นปุเรชาตปัจัย
[๑๔๐๐] ๑. ปริตตธรรม เจือกับปริตตธรรมเกิดขึ้น เพราะ
นปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๔๐๑] ๒. มหัคคตธรรม เจือกับมหัคคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๔๐๒] ๓. อัปปมาณธรรม เจือกับอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 390
๔. นปัจฉาชาตปัจจัย ๕. นอาเสวนปัจจัย
[๑๔๐๓] ๑. ปริตตธรรม เจือกับปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นปัจฉาชาตปัจจัย, เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๔๐๔] ๒. มหัคคตธรรม เจือกับมหัคคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๔๐๕] ๕. อัปปมาณธรรม เจือกับอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ฯลฯ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ.
๖. นกัมมปัจจัย
[๑๔๐๖] ๑. ปริตตธรรม เจือกับปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นปริตตธรรม เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 391
[๑๔๐๗] ๒. มหัคคตธรรม เจือกับมหัคคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคต-
ธรรม.
[๑๔๐๘] ๓. อัปปมาณธรรม เจือกับอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอัปปมาณธรรม เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณ-
ธรรม ที่เป็นกุศล.
๗. นวิปากปัจจัย
[๑๔๑๐] ๑. ปริตตธรรม เจือกับปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ.
[๑๔๐๑] ๒. มหัคคตธรรม เจือกับมหัคคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ.
[๑๔๑๑] ๓. อัปปมาณธรรม เจือกับอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะนวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 392
๘. นฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย
[๑๔๑๒] ๑. ปริตตธรรม เจือกับปริตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย (มี ๑ วาระ) เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ.
[๑๔๑๓] ๒. มหัคคตธรรม เจือกับมหัคคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ.
[๑๔๑๔] ๓. อัปปมาณธรรม เจือกับอัปปมาณธรรม เกิดขึ้น
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปาณธรรม ฯลฯ.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๘๑๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิติปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 393
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๔๑๖] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ...ในนปุเร-
ชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย
มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในน-
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๔๑๗] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ... ใน
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
สัมปยุตตวาระ เหมือนกับ สังสัฏฐวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 394
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๔๑๘] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๔๑๙] ๒. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของเหตุปัจจัย. มี ๓ วาระ (วาระ ๒-๓-๔) พึงกระทำทั้งปวัตติ
และปฏิสนธิ.
[๑๔๒๐] ๕. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๕-๖-๗)
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๔๒๑] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 395
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล การทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณา
กุศลกรรมนั้น.
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณาโคตรภู, พิจารณาโวทาน, พิจารณากิเลส
ที่ละแล้ว, พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาล
ก่อน.
พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม
โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภ
จักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่ จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอารัมมณปัจจัย.
[๑๔๒๒] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย.
คือ บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปริตตธรรม ด้วย
เจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโต-
ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 396
[๑๔๒๓] ๓. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ, อากิญ-
จัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย.
บุคคลรู้จิตตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นมหัคคตธรรม ด้วย
เจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโต
ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๔๒๔] ๔. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลพิจารณาปฐมฌาน ฯลฯ พิจารณาเนาสัญญานาสัญญายตนะ.
พิจารณาทิพยจักษุ ทิพโสตธาตุ ฯลฯ พิจารณาอิทธิวิธญาณ เจโตปริยญาณ
ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ พิจารณาอนาคตตัง-
สญาณ.
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม โดยความเป็น
ของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ
ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๔๒๕] ๕. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 397
คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย
[๑๔๒๖] ๖. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค, พิจารณาผล,
พิจารณานิพพาน.
นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจ
ของอารัมมณปัจจัย.
[๑๔๒๗] ๗. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
คือ พระอริยะทั้งหลายรูปจิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอัปป-
มาณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๔๒๘] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 398
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศล
กรรมนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา.
บุคคลกระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
พระเสกบุคคลทั้งหลายกระทำโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ฯลฯ กระทำโวทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทย-
วัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น
กระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น
ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นปริธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๔๒๙] ๒. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 399
[๑๔๓๐] ๗. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลกระทำปฐมฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ เนวสัญญา
นาสัญญายตนะ ฯลฯ ทิพยจักษุ ฯลฯ กระทำอนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
มหัคคตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น กระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๔๓๑] ๔. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ
มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตธรรมเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 400
[๑๔๓๒] ๕. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๔๓๓] ๖. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรคการทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่นแล้ว พิจารณา, กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำ
นิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 401
[๑๔๓๗] ๗. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ
อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๔. อนันตรปัจจัย
[๑๔๓๕] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน,
อาวัชชนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
[๑๔๓๖] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ จุติจิตที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นมหัคคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นมหัคคต-
ธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 402
บริกรรมแห่งปฐมฌาน ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ
ฯลฯ.
บริกรรมแห่งทิพยจักษุ ฯลฯ บริกรรมแห่งอนาคตังสญาณ เป็นปัจจัย
แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๔๓๗] ๓. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค,
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค.
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๔๓๘] ๔. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๔๓๙] ๕. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ จุติจิตที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นปริตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 403
ภวังค์ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๔๔๐] ๖. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติของบุคคลผู้
ออกจากนิโรธ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๔๔๑] ๗. อัปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล, แก่เป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
[๑๔๔๒] ๘. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตตธรรม ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 404
[๑๔๔๓] ๙. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย
เหมือนกับ อนันตรปัจจัย.
๖. สหชาตปัจจัย
[๑๔๔๔] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏ-
ฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
[๑๔๔๕] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ
คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๔๔๖] ๓. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 405
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์
๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๑๔๔๗] ๔. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแต่ปริตตธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๔๔๘] ๕. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ
มหัคคตธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏ-
ฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๔๔๙] ๖. อัปปมาฌธรรมเป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 406
[๑๔๕๐] ๗. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๔๕๑] ๘. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ
อัปปมาณธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ.
[๑๔๕๒] ๙. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่
ปริตตธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๔๕๓] ๑๐. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
ปริตตธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 407
[๑๔๕๔] ๑๑. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ.
๗. อัญญมัญญปัจจัย
[๑๔๕๕] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของ
อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ หทยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
[๑๔๕๖] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๑๔๕๗] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๑๔๕๗] ๓. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 408
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจ
ของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๔๕๘] ๔. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัย
แก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๑๔๕๙] ๕. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ
มหัคคตธรรม ฯลฯ
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ
[๑๔๖๐] ๖. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจ
ของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๔๖๑] ๗. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ทีเป็นมหัคคตธรรม และหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 409
๘. นิสสยปัจจัย
[๑๔๖๒] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏ-
ฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแกจักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม ด้วยอำนาจ
ของนิสสยปัจจัย.
[๑๔๖๓] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ
คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของนิสสยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นมหัคคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
[๑๔๖๔] ๓. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ
คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม ด้วย
อำนาจของนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 410
[๑๔๖๕] ๔. มหัคคตธรรม ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม
ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ
๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๔๖๖] ๕. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
[๑๔๖๗] ๖. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ
มหัคคตธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๔๖๗] ๗. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม
ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 411
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจ
ของนิสสยปัจจัย.
[๑๔๖๙] ๘. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
[๑๔๗๐] ๙. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ
อัปปมาณธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ
[๑๔๗๑] ๑๐. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัย
แก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัย
แก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ
[๑๔๗๒] ๑๑. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัย
แก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๓ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 412
[๑๔๗๓] ๑๒. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
ปริตตธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
[๑๔๗๔] ๑๓. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
มหัคคตธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๓ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๑๔๗๕] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 413
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปริตตธรรมแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล
กระทำอุโบสถกรรม ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความ
ปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน สมาทาน ศีล ฯลฯ
อุโบสถกรรม ฯลฯ ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธาที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา สุข
ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา
แก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
กุศลกรรม อกุศลกรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
ปาณาติบาต เป็นปัจจัยแก่ปาณาติบาต ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
ฯลฯ
พึงกระทำจักรนัย.
มาตุฆาตกรรม เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
พึงกระทำจักรนัย เหมือนกับ กุสลติกะ.
[๑๔๗๖] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ฯลฯ
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 414
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นปริตตธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็น
มหัคคตธรรม ให้เกิดขึ้น ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ
เสนาสนะแล้ว ยังฌานที่เป็นมหัคคตธรรม ให้เกิดขึ้น ยังอภิญญา ฯลฯ ยัง
สมาบัติให้เกิดขึ้น.
ศรัทธาที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น
มหัคคตธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
บริกรรมแห่งปฐมฌาน ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ
เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
บริกรรมแห่งทิพยจักษุ ฯลฯ บริกรรมแห่งอนาคตังสญาณ เป็นปัจจัย
แก่อนาคตตังสญาณ.
[๑๔๗๗] ๓. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นปริตตธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็นอัปป-
มาณธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ความ
ปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ยังฌานที่เป็นอัปปมาณธรรมให้
เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 415
ศรัทธาที่เป็นปริตตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น
อัปปมาณธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ฯลฯ บริกรรมแห่ง
จตุตถมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๔๗๘] ๔. มหัคคตธรรม อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูนิสสยะ
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็น
มหัคคตธรรมให้เกิดขึ้น ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ปัญญาแล้ว ยังฌานที่
เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
ศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น
มหัคคตธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัย
แก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๔๗๙] ๕. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 416
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรมแล้ว ให้ทาน สมาทาน
ศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ปัญญา แล้วให้ทาน
ฯลฯ ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ฯลฯ.
ศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น
ปริตตธรรม แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
[๑๔๘๐] ๖. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็นอัปป-
มาณธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังผลสมาบัติให้เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ปัญญาแล้ว ยังฌาน
ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังผลสมาบัติให้เกิดขึ้น.
ศรัทธาที่เป็นมหัคคตธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น
อัปปมาณธรรม แก่ปัญญา ฯลฯ แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 417
[๑๔๘๑] ๗. อัปปมาณธรรมเป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรมฯลฯ
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็น
อัปปมาณธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังผลสมาบัติให้เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ปัญญาแล้ว ยังฌาน
ที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่
เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่
จุตตถมรรค.
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ.
[๑๔๘๒] ๘. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ศีล
ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 418
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ปัญญาแล้ว ให้ทาน
ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ.
ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น
ปริตตธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
ผลสมาบัติ เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอริยะทั้งหลายเข้าไปอาศัยมรรคแล้ว พิจารณาเห็นสังขารโดย
ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ
มรรค เป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา แก่ธัมมปฏิสัมภิทา แก่นิรุตติ-
ปฏิสัมภิทา แก่ปฏิภาณปฏิสัมภิทา แก่ความฉลาดในฐานะและอฐานะของพระ-
อริยะทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๔๘๓] ๙. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรมด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรม ยังฌานที่เป็นมหัคคต-
ธรรม ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ปัญญา ยังฌานที่เป็น
มหัคคตธรรม ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น
มหัคคตธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 419
พระอริยะทั้งหลายเข้าไปอาศัยมรรคแล้ว ยังสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิด
ขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว.
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๑๔๘๔] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี
ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลพิจารณาเห็น โสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง
ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม ด้วยอำนาจ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจ
ของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๔๘๕] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาของปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 420
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจ
ของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๔๘๖] ๓. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย
คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๔๘๗] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๔๘๘] ๒. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 421
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย
นี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๘๘๙] ๓. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๑๔๙๐] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๑๔๙๑] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ บริกรรมแห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ด้วยอำนาจของ
อาเสวนปัจจัย ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนว-
สัญญานาสัญญายตนะนั้นเอง ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 422
บริกรรมแห่งทิพยจักษุ ฯลฯ บริกรรมแห่งอนาคตังสญาณ เป็นปัจจัย
แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของเสวนปัจจัย.
[๑๔๙๒] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค.
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๑๔๙๓] ๓. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๑๔๙๔] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง ที่เป็นคือ สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏ-
ฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 423
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นปริตตธรรมซึ่งเป็น
วิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๔๙๕] ๒. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคต-
ธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
[๑๔๙๖] ๓. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 424
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๔๙๗] ๔. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ
มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม ซึ่ง
เป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 425
[๑๔๙๘] ๕. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณ-
ธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๔๙๙] ๖. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๕๐๐] ๗. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ
อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 426
๑๔. วิปากปัจจัย
[๑๕๐๑] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจ
ของวิปากปัจจัย.
[๑๕๐๒] ๒. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๒-๓-๔) พึงกระ ทั้งปวัตติ
และปฏิสนธิ.
[๑๕๐๒] ๕. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม
ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๕-๖-๗) พึงกระทำ
ปวัตติ อย่างเดียว.
๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
[๑๕๐๔] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคค-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย (แต่ละปัจจัย มี ๗
วาระ)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 427
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ฯลฯ
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตา-
รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย, ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ
หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของ
วิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของ
วิปปยุตตปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรม ด้วยอำนาจ
ของวิปปยุตตปัจจัย
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๕๐๕] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 428
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่
เป็นมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจ
ของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๕๐๖] ๓. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๕๐๗] ๔. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 429
[๑๕๐๘] ๕. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ที่หลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๑๕๐๙] ๑. ปริตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 430
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นหทยวัตถุ โดยความ
เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็น
ต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นปริตตธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย.
[๑๕๑๐] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 431
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย.
[๑๕๑๑] ๓. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๕๑๒] ๔. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒
ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๕๑๓] ๕. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 432
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรมที่เกิดพร้อมกับ เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๕๑๔] ๖. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ
มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๑๕๑๕] ๗. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 433
[๑๕๑๖] ๘. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๕๑๗] ๙. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ
อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๕๑๘] ๑๐. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัย
แก่ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 434
ขันธ์ที่เป็นอัปปมาณธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๕๑๙] ๑. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัย
แก่อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณธรรมที่เกิดพร้อมกัน และหทยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๕๒๐] ๑๒. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
ปริตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 435
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นมหัคคตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่
กายนี้.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตธรรม และรูปชีวิตนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๕๒๑] ๑๓. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรมที่เกิดพร้อมกัน และหทยวัตถุ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตธรรม และหทยวัตถุเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ ฯลฯ.
๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
นัตถิปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของวิคตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 436
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๑๕๒๒] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ใน
กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย ในอาหารปัจจัย ในอินทริยปัจจัย
ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ
[๑๕๒๓] ๑. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 437
[๑๕๒๔] ๒. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปุเรชาตปัจจัย.
[๑๕๒๕] ๓. ปริตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย,
[๑๕๒๖] ๔. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๕๒๗] ๕. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๕๒๘] ๖. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 438
[๑๕๒๙] ๗. มหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ
มหัคคตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของกัมมปัจจัย.
[๑๕๓๐] ๘. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณธรรม
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๑๕๓๑] ๙. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๕๓๒] ๑๐. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๑๕๓๓] ๑๑. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตธรรม และ
อัปปมาณธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๕๓๔] ๑๒. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัย
แก่ปริตตธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 439
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ.
[๑๕๓๕] ๑๓. ปริตตธรรม และอัปปมาณธรรม เป็นปัจจัย
แก่อัปปมาณธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ.
[๑๕๓๖] ๑๔. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
ปริตตธรรม ฯลฯ
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ.
[๑๕๓๗] ๑๕. ปริตตธรรม และมหัคคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
มหัคคตธรรม ฯลฯ
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๕๓๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๕
วาระ ในนอธิปติปัจจัย ในนอนันตรปัจจัย ในนสมนันตรปัจจัย แต่ละปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 440
มี ๑๕ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๒ วาระ
ในนนิสสยปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในปุเรชาต-
ปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๕
วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๑๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในน-
วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย
มี ๑๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๑๕ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๕๓๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ...ใน
นอธิปติปัจจัย ในนอนันตรปัจจัย ในนสมนันตรปัจจัย แต่ละปัจจัยมี ๗ วาระ
ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปุเร-
ชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 441
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๕๔๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ...ใน
อธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ
ในกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ ใน
นัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปริตตติกะที่ ๑๒ จบ*
*ติกะนี้ ไม่มีอรรถกถาอธิบาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 442
๑๓. ปริตตารัมมณติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๕๔๑] ๑. ปริตตารัมมณธรรม อาศัยปริตตารมมณธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒.
[๑๕๔๒] ๒. มหัคคตารัมมณธรรม อาศัยมหัคคตารัมมณ-
ธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์
๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ
[๑๕๔๓] ๓. อัปปมาณารัมมณธรรม อาศัยอัปปมาณารัมมณ-
ธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 443
๒. อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
[๑๕๔๔] ปริตตารัมมณธรรม อาศัยปริตตารัมมณธรรม เกิด
ขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๕๔๕] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๕๔๖] ๑. ปริตตารัมมณธรรม อาศัยปริตตารัมมณธรรม
เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ซึ่งเป็น
อเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตารัมมณ-
ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
[๑๕๔๗] ๒. มหัคคตารัมมณธรรม อาศัยมหัคคตารัมมณ-
ธรรม ฯลฯ เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 444
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ซึ่งเป็น
อเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
[๑๕๔๘] ๓. อัปปมาณารัมมณธรรม อาศัยอัปปมาณารัมมณ-
ธรรม ฯลฯ เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ซึ่งเป็น
อเหตุกะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
๒. นอธิปติปัจจัย
[๑๕๔๙] ๑. ปริตตารัมมณธรรม อาศัยปริตตารัมมณธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ โนปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๑๕๕๐] ๒. มหัคคตารัมมณธรรม อาศัยมหัคคตารัมมณ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๑๕๕๑] ๓. อัปปมาณารัมมณธรรม อาศัยอัปปมาณารัมมณ-
ธรรม ฯลฯ เพราะนอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 445
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ
อาศัยขันธ์ ๒.
๓. นปุเรชาตปัจจัย
[๑๕๕๒] ๑. ปริตตารัมมณธรรม อาศัยปริตตารัมมณธรรม
ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๑๕๕๓] ๒. มหัคคตารัมมณธรรม อาศัยมหัคคตารัมมณ-
ธรรม ฯลฯ เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
เพราะนุปเรชาตปัจจัย ในมหัคคตารัมมณธรรม ปฏิสนธิ ไม่มี.
[๑๕๕๔] ๓. อัปปมาณารัมมณธรรม อาศัยอัปปมาณารัมมณ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณารัมมณ-
ธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
๔. นปัจฉาชาตปัจจัย ๕. นอาเสวนปัจจัย
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย เหมือนกับ
เพราะนอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 446
๖. นกัมมปัจจัย
[๑๕๕๕] ๑. ปริตตารัมมณธรรม อาศัยปริตตารัมมณธรรม
เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นปริตตารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
ปริตตารัมมณธรรม.
[๑๕๕๖] ๒. มหัคคตารัมมณธรรม อาศัยมหัคคตารัมมณ
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
มหัคคตารัมมณธรรม.
[๑๕๕๗] ๓. อัปปมาณารัมมณธรรม อาศัยอัปปมาณารัมมณ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อัปปมาณารัมมณธรรม.
๗. นวิปากปัจจัย ฯลฯ ๙. นมัคคปัจจัย
[๑๕๕๘] ๑. ปริตตารัมมณธรรม อาศัยปริตตารัมมณธรรม
เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย. ปฏิสนธิ ไม่มี.
เพราะนฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ อาศัย
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
เพราะนมัคคปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 447
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
[๑๕๕๙] ๒. มหัคคตารัมมณธรรม อาศัยมหัคคตารัมมณ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๕๖๐] ๓. อัปปมาณารัมมณธรรม อาศัยอัปปมาณารัมมณ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย
[๑๕๖๑] ๑. ปริตตารัมมณธรรม อาศัยปริตตารัมมณธรรม
เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ
[๑๕๖๒] ๒. มหัคคตารัมมณธรรม อาศัยมหัคคตารัมมณ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 448
[๑๕๖๓] ๓. อัปปมาณรัมมณธรรม อาศัยอัปปมาณารัมมณ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๕๖๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
ฯลฯ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอา-
เสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓
วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๕๖๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ...ใน
นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 449
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๕๖๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ...ใน
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย
มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหาร-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
ในมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปฏิจจวาระ จบ
สหชาตวาระก็ดี ปัจจัยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี
สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 450
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๕๖๗] ๑. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๕๖๘] ๒. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๑๕๖๙] ๓. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 451
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๕๗๐] ๑. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้วพิจารณา
กุศลกรรมนั้น.
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม,
พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.
พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรม โดยความเป็น
ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ
ปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส
ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยปริตตารัมมณปริตตจิต ด้วย
เจโตปริยญาณ.
ปริตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริย-
ญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๕๗๑] ๒. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 452
คือ บุคคลพิจารณาทิพยจักษุ พิจารณาทิพโสตธาตุ พิจารณาอิทธิวิธ-
ญาณที่เป็นปริตตารัมมณธรรม พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ พิจารณาปุพเพ-
นิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ พิจารณายถากัมมูปคญาณ ฯลฯ พิจารณาอนาคตังส-
ญาณ.
บุคคลพิจารณาเห็นมหัคคตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรม
โดยของความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภ
ขันธ์นั้น ราคะที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยมหัคคตจิต ที่เป็นปริตตา-
รัมมณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
มหัคคตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโต-
ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๕๗๒] ๓. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ฯลฯ พิจารณาวิญญานัญจายตนะ พิจารณาเนวสัญญานา-
สัญญายตนะ พิจารณาอิทธิวิญญาณ ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม พิจารณา
เจโตปริยญาณ พิจารณาปุพเพนิวาสานุสสติญาณ พิจารณายถากัมมูปคญาณ
พิจารณาอนาคตังสญาณ.
บุคคลพิจารณาเห็นมหัคคตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม
โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภ
ขันธ์นั้น ราคะที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 453
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยมหัคคตจิตที่เป็นมหัคคตา-
รัมมณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
มหัคคตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโต-
ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๕๗๗] ๔. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลพิจารณาปฐมฌานปัจจเวกขณะฯลฯ พิจารณาเนวสัญญานา-
สัญญายตนปัจจเวกขณะ พิจารณาทิพพจักขุปัจจเวกขณะ พิจารณาทิพพโสต-
ธาตุปัจจเวกขณะ อิทธิวิธญาณปัจจเวกขณะ ฯลฯ เจโตปริยญาณปัจจเวกขณะ-
ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณปัจจเวกขณะ ฯะฯ ยถากัมมูปคญาณปัจจเวกขณะ
ฯลฯ พิจารณาอนาคตังสญาณปัจจเวกขณะ.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม
พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.
บุคคลพิจารณาเห็นปริตตขันธ์ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม
โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภ
ขันธ์นั้น ราคะที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยปริตตจิต ที่เป็นมหัคคตา-
รัมมณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 454
ปริตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโต-
ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๕๗๔] ๕. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมา-
ณารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยอัปปมาณจิต ที่เป็นอัปปมา-
ณารัมมณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
อัปปมาณขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่
เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสนุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๕๗๕] ๖. อัปปมาณารัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณาโคตรภู, พิจารณาโวทาน, พิจารณา
มรรคปัจจเวกขณะ, พิจารณาผลปัจจเวกขณะ, พิจารณานิพพานปัจจเวกขณะ.
บุคคลพิจารณาเห็นปริตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอิปปมาณารัมณธรรม
โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยปริตตจิต ที่เป็นอัปปมาณา-
รัมมณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 455
ปริตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโต-
ปริญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๕๗๖] ๗. อัปปมาณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณาเจโตปริยญาณที่เป็นอัปปมาณารัมมณ-
ธรรม พิจารณาปุพเพนิวาสานุสสติญาณ พิจารณาอนาคตังสญาณ รู้จิตของ
บุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยมหัคคตจิตที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ด้วยเจโต-
ปริยญาณ
มหัคคตขันธ์ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ
แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๕๗๗] ๑. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศล
กรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อนให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 456
บุคคลกระทำปริตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้ง
หลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๕๗๘] ๒. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลกระทำทิพยจักษุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
กระทำทิพโสตธาตุ ฯลฯ อิทธิวิธญาณที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ เจโต-
ปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ กระทำ
อนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
บุคคลย่อมยินดีย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำมหัคคตขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นปริตตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักเเน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้น
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ
ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๕๗๙] ๓. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 457
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลกระทำวิญญาณัญจายตนะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ อิทธิวิธญาณที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ
เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำมหัคคตขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ
ขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม
ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๕๘๐] ๔. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลกระทำปฐมฌานปัจจเวกขณะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
พิจารณาฯลฯ กระทำอนาคตังสญาณปัจจเวกขณะ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 458
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะการทำปริตตขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้น
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ
ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๕๘๑] ๕. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่นแล้ว พิจารณา กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย.
[๑๕๘๒] ๖. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระเสกขบุคคลทั้งหลาย กระทำโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
แล้วพิจารณา, กระทำโวทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา,
กระทำมรรคปัจจเวกขณะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา, กระ-
ทำผลปัจจเวกขณะ ฯลฯ กระทำนิพพานปัจจเวกขณะ ให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่นแล้ว พิจารณา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 459
[๑๕๘๓] ๗. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระเสกขบุคคลทั้งหลายกระทำเจโตปริยญาณที่เป็นอัปปมาณารัมมณ-
ธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำปุพเพนิวาสนุสสติญาณ ฯลฯ
กระทำอนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
๔. อนันตรปัจจัย
[๑๕๘๔] ๑. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตรัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๕๘๕] ๒. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ จุติจิตที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็น
มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ภวังค์ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็นมหัคคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็น
มหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 460
[๑๕๘๖] ๓. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ภวังค์ที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็น
มหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ
อนุโลมที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลมเป็น
ปัจจัยแก่โวทาน.
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๕๘๗] ๔. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
[๑๕๘๘] ๕. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
คือ จุติจิตป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็น
ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ภวังค์ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็น
ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็น
ปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 461
[๑๕๘๙] ๖. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ภวังค์ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็น
อัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ
อนุโลมที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม
เป็นปัจจัยแก่โวทาน.
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ.
เนวสัญญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผล-
สมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๕๙๐] ๗. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนัน-
ตรปัจจัย.
โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค. โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค.
มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล.
ผลเป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๕๙๑] ๘. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ มรรคปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตตารัมมณ-
ธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 462
ผลปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตตารัมมณธรรม.
นิพพานปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตตารัมมณธรรม.
เจโตปริยญาณที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่
เป็นปริตตารัมมณธรรม.
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เป็นปัจจัยแก่วุฎฐานะที่เป็นปริตตารัมมณ-
ธรรม.
อนาคตังสญาณ เป็นปัจจัยแก่วุฎฐานะที่เป็นปริตตารัมมณธรรม.
ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
[๑๕๙๒] ๙. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย
คือ มรรคปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นมหัคคตารัมมณ-
ธรรม, ผลปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐาน ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม.
นิพพานปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม.
ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย
[๑๕๙๓] ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับ อนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 463
๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๑๕๙๔] ๑. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอัญญ-
มัญญปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ พึงกระทำ
เหมือนกับปฏิจจวาระ.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปริตตารัมมณธรรมแล้ว ให้ทาน
สมาทานศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม ฯลฯ ยังฌานที่เป็นปริตตารัมมณธรรม
ให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ
ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยปัญญา ราคะ
โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย
แล้วให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรม ฯลฯ ยังฌานที่เป็นปริตตา-
รัมมณธรรมให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติ ให้เกิด
ขึ้น ย่อมฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธาที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลๆ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความ
ปรารถนา สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปริตตา-
รัมมณธรรมแก่ปัญญา แก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่
ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 464
[๑๕๙๕] ๒. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นปริตตารัมมณธรรมแล้ว ยังฌานที่
เป็นมหัคคตารัมมณธรรมให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยัง
สมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยปัญญา
ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกายแล้ว ยังฌานที่เป็น
มหัคคตารัมมณธรรมให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
ศรัทธาที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ ฯลฯ
แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๕๙๖] ๓. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นปริตตารัมมณธรรมแล้ว ยังฌานที่
เป็นอัปปมาณารัมมณธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังฌานที่
ให้เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 465
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ
ฯลฯ สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ยังฌานที่เป็นอัปปมาณธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค
ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
ศรัทธาที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๕๙๗] ๔. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรมแล้ว ยังฌานที่
เป็นมหัคคตารัมมณธรรมให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยัง
สมาบัติ ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ
ฯลฯ ความปรารถนา ฌานที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ ถือทิฏฐิ.
ศรัทธาที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความ
ปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ แก่ความ
ปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๕๙๘] ๕. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 466
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม แล้วให้ทาน
สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ ยัง
วิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติ ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ ความปรารถนา
แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ.
ศรัทธาที่เป็นมหคัคตารัมมณธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัย
แก่ศรัทธาที่เป็นปริตตารัมมณธรรม แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่
ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๕๙๙] ๖. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรมแล้ว ยังฌานที่
เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้
เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยความ
ปรารถนาแล้ว ยังฌานที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 467
ศรัทธาที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัย
แก่ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
[๑๖๐๐] ๗. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรมแล้ว ยังฌาน
ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยปัญญา
แล้ว ยังฌานที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๖๐๑] ๘. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 468
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธา ที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรมแล้ว ให้ทาน
สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นปริตตารัมมณธรรม ให้เกิด
ขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยปัญญา
แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ที่ปริตตารัมมณธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๖๐๒] ๙. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรมแล้ว ยังฌานที่
เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ อาศัยปัญญา
แล้วยังฌานที่มหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ
ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 469
ศรัทธาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ฯลฯ ปัญญา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. อาเสวนปัจจัย
[๑๖๐๓] ๑. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอานาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปริตตารัมมณธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวน-
ปัจจัย.
[๑๖๐๔] ๒. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ อนุโลมที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๑๖๐๕] ๓. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อาเสวนปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 470
[๑๖๐๖] ๔. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณา-
รัมณณธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ อนุโลมที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๑๖๐๗] ๕. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อาเสวนปัจจัย.
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค.
โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๑๑. กัมมปัจจัย
[๑๖๐๘] ๑. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 471
เจตนาที่เป็นปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
ปริตตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๖๐๙] ๒. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้ง
หลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
มหัคคตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๖๑๐] ๓. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นมหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
ปริตตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๖๑๑] ๔. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 472
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อัปปมาณารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๖๐๒] ๕. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
ปริตตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
๑๒. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๑. อวิคตปัจจัย
[๑๖๑๓] ๑. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหาร-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของสัมปยุตตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 473
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๖๑๔] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย
มี ๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหาร-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ
ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓
วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย
มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๑๖๑๕] ๑. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 474
[๑๖๐๖] ๒. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
[๑๖๑๗] ๓. ปริตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๖๑๘] ๔. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหคัคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๖๑๙] ๕. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตา
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๖๒๐] ๖. มหัคคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๖๒๑] ๗. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปมาณา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 475
[๑๖๒๒] ๘. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปริตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๖๒๓] ๙. อัปปมาณารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มหัคคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๖๒๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙
วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในน-
สมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญ
ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗
วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในน
อาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตต-
ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มึ ๙ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๙
วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ. ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน
โนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 476
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๖๒๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ...ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาร ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัยมี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓
วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย
มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๖๒๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ... ใน
อธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย
มี ๕ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ใน
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอัตถิปัจจัย มี ๙
วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
ปริตตารัมมณติกะที่ ๑๓ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 477
อรรถกถาปริตตารัมมณติกะ
สองบทว่า อปฺปมาณารมฺมณา เจตนา ใน ปริตตารัมมณติกะ
คือ เจตนาในโคตรภู เป็นปัจจัยแก่เสกขธรรม จะกล่าวว่า ปัจจเวกขณเจตนา
ก็ได้. สองบทว่า วิปากาน ปริตฺตารมฺมณาน คือวิบากที่มีกรรมเป็น
อารมณ์เกิดขึ้นในปฏิสนธิกาล มีรูปเป็นต้นเป็นอารมณ์ เกิดขึ้นด้วยอำนาจ
จักขุวิญญาณเป็นต้น มีปริตตารมณ์ที่ชวนะรับมาเกิดขึ้นด้วยอำนาจตทารัมมณะ
ในปวัตติกาล ก็อาจารย์เหล่าใดกล่าวว่า ปฏิสนธิย่อมไม่มี เพราะโคตรภูจิต
เป็นปัจจัย อาจารย์เหล่านั้น พึงถูกคัดค้านด้วยสูตรนี้. คำที่เหลือในอธิการนี้พึง
ทราบตามนัยแห่งบาลีนั่นเอง
หีนติกะเช่นเดียวกับสังกิลิฏฐติกะ
อรรถกถาปริตตารัมมณติกะ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 478
๑๔. หีนติกะ๑
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๖๒๗] ๑. หีนธรรม อาศัยหีนธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นหีนธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒.
๒. มัชฌิมธรรม อาศัยหีนธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นหีนธรรม.
๓. หีนธรรม และมัชฌิมธรรม อาศัยหีนธรรม เกิด
ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นหีนธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๖๒๘] ๔. มัชฌิมธรรม อาศัยมัชฌิมธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัชฌิมธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๑ อรรถกถาแก้ว่า หีนติกะ เหมือนกับสังกิลิฏฐติกะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 479
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย
หทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปทารูปอาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๑๖๒๙] ๕. ปณีตธรรม อาศัยปณีตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๖๓๐] ๘. มัชฌิมธรรม อาศัยมัชฌิมธรรม และปณีตธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นปณีตธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
[๑๖๓๑] ๙. มัชณิมธรรม อาศัยหีนธรรม และมัชณิมธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย.
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นหีนธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย
หีนติกะ พึงให้พิสดารเหมือนกับสังกิลิฏฐติกะ พึงใส่ให้เต็ม.
หีนติกะ ที่ ๑๔ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 480
๑๕. มิจฉัตตติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๖๓๒] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิด
ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๒. อนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม.
๓. มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม อาศัยมิจ-
ฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยต-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๖๓๓] ๔. สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยสัมมัตตนิยตธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (คือวาระที่ ๔-๕-๖)
[๑๖๓๔] ๕. อนิยตธรรมอาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 481
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ เป็นอนิยต-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย
หทยวัตถุ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑, ฯลฯ มหาภูตรูป ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป ทั้งหลาย.
[๑๖๓๕] ๕. อนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม และ
ภูตรูปทั้งหลาย.
[๑๖๓๖] ๙. อนิยตธรรม อาศัยสัมมัตตนิยตธรรม และ
อนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม และมหา-
ภูตรูปทั้งหลาย.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๖๓๗] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม
เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 482
[๑๖๓๘] ๒. สัมมัตตนิตยธรรม อาศัยสัมมัตตนิตยธรรม
เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๖๓๙] ๓. อนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิตยธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
ปัจจัยทั้งหมด พึงให้พิสดารด้วยเหตุนี้.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๖๔๐] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอธิปธิปัจจัย มี ๙ วาระ ให้อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิลสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓
วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย
มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาร ะ ในฌาน-
ปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 483
ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี
๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนับ จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๖๔๑] ๑. อนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม
ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
พาหิรรูป ... อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้ง
หลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๑๖๔๒] ๑. อนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 484
๓. นอธิปติปัจจัย
[๑๖๔๓] ๑. มิจฉัตตนิตยธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม
เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็น
มิจฉัตตนิยตธรรม.
[๑๖๔๔] ๒. สัมมัตตนิตยธรรม อาศัยสัมมัตตนิยตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นสัมมัตตานิยตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
สัมมัตตนิยตธรรม.
[๑๖๔๕] ๓. อนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย
หทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
๔. นอนันตรปัจจัย
[๑๖๔๖] อนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอนันตรปัจจัย
ปัจจัยทั้งหมด พึงให้พิสดาร.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 485
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๖๔๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในน-
ฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕
วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย ที่ ๕ วาระ ใน
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๖๔๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ...ในน
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย ในนสมนันตรปัจจัย ในนอัญญ-
มัญญปัจจัย ในนอุปนิสสยปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย
มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ
ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมมปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 486
มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ
ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๖๔๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ...ใน
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย
มี ๑ วาระ ฯลฯ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปัจจยวาระ จบ
สหชาตวาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 487
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๖๕๐] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑-๓)
๔. สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยสัมมัตตนิยตธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔-๖)
[๑๖๕๑] ๗. อนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม ฯลฯ เพราะเหตุ
ปัจจัย
คือ ขันธ์ และจิตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย
หทยวัตถุ.
ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๘. มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม ฯลฯ เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 488
๙. สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๑๐. มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม อาศัย
อนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๑๑. สัมมัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม อาศัยอนิยต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายทีเป็นสัมมัตตนิยตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
จิตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๑๖๕๒] ๑๒. มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม
และอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม และหทยวัตถุ,
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๑๓. อนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 489
๑๔. มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม อาศัย
มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตมิยตธรรม แลหทยวัตถุ
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๑๖๕๓] ๑๕. สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยสัมมัตตนิยตธรรม
และอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑๕-๑๗)
เหมือนกับมิจฉัตตธรรม.
พึงนับอย่างนี้.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๖๕๔] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิด
ขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย ฯลฯ พึงแจกเหมือนกับปัจจัยวาระในกุสลติกะ.
เพราะ อวิคตปัจจัย ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๖๕๕] นเหตุปัจจัย ๑๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตร-
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี
๗ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ. ในอุปนิสสย ปัจจัย มี ๗ วาระ ใน
ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ ในกัมปัจจัย มี
๑๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ ใน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 490
อินทริยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี
๑๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗
วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๖๕๖] ๑. อนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม
ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย
อาศัยหทยวัตถุ,
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 491
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๑๖๕๗] ๑. อนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม.
เหมือนกับ กุสลติกะ พึงกระทำเป็น ๕ วาระ.
๓. นอธิปติปัจจัย
[๑๖๕๘] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมเป็นมิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
มิจฉัตตนิยตธรรม.
[๑๖๕๙] ๒. สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยสัมมัตตนิยตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
สัมมัตตนิยตธรรม.
[๑๖๖๐] ๓. อนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 492
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ อาศัยจักขาย-
ตนะ ฯลฯ อาศัยกายายตนะ. ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๔. มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยอนิยตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๕. สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรมและ
เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นสัมมิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
[๑๖๖๑] ๖. มิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยนิจฉัตตนิยตธรรมและ
อนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
มิจฉัตตนิยตธรรม และหทยวัตถุ.
[๑๖๖๒. ] ๗. สัมมัตตนิยตธรรม อาศัยสัมมัตตนิยตธรรม
และอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
สัมมัตตนิยตธรรม และหทยวัตถุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 493
๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย
[๑๖๖๓] ๑. อนิยตธรรม อาศัยมิจฉัตตนิยตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอนันตรปัจจัย ฯลฯ
เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๖๖๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕
วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในน-
สมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี
๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ใน
นวิปากปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย
มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในน-
สัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย
มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๖๖๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ... ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 494
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๑๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ
ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๖๖๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ...ใน
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
นิสสยวาระ เหมือนกับปัจจยวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 495
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๖๖๗] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เจือกับมิจฉัตตนิยตธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๖๖๘] ๒. สัมมัตตนิยตธรรม เจือกับสัมมัตตนิยตธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒
ฯลฯ.
[๑๖๖๙] ๓. อนิยตธรรม เจือกับอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๒. อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
[๑๖๗๐] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เจือกับมิจฉัตตนิยตธรรม
เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 496
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๖๗๑] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
ฯลฯ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย
มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๖๗๒] ๑. อนิยตธรรม เจือกับอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. นอธิปติปัจจัย
[๑๖๗๓] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เจือกับมิจฉัตตนิยตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เจือกับขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
มิจฉัตตนิยตธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 497
[๑๖๗๔] ๒. สัมมัตตนิยตธรรม เจือกับสัมมัตตนิยตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม เจือกับขันธ์ทั้งหลาย ที่
เป็นสัมมัตตนิยตธรรม.
[๑๖๗๕] ๓. อนิยตธรรม เจือกับอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิตยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๓. นปุเรชาตปัจจัย
[๑๖๗๗] สัมมัตตนิยตธรรม เจือกับสัมมัตตนิยตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๖๗๗] ๒. อนิยตธรรม เจือกับอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์
์๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 498
๔. นปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๖๗๘] มิจฉัตนิยตธรรม เจือกับมิจฉัตตนิยตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม. (๓ วาระ)
๕. นอาเสวนปัจจัย
[๑๖๗๙] ๑. อนิยตธรรม เจือกับอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๖. นกัมมปัจจัย ๗. นวิปากปัจจัย
[๑๖๘๐] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เจือกับมิจฉัตตนิยตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย เพราะนวิปากปัจจัย ฯลฯ.
๘. นฌานปัจจัย ๙. นมัคคปัจจัย
[๑๖๘๑] ๑. อนิยตธรรม เจือกับอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นฌานปัจจัย
คือ ปัญจวิญญาณ ฯลฯ
เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยอนิยตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 499
๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย
[๑๖๘๒] ๑. สัมมัตตนิยตธรรม เจือกับสัมมัตตนิยตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๖๘๓] ๒. อนิยตธรรม เจือกับอนิยตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๖๘๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอา-
เสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓
วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๖๘๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ... ในน-
ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 500
มี ๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในน
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
[๑๖๘๑] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ...ใน
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
จบ สังสัฏฐาวาระ
สัมปยุตตวาระ เช่นเดียวกับสังสัฏฐวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 501
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๖๘๗] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยต-
ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๖๘๘] ๒. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
รูปทั้งหลาย.
[๑๖๘๙] ๓. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยต-
ธรรม และอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๖๙๐] ๔. สัมมัตตนิตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยต-
ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 502
[๑๖๙๑] ๕. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย
อำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๖๙๒] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นมิจฉตตานิยต-
ธรรม รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.
พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม โดยความเป็นของ
ไม่เที่ยง ฯลฯ
รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ด้วย
เจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ
แก่ปุพเพนิวาสานุสสติฌาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่
อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๖๙๓] ๒. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 503
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค.
รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม ด้วย
เจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ
แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
[๑๖๙๔] ๓. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณา
กุศลกรรมนั้น.
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
ออกจากฌาน พิจารณาฌาน.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณาผล พิจารณานิพพาน.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่ผล แก่อาวัชชนะ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอนิยตธรรม กิเลสที่
ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ
พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม
โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลิน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 504
ยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นอนิยตธรรม ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส
ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอนิยตธรรม ด้วย
เจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจาตนะ, อากิญจัญญาย-
ตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิญญาณ แก่เจโต-
ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๖๙๕] ๔. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมัมณปัจจัย.
คือ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม แก่ปิตุมาตกรรม
แก่อรหันตฆาตกรรม แก่รุหิรุปปาทกรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้ลูบคลำ ซึ่ง
หทยวัตถุใด หทยวัตถุนั้น เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 505
[๑๖๙๖] ๕. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๖๙๗] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๖๙๘] ๒. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๖๙๙] ๓. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยต-
ธรรม และอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 506
อธิปติธรรมที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสุมฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๗๐๐] ๔. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตนิยต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๗๐๐] ๕. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว พิจารณา.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสัมมัตตนิตยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๗๐๒] ๖. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยต-
ธรรมและอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 507
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
[๑๗๐๓] ๗. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทำกุศล-
กรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อนให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
พระอริยะทั้งหลายกระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
พิจารณา กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่ผล ด้วยอำนาจ
ของอธิปติปัจจัย.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะการทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุ
เป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นอนิยตธรรม ย่อม
เกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 508
อธิปติธรรมที่เป็นอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๗๐๔] ๘. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๔. อนันตรปัจจัย
[๑๗๐๕] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๗๐๖] ๒. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ มรรค เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย
[๑๗๐๗] ๓. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 509
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแกโคตรภู
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน.
ผล เป็นปัจจัยแก่ผล.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ.
เนวสัญญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผล
สมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๗๐๘] ๔. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ โทมนัสที่เป็นอนิตยธรรม เป็นปัจจัยแก่โทนัสที่เป็นมิจฉัตต-
นิยตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย, มิจฉาทิฏฐิที่เป็นอนิยตธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มิจฉาทิฏฐิที่เป็นนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๗๐๙] ๕. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 510
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย
[๑๗๑๐] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย.
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ มี
๙ วาระ.
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ
มี ๓ วาระ.
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย เหมือนกับ กุสลติกะ มี
๑๓ วาระ.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๑๗๑๑] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยต-
ธรรม ด้วยอำนาจอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
มาตุฆาตกรรม เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
มาตุฆาตกรรม ฯลฯ ปิตุฆาตกรรม ฯลฯ อรหันตฆาตกรรม ฯลฯ
รุหิรุปปาทกรรม ฯลฯ สังฆเภทกรรม ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่นิตยมิจฉาทิฏฐิ ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พึงกระทำจักรนัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 511
นิยตมิจฉาทิฏฐิ เป็นปัจจัยแก่นิยตมิจฉาทิฏฐิ ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
นิยตมิจฉาทิฏฐิ เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม ฯลฯ แก่สังฆเภทกรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๗๐๒] ๒. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลปลงชีวิตมารดาแล้วเพื่อป้องกันกรรมนั้น ย่อมให้ทาน สมาทาน
ศีล กระทำอุโบสถกรรม
ปลงชีวิตบิดา ฯลฯ ปลงชีวิตพระอรหันต์ ฯลฯ ยังโลหิตของพระ-
ตถาคตให้ห้อด้วยจิตประทุษร้าย ฯลฯ ทำลายสงฆ์แล้ว เพื่อป้องกันกรรมนั้น
ย่อมให้ทาน สมาทานศีล การทำอุโบสถกรรม.
[๑๗๑๓] ๓. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 512
[๑๗๑๔] ๔. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายเข้าไปอาศัยมรรค แล้วยังสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิด
ขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมพิจารณาเห็นสังขาร โดยความเป็นของไม่
เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.
มรรค เป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทาของพระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ แก่
ความฉลาดในฐานะและอฐานะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๗๑๕] ๕. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอนิยตธรรมแล้ว ย่อมให้ทาน สมาทาน
ศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌาน ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น
ย่อมก่อมานะ ย่อมถือทิฏฐิ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 513
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอนิยตธรรม อาศัยสุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ
ฯลฯ ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เสนาสนะแล้ว
ย่อมให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม.
ศรัทธาที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ เสนาสนะเป็น
ปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่
ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
บริกรรมแห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌานนั้นแหละ ฯลฯ บริ-
กรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายาตนะ
นั้นแหละ.
ปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัย
แก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ
ปาณาติบาต เป็นปัจจัยแก่ปาณาติบาต ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
พึงกระทำจักรนัย.
[๑๗๑๖] ๖. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 514
บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นอนิยตธรรมแล้วปลงชีวิตมารดา ฯลฯ ทำ
ลายสงฆ์.
บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ อาศัยความปรารถนา
ฯลฯ อาศัยสุขทางกาย ฯลฯ อาศัยเสนาสนะแล้ว ปลงชีวิตมารดา ฯลฯ ทำลาย
สงฆ์.
ราคะที่เป็นอนิยตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม
แก่ปิตุฆาตกรรม แก่อรหันตฆาตกรรม แก่รุหิรุปปาทกรรม แก่สังฆเภทกรรม
แก่นิยตมิจฉาทิฏฐิ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๗๑๗] ๗. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ฯลฯ บริกรรมแห่ง
จตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๑๗๑๘] ๑. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 515
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ
ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นอนิยต-
ธรรม ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม ด้วยอำนาจ
ของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๗๑๙] ๒. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม แก่ปิตุฆาตกรรม แก่
อรหันตฆาตกรรม แก่รุหิรุปปาทกรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 516
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๗๒๐] ๓. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น วัตถุปุเราตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๗๒๑] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๗๒๒] ๒. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 517
[๑๗๒๓] ๓. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย
อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย
นี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๑๗๒๔] ๑. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่นิยตธรรม ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๑๗๒๕] ๒. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ โทมนัสที่เป็นอนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่โทมนัสที่เป็นมิจฉัตตนิยต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย อนิยตมิจฉาทิฏฐิ เป็นปัจจัยแก่นิยต-
มิจฉาทิฏฐิ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๑๗๒๖] ๓. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 518
คือ โคตรภู เป็นปัจจัยมรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๑๗๒๗] ๓. มิจฉัตตนิตยธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยต-
ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๗๒๘] ๒. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และกฏัตตา-
รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๗๒๙] ๓. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยต-
ธรรม และอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 519
คือ เจตนาที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๗๓๐] ๔. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
คือ เจตนาที่เป็นสัมตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๗๓๑] ๕. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๗๓๒] ๖. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยต-
ธรรม และอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 520
คือ เจตนาที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๗๓๓] ๗. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอนิยตธรรม, เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอนิตยธรรม เป็นปัจจัยแก่ วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๑๔. วิปากปัจจัย
[๑๗๓๔] ๑. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย
อำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิยตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 521
๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
[๑๗๓๕] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อินทริยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
[๑๗๓๖] ๑. มิจฉัตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย
นี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๗๓๗] ๒. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 522
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๗๓๘] ๓. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตตธรรม ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของ
วิปปยุตตปัจจัย หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตต-
ปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม ด้วยอำนาจ-
ของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 523
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๗๓๙] ๔. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๗๔๐] ๕. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๑๗๔๑] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 524
[๑๗๔๒] ๒. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๗๔๓] ๓. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยต-
ธรรม และอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๗๔๔] ๔. สัมมัตตนิตยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๔-๖).
[๑๗๔๕] ๖. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 525
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิตยธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็น
ต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่จักขุทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 526
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด
ก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิ
ปัจจัย.
[๑๗๔๖] ๘. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยธรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม ฯลฯ แก่รุหิรุปปาทกรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๗๔๗] ๙. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสัมมัตตนิยตธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
[๑๗๔๘] ๑๐. มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เป็นปัจจัย
แก่มิจฉัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 527
อย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
ขันธ์ ๑ ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมที่เกิดพร้อมกัน และหทยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ ฯลฯ
[๑๗๔๙] ๑๑. มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เป็นปัจจัย
แก่อนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมที่เกิดพร้อมกัน และมหาภูตรูปทั้งหลาย
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง และกวฬี-
การาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมิจฉัตตนิยตธรรมที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตนทรีย์
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๗๕๐] ๑๒. สัมมัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เป็นปัจจัย
แก่สัมมัตตนิยตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ (วาระที่
๑๒-๑๓) เหมือนกับมิจฉัตตนิยตธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 528
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๗๕๑] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๘ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๕ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗
วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย
มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ
ในอัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๕
วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๑๗๕๒] ๑. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยต-
ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 529
[๑๗๕๓] ๒. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๗๕๔] ๓. มิจฉัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยต-
ธรรม และอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๗๕๕] ๔. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยต-
ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
[๑๗๕๖] ๕. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๗๕๗] ๖. สัมมัตตนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยต-
ธรรม และอนิยตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 530
[๑๗๕๘] ๗. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิยตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเร-
ชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็น
ปัจจัยด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๑๗๕๙] ๘. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๗๖๐] ๙. อนิยตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมมัตตนิยตธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๗๖๑] ๑๐. มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เป็นปัจจัย
แก่มิจฉัตตนิยตธรรม ฯลฯ
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
[๑๗๖๒] ๑๑. มิจฉัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เป็นปัจจัย
แก่อนิยตธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 531
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ
[๑๗๖๓] ๑๒. สัมมัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เป็นปัจจัย
แก่สัมมัตตนิยตธรรม ฯลฯ
มี อย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
[๑๗๖๔] ๑๓. สัมมัตตนิยตธรรม และอนิยตธรรม เป็นปัจจัย
แก่อนิยตธรรม
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๗๖๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย ในนอธิปติ-
ปัจจัย ในนอนันตรปัจจัย ในนสมนันตรปัจจัย แต่ละปัจจัย ๑๓ วาระ ในน-
สหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ ในนนิสสยปัจจัย
มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ
ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนกัมม-
ปัจจัย ในนวิปากปัจจัย ในนอาหารปัจจัย แต่ละปัจจัยมี ๑๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย
มี ๑๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 532
ในโนอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย
มี ๑๓ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๗๖๖] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ...ในน-
อธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย
มี ๗ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
ฯลฯ ในนมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๗๖๗] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ...ใน
อธิปติปัจจัย มี ๘ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๕ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
นิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 533
ในกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ
ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย แต่ละปัจจัยมี ๗ วาระ ในสัมปยุตต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
มิจฉัตตติกะที่ ๑๕ จบ
อรรถกถามิจฉัตตติกะ
ใน มิจฉัตตติกะ มิจฉัตตนิยตธรรม ย่อมไม่เป็นปัจจัยโดยปัจจัย
ไร ๆ แก่สัมมมัตตนิยตธรรม หรือสัมมมัตตนิยตธรรม ย่อมไม่เป็นปัจจัยโดยปัจจัย
ไร ๆ แก่มิจฉัตตนิยธรรม มิจฉัตตนิยตธรรม หรือสัมมัตตนิยธรรม ชื่อว่า
เว้นสหชาตาธิปติปัจจัย ย่อมไม่มี. ใน สัมมัตตนิยตธรรมย่อมไม่มีอารัม-
มณปุเรชาต๑ ปัจจัยโดยแน่นอน (คือ สัมมัตตนิยตธรรมไม่เป็นอารัมมณ-
ปุเรชาตปัจจัยแน่นอน). ใน มิจฉัตตนิยตธรรม มีอารัมมณปุเรชาตปัจจัย.
นิยตมิจฉาทิฏฐิ พึงปรารภอนิยตจิตเกิดขึ้นได้ นิยตจิตย่อมไม่ปรารภ
นิยตจิตที่เหลือเกิดขึ้น. ธรรมอะไร ๆ ย่อมไม่ทำมิจฉัตตนิยตธรรมให้หนักเกิด
ขึ้น กุศลย่อมไม่เป็นอุปนิสสยปัจจัยแก่มิจฉัตตนิยตธรรม คำที่เหลือในอธิการนี้
พึงทราบตามนัยที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ในบาลี.
อรรถกถามิจฉัตตติกะ จบ
๑. ของไทยหน้า ๖๖๓ บรรทัดที่ ๑ เป็น วตฺถุปุเรชาต แต่ผิดสภาวะ จึงแปลตามบาลี
พม่าที่เป็น อารมฺมณปุเรชาต.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 534
๑๖. มัคคารัมมณติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๗๖๘] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๒. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณ-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๓. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
มัคคารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๗๖๙] ๔. มัคคเหตุกธรรม อาศัยมัคคเหตุกธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 535
๕. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคเหตุกธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคาธิปติปธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคเหตุก-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๖. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
มัคคเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์
๑ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๗๗๐] ๗. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๘. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๙. มัคคเหตุธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคาธิปติ-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 536
๑๐. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
มัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๑๑. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
มัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์
๑ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๗๗๑] ๑๒. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม
และมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคา-
รัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๑๓. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม
และ มัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณ-
ธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๑๔. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วย
มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 537
[๑๗๗๒] ๑๕. มัคคเหตุกธรรม อาศัยมัคคเหตุกธรรม และ
มัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๑๖. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคเหตุกธรรม และ
มัคคาอธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคเหตุก-
ธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๑๗. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์
๑ ที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๒. อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๒๒. อวิคตปัจจัย
[๑๗๗๓] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิด
ขึ้น เพราะะอารัมมณปัจจัย, เพราะอธิปติปัจจัย, เพราะอนันตรปัจจัย,
เพราะสมนันตรปัจจัย, เพราะสหชาตปัจจัย, เพราะอัญญมัญญปัจจัย,
เพราะนิสสยปัจจัย, เพราะอุปนิสสยปัจจัย, เพราะปุเรชาตปัจจัย,
เพราะอาเสวนปัจจัย, เพราะกัมมปัจจัย, เพราะอาหารปัจจัย เพราะ
อินทริยปัจจัย, เพราะฌานปัจจัย, เพราะมัคคปัจจัย, เพราะสัมป-
ยุตตปัจจัย, เพราะวิปปยุตตปัจจัย, เพราะอัตถิปัจจัย, เพราะนัตถิปัจจัย
เพราะวิคตปัจจัย, เพราะอวิคตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 538
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๗๗๔] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย ในอธิปติ-
ปัจจัย ในอนันตรปัจจัย ในสมนันตรปัจจัย ในสหชาตปัจจัย ให้อัญญมัญญ-
ปัจจัย ในนิสสยปัจจัย ในอุปนิสสยปัจจัย ในปุเรชาตปัจจัย ในอาเสวนปัจจัย
ในกัมมปัจจัย ในอาหารปัจจัย ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย
ในสัมปยุตตปัจจัย ในวิปปยุตตปัจจัย ในอัตถิปัจจัย ในนัตถิปัจจัยั ในวิคต-
ปัจจัย ในอวิคตปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๗๗๕] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๒. นอธิปติปัจจัย
[๑๗๗๖] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 539
๒. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรมเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณ-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๓. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
มัคคารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๗๗๗] ๔. มัคคเหตุกธรรม อาศัยมัคคเหตุกธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคค-
เหตุกรรม.
๕. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคาเหตุกธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคค-
เหตุกธรรม.
๖. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
มัคคาเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมัคคาเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาเหตุกธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 540
[๑๗๗๘] ๗. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
มัคคาธิปติธรรม.
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๘. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรมเกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคาธิปติ-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๙. มัคคเหตุกธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
มัคคาธิปติธรรม.
๑๐. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
มัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๑๑. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
มัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 541
[๑๗๗๙] ๑๒. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม และ
มัคคาธิปตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคา-
รัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๑๓. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม และ
มัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณ-
ธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๑๔. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติ-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๗๘๐] ๑๕. มัคคเหตุกธรรม อาศัยมัตตเหตุกธรรม และ
มัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคค-
เหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม.
๑๖. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคเหตุกธรรม และ
มัคคาธิปติธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 542
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคค-
เหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม.
๑๗. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม.
๓. นปุเรชาตปัจจัย ๔. นปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๗๘๑] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย ทั้งสองปัจจัยนี้ี
พึงทำให้บริบรูณ์ (มี ๑๗ วาระ)
๕. นอาเสวนปัจจัย
[๑๗๘๒] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๒. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณ-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 543
๓. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
มัคคารัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๗๘๓] ๔. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๕. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคาธิปติ
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๖. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
มัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๗๘๔] ๗. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม และ
มัคคาฐิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมณธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคา-
รัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 544
๘. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม และ
มัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณ-
ธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๙. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
มัคคารัมมธรรม และมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวน-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
๖. นกัมมปัจจัย
[๑๗๘๕] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นมัคคารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคา-
รัมมณธรรม.
๒. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคา-
รัมมณธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 545
๓. มัคคารัมมณธรรม และมิคคาธิปติธรรม อาศัย
มัคคารัมมณธรรม ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม.
[๑๗๘๖] ๔. มัคคเหตุกธรรม อาศัยมัคคเหตุกธรรม เกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นมัคคาเหตุกธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุก-
ธรรม.
๕. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคเหตุกธรรม เกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุก-
ธรรม.
๖. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัย
มัคคเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม.
[๑๗๘๗] ๗. มัคคาธิปติธรรม อาศัยมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 546
คือ เจตนาที่เป็นมัคคาธิปติธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติ-
ธรรม. มี ๕ วาระ. (วาระที่ ๗-๑๑)
[๑๗๘๘] ๑๒. มัคคารัมมธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม
และมัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย. ในฆฏนาแรก มี ๓
วาระ. (วาระที่ ๑๒-๑๔)
[๑๗๘๙] ๑๕. มัคคเหตุกธรรม อาศัยมัคคเหตุธรรม และ
มัคคาธิปติธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย. ในฆฏนาที่ ๒ มี ๓ วาระ.
(วาระที่ ๑๕-๑๖-๑๗)
๗. นวิปากปัจจัย
[๑๗๙๐] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม. (๑๗ วาระ)
๘. นมัคคปัจจัย
[๑๗๙๑] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 547
๙. นวิปปยุตตปัจจัย
[๑๗๙๒] ๑. มัคคารัมมณธรรม อาศัยมัคคารัมมณธรรม เกิด
ขึ้น เพราะวิปยุตตปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม ( ๑๗ วาระ) พึงกำหนดว่า อรูป,
การนับจำนวนปัจจัยในปัจจนียะ
[๑๗๙๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนวิปาก-
ปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗
วาระ.
พึงนับอย่างนี้
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๗๙๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ...ในน-
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 548
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๗๙๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ... ใน
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในปัจจัยทั้ง
ปวง มี ๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี
๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปฏิจจวาระ จบ
สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี
สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 549
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๗๙๖] ๑. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๗๙๗] ๒. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๗๔๘] ๓. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย. ผู้มีปัญญาพึง
กระทำเป็น ๑๗ วาระด้วยเหตุนี้.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๗๙๙] ๑. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่แก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 550
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค.
ย่อมรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นมัคคเหตุกธรรม ด้วย
เจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
[๑๘๐๐] ๒. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๐๑] ๓. มัคคาเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๐๒] ๔. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 551
[๑๘๐๓] ๕. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค.
ย่อมรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ด้วย
เจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
[๑๘๐๔] ๖. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๐๕] ๗. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัย
แก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค.
รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคา-
ธิปติธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 552
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัย
แก่เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสสติญาณ, แก่อนาคตังสญาณ แก่อา-
วัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๘๐๖] ๘. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัย
แก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๐๗] ๙. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัย
แก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๘๐๘] ๑. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 553
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๐๙] ๒. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
[๑๘๑๐] ๓. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
อย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้ง
หลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติ
ปัจจัย.
[๑๘๑๑] ๔. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 554
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกรรม เป็นปัจจัยแก่สัปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๑๒] ๕. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๑๓] ๖. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น แล้วพิจารณา.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 555
[๑๘๑๘] ๗. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๑๕] ๘. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นมัคคเหตุกธรรมและมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๑๖] ๙. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอานาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ พิจารณา.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 556
[๑๘๑๗] ๑๐. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ พิจารณา.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๑๘] ๑๑. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๑๙] ๑๒. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 557
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติ
ปัจจัย.
[๑๘๒๐] ๑๓. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นมัคคเหตุกธรรมและมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๒๑] ๑๔. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
อย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคารัมมธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๒๒] ๑๕. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 558
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๒๓] ๑๖. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของ
อธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๒๔]๑๗. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๒๕] ๑๘. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 559
อย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๒๖] ๑๙. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรมและมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๒๗] ๒๐. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของ
อธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ พิจารณา
[๑๘๒๘] ๒ . มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติ-
ปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 560
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย.
๔. อนันตรปัจจัย
[๑๘๒๙] ๑. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๘๓๐] ๒. มัคคารัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
อาวัชชนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 561
[๑๘๓๑] ๓. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม และมัคคาธิปติธรรมด้วย อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรมที่เกิดหลัง ๆ
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรมและ
มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๘๓๒] ๔. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาติปติธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๘๓๓] ๕. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
[๑๘๓๔] ๖. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 562
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๘๓๕] ๗. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ที่เกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๘๓๖] ๘. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ที่เกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคาธิปติธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๘๓๗] ๙. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 563
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ที่เกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติ-
ธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย
[๑๘๓๘] ๑. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับ อนันตรปัจจัย.
๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอัญญมัญญปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ในปัจจัย
ทั้ง ๓ พึงกระทำเป็น ๑๗ วาระ.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๑๘๓๙] ๑. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
ที่ ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะที่เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 564
[๑๘๔๐] ๒. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๑๘๔๑] ๓. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๑๘๔๒] ๔. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 565
[๑๘๔๓] ๕. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๔๔] ๖. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่
จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๔๕] ๗. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๔๖] ๘. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 566
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๑๘๔๗] ๙. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่
จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๑๘๔๘] ๑๐. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 567
[๑๘๔๙] ๑๑. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๑๘๕๐] ๑๒. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๑๘๕๑] ๑๓. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 568
[๑๘๕๒] ๑๔. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๑๘๕๓] ๑๕. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๑๘๕๔] ๑๖. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปัจจเวกขณะ เป็นปัจจัยแก่ปัจจเวกขณะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 569
[๑๘๕๕] ๑๗. มัคคเหตุธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๕๖] ๑๘. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัตตเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่-
จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๕๗] ๑๙. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่
จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 570
[๑๘๕๘] ๒๐. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่นแล้ว พิจารณา.
[๑๘๕๙] ๒๑. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่
จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. อาเสวนปัจจัย
[๑๘๖๐] ๑. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัคคารัมมณธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวน-
ปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 571
[๑๘๖๑] ๒. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของเสวนปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย พึงกระทำเป็น ๙
วาระ, ไม่พึงกระทำอาวัชชนะ.
๑๑. กัมมปัจจัย
[๑๘๖๒] ๑. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย มีแต่สหชาตกรรม นานาขณิกกรรมไม่มี.
๑๒. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๐. อวิคตปัจจัย
๑. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วย
อำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย, ปัจจัย ๗ เหล่านี้ แจกเป็น ๑๗ วาระ เหมือนกับเหตุปัจจัย.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของวิคตปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๘๖๓] ในเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี
๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๗ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 572
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย
มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอาหารปัจจัย ในอินทริยปัจจัย
ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย ในสัมปยุตตปัจจัย แต่ละปัจจัยมี ๑๗ วาระ ใน
อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๑๘๖๔] ๑. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๖๕] ๒. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย
[๑๘๖๖] ๓. มัคคารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 573
[๑๘๖๗] ๔. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๑๘๖๘] ๕. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๑๘๖๙] ๖. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหาชาต-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๗๐] ๗. มัคคเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๗๑] ๘. มัคคเหตุธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๗๒] ๙. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๑๘๗๓] ๑๐. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 574
[๑๘๗๔] ๑๑. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๑๘๗๕] ๑๒. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๗๖] ๑๓. มัคคาธิปติธรรม เป็นปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม
และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๗๗] ๑๔. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๗๘] ๑๕. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๗๙] ๑๖. มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๘๐] ๑๗. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 575
[๑๘๘๑] ๑๘. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคเหตุธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๘๒] ๑๙. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๘๓] ๒๐. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคารัมมธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
[๑๘๘๔] ๒๑. มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม เป็น
ปัจจัยแก่มัคคเหตุกธรรม และมัคคาธิปติธรรม ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๘๘๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗
วาระ.
เมื่อถึงในนอารัมมณปัจจัยแล้ว บททั้ง ๒ คือ ปกตารัมมณะก็ดี อุป-
นิสสยารัมมณะก็ดี ย่อมขาดไป.
ในนอธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ
ในนสมนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในน-
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 576
มี ๒๑ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒๑ วาระ
ในนวิปากปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอินทริย-
ปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๒๑
วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วารธะ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ
ในโนอัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในโนวิคต-
ปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๘๘๖] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๗ วาระ...ใน
นอนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย
มี ๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ในนวิปากปัจจัย มี ๑๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอินทริย-
ปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑๗
วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ในโนวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 577
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๘๘๗] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ... ใน
อธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๙ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอาเสวน-
ปัจจัย มี ๙ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ในอินทริยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย
มี ๑๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ
ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗
วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปัญหาวาระ จบ
มัคคารัมมณติกะที่ ๑๖ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 578
อรรถกถามัคคารัมมณติกะ
ใน มัคคารัมมณติกะ ในอนุโลมแห่งปฏิจจวาระ ไม่มีวิปากปัจจัย
แม้ในกัมมปัจจัย (แห่งปัญหาวาระ) ในติกะนี้ ก็ไม่ได้นานักขณิกกัมมปัจจัย.
อรรถกถามัคคารัมมณติกะ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 579
๑๗. อุปปันนติกะ
ปัญหาวาระ๑
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๘๘๘] ๑. อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๘๘๙] ๑. อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลพิจารณาเห็นจักษุที่เป็นอุปปันนธรรม โดยความเป็นของ
ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนันตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภ
จักษุนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ
โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
๑. ติกะนี้ ไม่มีวาระ ๖ มีปฏิจจวาระเป็นต้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 580
บุคคลพิจารณาเห็นโสตะที่เป็นอุปปันนธรรม ฯลฯ ฆานะ ชิวหา กายะ
รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันน-
ธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส ย่อม
เกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่
อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๘๙๐] ๒. อนุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลพิจารณาเห็น รูปที่เป็นอนุปปันนธรรม ฯสฯ เสียง กลิ่น
รส โผฏฐัพพะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปปันนธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่
เจโตปริยญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๘๙๑] ๓. อุปปาทิธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลพิจารณาเห็นจักษุที่เป็นอุปปาทิธรรม ฯลฯ กายะ รูป เสียง
กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอุปปาทิธรรม โดย
ความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนันตตา ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 581
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปาทิธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโต-
ปริยญาณ ฯลฯ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๓.อธิปติปัจจัย
[๑๘๙๒] ๑. อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้เเก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุที่เป็นอุปปันน-
ธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมยินดีย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำโสตะที่เป็นอุปปันน-
ธรรม ฯลฯ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ
โสตะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๘๙๓] ๒. อนุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 582
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำรูปที่เป็นอนุปปันน-
ธรรม เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปันน-
ธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำรูปเป็นต้นให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๘๙๔] ๓. อุปปาทิธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุที่เป็นอุปปาทิ-
ธรรม ฯลฯ กายะ รูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปาทิ-
ธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น กระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
๔. สหชาตปัจจัย
[๑๘๙๕] ๑. อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๒ แต่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 583
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาติปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ.
มหาภูตรูปทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ,
มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูปทั้งหลาย ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย.
๕. อัญญมัญญปัจจัย
[๑๘๙๖] ๑. อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจ
ของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 584
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป...อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓
ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ ฯลฯ.
๖. นิสสยปัจจัย
[๑๘๙๗] ๑. อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ. หทยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป...สมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓
ปัจจัยแก่กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 585
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม ด้วยอำนาจ
ของนิสสยปัจจัย.
๗. อุปนิสสยปัจจัย
[๑๘๙๘] ๑. อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยอุตุที่เป็นอุปปันธรรมแล้วยังฌานให้เกิดขึ้น ยัง
วิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติ ฯลฯ ก่อมานะ, ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยโภชนะที่เป็นอุปปันนธรรม ฯลฯ อาศัยเสนาสนะ
แล้วยังฌานให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยัง
สมาบัติ ฯลฯ ก่อมานะ, ถือทิฏฐิ.
อุตุที่เป็นอุปปันนธรรม ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่เป็นอุปปันนธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย
แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 586
[๑๘๙๙] ๒. อนุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลปรารถนาวรรณสมบัติที่เป็นอนุปปันนธรรม ย่อมให้ทาน สมา-
ทานศีล กระทำอุโบสถกรรม.
บุคคลปรารถนาสัททสมบัติที่เป็นอนุปปันนธรรม ฯลฯ คันธสมบัติ
รสสมบัติ โผฏฐัพพสมบัติ ฯสฯ ปรารถนาขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปปันนธรรม
แล้ว ย่อมให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ
วรรณสมบัติที่เป็นอนุปปันนธรรม ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปปันน
ธรรม เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอุปปันนธรรม แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่
ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๙๐๐] ๓. อุปปาทิธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลปรารถนาจักขุสมบัติที่เป็นอุปปาทิธรรม ย่อมให้ทาน สมาทาน
ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 587
บุคคลปรารถนาโสตสมบัติที่เป็นอุปปาทิธรรม ฯลฯ กายสมบัติ วรรณ-
สมบัติ คันธสมบัติ รสสมบัติ โผฏฐัพพสมบัติ ฯลฯ ปรารถนาขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นอุปปาทิธรรมแล้ว ย่อมให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ.
จักขุสมบัติที่เป็นอุปปาทิธรรม ฯลฯ กายสมบัติ วรรณสมบัติ ฯลฯ
โผฏฐัพพสมบัติ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปาทิธรรม เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่
เป็นอุปปันนธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่ผล-
สมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๘. ปุเรชาตปัจจัย
[๑๙๐๑] ๑. อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้น
นั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 588
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ หทยวัตถุ ปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๙. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๙๐๒] ๑. อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๑๐. กัมมปัจจัย
[๑๙๐๓] ๑. อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๑๑. วิปากปัจจัย
[๑๙๐๔] อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของวิปากปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 589
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และกฏัตตารูปทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
๑๒. อาหารปัจจัย
[๑๙๐๕] ๑. อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของ
อาหารปัจจัย.
๑๓. อินทริยปัจจัย
[๑๙๐๖] ๑. อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 590
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ
อินทริยปัจจัย.
๑๔. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๗. วิปปยุตตปัจจัย
[๑๙๐๗] ๑. อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันธรรม ด้วย
อำนาจของฌานปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของวิปปยุตต-
ปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม ด้วยอำนาจ
ของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 591
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๑๘. อัตถิปัจจัย
[๑๙๐๘] ๑. อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย.
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปปันนธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓
แลจิตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
พาหิรรูป..อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์หลาย ฯลฯ.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯโทมนัส ย่อมเกิด
ขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 592
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปปันนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ฯลฯ.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย.
๑๙. อวิคตปัจจัย
[๑๙๐๙] ๑. อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอวิคตปัจจัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๙๑๐] ในเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย
มี ๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอุปนิสสปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 593
๑ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในอินทริย-
ปัจจัย มี ๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย
มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
การยกกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ
[๑๙๑๑] ๑. อุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ
ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๑๙๑๒] ๒. อนุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๑๙๑๓] ๓. อุปปาทิธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 594
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๙๑๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโน-
อัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓
วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๙๑๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ใน
โนนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๙๑๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ...
ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย
มี ๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 595
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี
๑ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในอินทริย-
ปัจจัย มี ๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ
ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย
มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปัญหาวาระ จบ
อุปปันนติกะที่ ๑๗๑ จบ
๑. อรรถกถาของติกะนี้ แสดงคู่กับอตีตติกะที่ ๑๘ ต่อจากติกะนี้.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 596
๑๘. อตีตติกะ
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๙๑๗] ๑. ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันธรรม
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๙๑๘] ๑. อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม แล้วพิจารณา.
บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.
บุคคลออกจากฌานแล้ว พิจารณาฌาน.
พระอริยะฟังหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณา
กิเลสที่ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว.
๑. ติกะนี้ไม่มีวาระทั้ง ๖ มีปฏิจจวาระเป็นต้น ดูอรรถกถาอธิบาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 597
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุที่เป็นอดีตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลพิจารณาเห็นโสตะที่เป็นอดีตธรรม ฯลฯ ฆานะ ชิวหา กายะ
รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตธรรม
โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง
เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา
ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจ
ของอารัมมณปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโต-
ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อาวัชชนะ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๙๑๙] ๒. อนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลย่อมพิจารณาเห็น จักษุที่เป็นอนาคตธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส
ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 598
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโต-
ปริยญาณ แก่อนาคตตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๙๒๐] ๓. ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปันนธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลย่อมพิจารณาเห็น จักษุที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ฯลฯ กายะ
รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันน-
ธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิญญาณ แก่
อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๓. อธิปติธรรม
[๑๙๒๑] ๑. อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ
บุคคลกระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 599
บุคคลออกจากฌาน การทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
พิจารณา.
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่นแล้ว พิจารณา, กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุที่เป็นอตีตธรรม
ฯลๆ กายะ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อดีตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๙๒๒] ๒. อนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุที่เป็นอนาคต-
ธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตธรรมให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๙๒๓] ๓. ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 600
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้เเก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุที่เป็นปัจจุป-
ปันนธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปับนนธรรมให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิติธรรมที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๔. อนันตรปัจจัย
[๑๙๒๔] ๑. อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นปัจจปปันนธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ โคตรภู.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ โวทาน.
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่ มรรค.
โวทาน เป็นปัจจัยแก่ มรรค.
มรรค เป็นปัจจัยแก่ ผล.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 601
ผล เป็นปัจจัยแก่ ผล.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ ผลสมาบัติ.
เนวสัญญานาสัญาญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผล-
สมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย
[๑๙๒๕] ๑. อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปันนธรรม ด้วย
อำนาจของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย.
๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย
[๑๙๒๖] ๑ . ปัจจุปปันนนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอัญญมัญญ-
ปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๑๙๒๗] ๑. อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 602
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอดีตธรรมแล้วย่อมให้ทาน สมาทานศีล
กระทำอุโบสถกรรม ยังฌาน ฯลฯ ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา
ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอตีตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ
ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกายแล้วย่อมให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ
อุโบสถกรรม ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ย่อมฆ่าสัตว์ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธาที่เป็นอดีตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา
สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปัจจุปปันนธรรม แก่
ปัญญา แก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
[๑๙๒๘] ๒. อนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลปรารถนาจักษุสมบัติที่เป็นอนาคตธรรม โสตสมบัติ ฆาน-
สมบัติ ชิวหาสมบัติ กายสมบัติ วรรณสมบัติ สัททสมบัติ คันธสมบัติ รส
สมบัติ ปรารถนาโผฏฐัพพสมบัติ ฯลฯ ปรารถนาขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต
ธรรมแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล ฯสฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 603
จักษุสมบัติที่เป็นอนาคตธรรม ฯลฯ วรรณสมบัติ ฯลฯ โผฏฐัพพ-
สมบัติ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น
ปัจจุปปันนธรรม แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่
ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๙๒๙] ๓. ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยอุตุที่เป็นปัจจุปปันนธรรมแล้ว ยังฌานให้เกิดขึ้น
ยังวิปัสสนา ฯลฯ
บุคคลเข้าไปอาศัยโภชนะที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ฯลฯ เสนาสนะแล้ว
ยังฌานให้เกิดขึ้น ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
อุตุที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัย
แก่ศรัทธาที่เป็นปัจจุปปันนธรรม แก่ปัญญา แก่สุขทางกาย ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๑๙๓๐] ๑. ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจุปปันนธรรม
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 604
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของให้เที่ยง
ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่ กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปันนธรรม ด้วยอำนาจ
ของปุเรชาตปัจจัย.
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๙๓๑] ๑. ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปันนธรรม
ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรมที่ เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๑๙๓๒] ๑. อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 605
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๑๙๓๓] ๑. อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ที่เป็นปัจจุปปันนธรรม
และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๙๓๔] ๒. ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 606
๑๔. วิปากปัจจัย
[๑๙๓๕] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม
ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปัจจุปปันธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์
๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจ
ของวิปากปัจจัย.
๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
[๑๙๓๖] ๑. ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม
ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย,
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของมัคค-
ปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจ
ของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย,
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 607
ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งรูปหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทย-
วัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ด้วยอำนาจของ
วิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๑๙๓๗] ๑. ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับอัตถิปัจจัย ในอุปปันนติกะ.
๒๒. นัตถิปัจจัย ๒๓. วิคตปัจจัย
[๑๙๓๘] ๑. อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย.
๒๔. อวิคตปัจจัย
[๑๙๓๙] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม
ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 608
การนับจำนวนในอนุโลม
[๑๙๔๐] ในเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๑ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
ในกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑
วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๑๙๔๑] อตีตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๙๔๒] อนาคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๙๔๓] ปัจจุปปันนธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย. เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 609
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๙๔๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓
วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนอัตถิ
ปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
ในโนอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๙๔๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ...
ในนอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสมนันตร
ปัจจัยมี ๑ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๑
วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ
ในโนนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 610
ปัจจนียานุโลม
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๙๔๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ... ใน
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๑ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ
ในกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปากปัจจัยมี ๑ วาระ แต่ละปัจจัยต่อจากนี้
มี ๑ วาระเท่านั้น ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปัญหาวาระ จบ
อตีตติกะ ที่ ๑๘ จบ
อรรถกถาอุปปันนติกะและอตีตติกะ
ใน อุปปันนติกะ และ อตีตติกะ ก็เหมือนกัน. สองบทว่า อเหตุก
มคฺคารมฺมณ ในปัจจนียนัย ตรัสหมายถึงอเหตุกะ อาวัชชนจิต (คือ มโน-
ทวาราวัชชนจิต) ซึ่งมีมรรคเป็นอารมณ์ คำที่เหลือในอธิการนี้ ผู้ศึกษาพึง
ทราบตามแนวแห่งบาลี.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 611
ใน อุปปันนติกะ และ อตีตติกะ ย่อมไม่มีปฏิจจวาระเป็นต้น
มีแต่ปัญหาวาระเท่านั้น. เพราะเหตุไร. เพราะปฏิจจวาระเป็นต้น มี
เฉพาะแต่สหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัยเท่านั้น. อนึ่ง ติกะเหล่านั้น มีธรรม
ทั้งที่เป็นอดีตและอนาคตปนกัน ก็ปัจจัยทั้งหลายที่เป็นพวกเเห่งอนันตรปัจจัย
ย่อมไม่ได้ในอุปปันนติกะนี้. เพราะเหตุไร. เพราะในอุปปันนติกะไม่มีธรรมที่
เป็นอดีต ก็ในอธิการนี้ ธรรม ๒ เหล่านั้นคือธรรมที่เกิดขึ้นแล้วและธรรมที่ยังไม่
เกิดขึ้น ย่อมไม่เป็นปัจจัยโดยปัจจัยไร ๆ แก่ธรรม ๒ เหล่านี้คือ ธรรมที่เกิด
แล้วและธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้น. ส่วนธรรม ๒ เหล่านั้นคือธรรมที่ยังไม่เกิดขึ้นและ
ที่กำลังเกิดขึ้น เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ด้วยปัจจัย ๒ คืออารัมมณ-
ปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย คำที่เหลือในอธิการนี้ผู้ศึกษาพึงทราบตามนัยอัน
กล่าวมาแล้วในพระบาลี.
ใน อตีตติกะ ธรรมที่เป็นปัจจุบันไม่เป็นปัจจัยอย่างใดอย่างหนึ่ง
แก่ธรรมที่เป็นอดีตเเละอนาคต หรือธรรมที่เป็นอดีตและอนาคต ย่อมไม่เป็น
ปัจจัยโดยปัจจัยอย่างใดอย่างหนึ่งแก่ธรรมที่เป็นอดีตและอนาคต ก็นิพพานย่อม
ไม่ได้โดยความเป็นปัจจัย (และ) โดยความเป็นปัจจยุบบันในติกะทั้งสองเหล่า
นี้ คำที่เหลือในอธิการนี้พึงทราบตามนัยที่กล่าวมาแล้วในบาลี.
อรรถกถาอุปปันนติกะ และอตีตติกะ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 612
๑๙. อตีตารัมมณติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๙๔๗] ๑. อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิด
ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
[๑๙๘๘] ๒. อนาคตารัมมณธรรม อาศัยอนาคตารัมมณธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรมฯลฯ ขันธ์๒ฯลฯ.
[๑๙๔๙] ๓. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยปัจจุปปันนา-
รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์
๒ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 613
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๒. อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๑๙๕๐] ๑. อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิด
ขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย ในอธิปติปัจจัย ปฏิสนธิไม่มี.
เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาต.
ปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสย-
ปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย.
ในปุเรชาตปัจจัย ก็ดี ในอาเสวนปัจจัย ก็ดี ปฏิสนธิ ไม่มี.
๑๓. กัมมปัจจัย ๑๔. วิปากปัจจัย
๑. ฯลฯ เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ
มี ๓ วาระ พึงใส่ให้เต็ม พึงกระทำ ปวัตติ ปฏิสนธิ.
๑๕. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย
๑. ฯลฯ เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทริยปัจจัย เพราะ
ฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะ
อวิคตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 614
ในนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๙๕๑] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มีปัจจัยละ ๓ วาระ
ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๙๕๒] ๑. อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ
[๑๙๕๓] ๒. อนาคตารัมมณธรรม อาศัยอนาคตารัมมณธรรม
เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ซึ่งเป็น
อเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 615
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้ง
หลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
[๑๙๕๔] ๓. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยปัจจุปปันนา-
รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ซึ่งเป็น
อเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๒. นอธิปติปัจจัย
[๑๙๕๕] ๑. อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย เหมือนกับสหชาติปัจจัย ในอนุโลม.
๓. นปุเรชาตปัจจัย
[๑๙๕๖] ๑. อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิด
เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 616
[๑๙๕๗] ๒. อนาคตารัมมณธรรม อาศัยอนาคตารัมมณ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๙๕๘] ๓. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยปัจจุปปันนา-
รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณ-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
๔. นปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๖. นกัมมปัจจัย
[๑๙๕๙] ๑. อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิด
ขึ้นเพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย เหมือนกับ
เพราะนอธิปติปัจจัย, เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตา-
รัมมณธรรม.
[๑๙๖๐] ๒. อนาคตารัมมณธรรม อาศัยอนาคตรัมมณธรรม
เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อนาคตารัมมณธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 617
[๑๙๖๑] ๓. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยปัจจุปปันนา-
รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
ปัจจุปปันนารัมมณธรรม.
๗. นวิปากปัจจัย
[๑๙๖๒] ๑. อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย.
ในนวิปากปัจจัย ปฏิสนธิ ไม่มี.
๘. นฌานปัจจัย
[๑๙๖๓] ๑. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม อาศัยปัจจุปปันนา-
รัมมณธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ ขันธ์
๒ ฯลฯ.
๙. นมัคคปัจจัย
[๑๙๖๔] ๑. อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ
เหมือนกับ นเหตุปัจจัย, มี ๓ วาระ โมหะ ไม่มี.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 618
๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย
[๑๙๖๕] ๑. อตีตารัมมณธรรม อาศัยอตีตารัมมณธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
[๑๙๑๑] ๒. อนาคตารัมมณธรรม อาศัยอนาคตารัมมธรรม
เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๙๖๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัฉาชาตปัจจัยมี ๓ วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัยมี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัยมี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในน
ฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี
๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 619
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๙๖๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ...ในน-
ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลม
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๙๖๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ...
ในปัจจัยทั้งปวง มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปฏิจจวาระ จบ
สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี
สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 620
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๙๗๐] ๑. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๙๗๑] ๒. อนาคตารัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๙๗๒] ๓. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุป-
ปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 621
ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๙๗๓] ๑. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอตีตาธรรม, พิจารณาเนว-
สัญญานาสัญญายตนะ, พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณ-
ธรรม พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ พิจารณาปุพเพนวาสานุสสติญาณ ฯลฯ
พิจารณายถากัมมูปคญาณ.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณาณกิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม
กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ ย่อมรู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ.
พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอดีตารัมมณธรรม โดย
ความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง
เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ
วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตตีตา ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่
เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อาวัชชนะ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๙๗๔] ๒. อตีตารัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 622
คือ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอนาคตธรรม, พิจารณา
เนวสัญญานาสัญญายตนะ, พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอตีตา-
รัมมณธรรม, พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ พิจารณาปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ฯลฯ พิจารณายถากัมมูปคญาณ ฯลฯ
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณ-
ธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ
ปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ย่อม
เกิดขึ้น.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่
เจโตปริยญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย.
[๑๙๗๕] ๓. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปัจจุปปันนธรรม
ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นอตีตรัมมณธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เจโตปริญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๙๗๖] ๔. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 623
คือ บุคคลพิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตรัมมณ-
ธรรม พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ พิจารณาอนาคตังสญาณ ฯสฯ พิจารณา
เห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม โดยความเป็น
ของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ
ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัย
แก่เจโตปริยญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย.
[๑๙๗๗] ๕. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลพิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณ-
ธรรม เจโตปริยญาณ ฯลฯ อนาคตังญาณ ฯลฯ
พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม
พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, ย่อมรู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน
ฯลฯ.
พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม
โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภ
ขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 624
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่
เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อาวัชชนะ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๙๗๘] ๖. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันน-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปัจจุปปันนธรรม
ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม
เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๙๗๙] ๗. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุป-
ปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
คือ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปัจจุปปันนธรรม
ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนธรรม ซึ่งเป็นปัจจุปปันนธรรม
เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๙๘๐] ๘. ปัจจุปปันนารัมมฌธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 625
คือ บุคคลพิจารณาทิพยจักษุที่เป็นอตีตธรรม, พิจารณาทิพโสตธาตุ,
พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม พิจารณา
เจโตปริยญาณ ฯลฯ
พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณ-
ธรรม กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ ย่อมรู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.
พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม
โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์
นั้น ราคะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัย
แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่
อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๙๘๑] ๙. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลพิจารณาทิพยจักษุที่เป็นอนาคตธรรม, พิจารณาทิพโสต-
ธาตุ พิจารณาอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม
พิจารณาเจโตปริยญาณ ฯลฯ พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็น
ปัจจุปปันนารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ เพราะปรารภขันธ์
นั้น ราคะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 626
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๙๘๒] ๑. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลกระทำวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอตีตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว พิจารณา.
กระทำเนวสัญญานาสัญญายตนะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
พิจารณา.
กระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรมให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
กระทำเจโตปริยญาณ ฯลฯ กระทำปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ กระ-
ทำยถากัมมูปคญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอดีต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรม ให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ
กระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม
ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 627
ที่เป็น สหชาตธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้ง-
หลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๙๘๓] ๒. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะการทำวิญญาณัญจายตนะ
ที่เป็นอนาคตให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญายตนะ
ฯลฯ กระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำเจโตปริยญาณ ฯลฯ กระทำปุพเพนิวาสานุสสติ-
ญาณ ฯลฯ การทำยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต
ซึ่งเป็นอตีตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้น
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ย่อมเกิด
ขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๙๘๔] ๓. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 628
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำอิทธิวิธญาณที่เป็น
อนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
กระทำเจโตปริยญาณ ฯลฯ กระทำอนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
แล้ว พิจารณา, กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคต ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณ-
ธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อม
เกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๙๘๕] ๔. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยขันธ์แก่อตีตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีเดียวอย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำอิทธิวิธญาณที่เป็น
อตีตา ซึ่งเป็นนอนาคตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำ
เจโตปริยญาณ ฯลฯ กระทำอนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตา ซึ่งเป็นอนาคตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ
ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 629
[๑๙๘๖] ๕. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุป-
ปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๙๘๗] ๖. ปัจจุปปันารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตา-
รมธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำทิพยจักษุที่เป็น
อตีตาธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา, กระทำทิพโสตธาตุ
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา, กระทำอิทธิวิธญาณที่เป็นอดีต
ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำ
เจโตปริยญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อดีต ซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น
กระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นอตีตารัมมณ-
ธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๙๘๘] ๗. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 630
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำทิพยจักษุที่เป็น
อนาคตธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา, กระทำทิพโสตะ
ธาตุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำอิทธวิธิญญาณที่เป็นอนาคตซึ่ง
เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น กระทำขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นอนาคตซึ่งเป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็น
อนาคตารัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
๔. อนันตรปัจจัย
[๑๙๘๙] ๑. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
[๑๙๙๐] ๒. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ภวังค์ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณ-
อนาคตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 631
[๑๙๙๑] ๓. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ จุติจิตที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปฏิสนธิจิตที่เป็น
ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ภวังค์ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็นปัจจุป-
ปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๙๙๒] ๔. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
[๑๙๙๓] ๕. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ อิทธิวิธญญาณที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่
เป็นอดีตารัมมณธรรม.
เจโตปริยญาณ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม.
อนาคตังสญาณ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอตีตารัมมณธรรม.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็น
อตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 632
[๑๙๙๔] ๖. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุป-
ปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจ
ของอนันตรปัจจัย.
ปฏิสนธิจิตที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็น
ปัจจุปปันนารัมมณธรรม.
ภวังค์ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยยแก่ภวังค์ที่เป็นปัจจุป-
ปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๙๙๕] ๗. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ปฏิสนธิจิตที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่
เป็นอตีตคารัมมณธรรม.
ภวังค์ที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นอตีตา-
รัมมณธรรม.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
ที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย
[๑๙๙๖] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม
ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับ อนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 633
๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย
[๑๙๙๗] ๑. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญ-
มัญญปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย, แม้ทั้ง ๓ ปัจจัย
เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๑๙๙๘] ๑. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
อนิจจานุปัสสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุ-
ปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุปัสสนา
แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๙๙๙] ๒. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 634
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตา
นุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม แก่ทุกขา
นุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๐๐๐] ๓. อตีตารัมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปจุปปจนา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรปุนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตาน-
ปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม แก่
ทุกขานปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๐๐๑] ๔. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุ
ปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุ-
ปัสสนา แก่อนัตตานปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 635
[๒๐๐๒] ๕. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุ-
ปัสสนา เป็นปัจจยยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุ-
ปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๐๐๓] ๖. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุ
ปัสสนา เป็นปัจจัยแก่ อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม แก่
ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๐๐๔] ๗. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุป-
ปันนารัมมณธรรม ฯลฯ
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 636
อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา
อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม
แก่ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๐๐๕] ๘. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตา
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา
อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม แก่
ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๐๐๖] ๙. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือมีเป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
อนิจจานุปัสสนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา
อนัตตานุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม แก่
ทุกขานุปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 637
๑๐. อาเสวนปัจจัย
[๒๐๐๗] ๑. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตารัมมณธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อาเสวนปัจจัย.
[๒๐๐๘] ๒. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อาเสวนปัจจัย.
[๒๐๐๙] ๓. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุป-
ปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจ
ของอาเสวนปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 638
๑๑. กัมมปัจจัย
[๒๐๑๐] ๑. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอตีตา-
รัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
[๒๐๑๑] ๒. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อนาคตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๒๐๑๒] ๓. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 639
มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๒๐๑๓] ๔. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อนาคตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๒๐๑๔] ๕. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 640
[๒๐๑๕] ๖. อนาคตรัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
ปัจจุปปันนารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๒๐๑๖] ๗. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุป-
ปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นปัจจุปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่
เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๒๐๑๗] ๘. ปัจจุปปันนารัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะห ได้แก่
เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่
เป็นอตีตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 641
[๒๐๑๘] ๙. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อนาคตารัมมณธรรมซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๑๒. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๑. อวิคตปัจจัย
[๒๐๑๙] อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณธรรม
ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ฌานปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำ-
นาจของสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๒๐๒๐] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 642
มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหาร-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย ๓ วาระ ใน
มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓
วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย
มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๒๐๒๑] ๑. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัย แก่อตีตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๒๐๒๒] ๒. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๒๐๒๓] ๓. อตีตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 643
[๒๐๒๔] ๔. อนาคตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๒๐๒๕] ๕. อนาคตารัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๒๐๒๖] ๖. อนาคตารัมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุปปันนา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๒๐๒๗] ๗. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ปัจจุป-
ปันนารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๒๐๒๘] ๘. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อตีตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 644
[๒๐๒๙] ๙. ปัจจุปปันนารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อนาคตา-
รัมมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๒๐๓๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๙ วาระ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙
วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๒๐๓๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ...ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย
มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมม-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง ๓
วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 645
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๒๐๓๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ในอธิปติ-
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗
วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓
วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคค-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปัญหาวาระ จบ
อตีตารัมมณติกะ ที่ ๑๙ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 646
๒๐. อัชฌัตตติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๒๐๓๓] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตต-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๒๐๓๔] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 647
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธา
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๒๐๓๕] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯ ล ฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ ขันธ์
ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
[๒๐๓๖] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทาธรรม เกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ.
๓. อธิปติปัจจัย
[๒๐๓๗] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น
เพราะอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 648
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
มหาภูตรูป ๓ อาศัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตตรูปทั้งหลาย.
[๒๐๓๘] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ เพราะ
อธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๖. สหชาตปัจจัย
[๒๐๓๙] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น
เพราะอนันตรปัจจัย เพราะ สมนันตรปัจจัย เพราะ สหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม.
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 649
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
อาหารสมฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๒๐๔๐] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม เกิดขึ้น เพราะ
สหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิท-
ธาธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัย หาภูตรูป ๑ ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูปอาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัย หาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 650
๗. อัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย
[๒๐๔๑] อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อัญญมัญญปัจจัย เพราะ นิสสยปัจจัย เพราะ อุปนิสสยปัจจัย เพราะ
ปุเรชาตปัจจัย เพราะ อาเสวนปัจจัย.
ในปุเรชาตปัจจัย ก็ดี ในอาเสวนปัจจัย ก็ดี ปฏิสนธิ ไม่มี.
เพราะ กัมมปัจจัย เพราะ วิปากปัจจัย เพราะ อาหารปัจจัย
เพราะ อินทริยปัจจัย เพราะ ฌานปัจจัย เพราะ มัคคปัจจัย เพราะ
สัมปยุตตปัจจัย เพราะ วิปปยุตตปัจจัย เพราะ อัตถิปัจจัย เพราะ
นัตถิปัจจัย เพราะ วิคตปัจจัย เพราะ อวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๒๐๔๒] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
ฯลฯ ในอวิตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๒๐๔๓] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม
ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 651
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย
อาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
[๒๐๔๔] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม เกิดขึ้นเพราะ
นเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม
ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย
อาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป .. . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 652
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๒๐๔๕] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม,
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ
ในหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
[๒๐๔๖] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม,
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐาน... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 653
๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๘. นปุเรชาตปัจจัย
[๒๐๔๕] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้นเพราะ
นอธิปติปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับ สหชาตปัจจัยในอนุโลม ไม่มีแตกต่างกัน.
เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะน-
อัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตต-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ ฯลฯ
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
[๒๐๔๘] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม เกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ สมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ พึงใส่ให้เต็ม.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอลัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 654
๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๑๑. นกัมมปัจจัย
[๒๐๔๙] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม ฯลฯ เพราะ
นปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอัชฌัตตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม
อาหารสมุฏฐานรูป . . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
[๒๐๕๐] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ เพราะ
นกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นพหิทธาธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม
พาหิรรูป . . . อาหารสมุฏฐานรูป . . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
๑๒. นวิปากปัจจัย ๑๓. นอาหารปัจจัย
[๒๐๕๑] ๓. อัชฌัตตธรรมอาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นวิปากปัจจัย ปฏิสนธิไม่มี.
เพราะนอาหารปัจจัย
คือ อุตสุมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
[๒๐๕๒] ๒. พหิทธาธรรมอาศัยพหิธาธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอาหารปัจจัย
คือ พาหิรรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 655
๑๔. นอินทริยปัจจัย
[๒๐๕๓] ๑. ฯลฯ อาศัยอัชฌัตตธรรม ฯลฯ เพราะนอินทริย-
ปัจจัย
คือ อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[๒๐๕๔] ๒. ฯลฯ อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ เพราะนอินทริย
ปัจจัย
คือ พาหิรรูป . . . อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๑๕. นฌานปัจจัย
[๒๐๕๕] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม ฯลฯ เพราะ
นฌานปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยปัญจวิญญาณ ฯลฯ
อาหารสมุฏฐานรูป . . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
[๒๐๕๖] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ เพราะ
นณานปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 656
คือ ฯลฯ อาศัยปัญจวิญญาณ ฯลฯ
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
๑๖. นมัคคปัจจัย ฯลฯ ๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย
[๒๐๕๗] ๑. ฯลฯ อาศัยอัชฌัตตธรรม ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย
เหมือนกับนเหตุปัจจัย โมหะ ไม่มี.
เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วน
พวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
[๒๐๕๘] ๒. ฯลฯ อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ เพราะนวิปปยุตต-
ปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ พาหิรรูป . .. อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐาน-
รูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ.
๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย
ฯลฯ เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๒๐๕๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย ๒ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๒ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 657
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๒๐๖๐] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ...ฯลฯ
ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตต-
ปัจจัยมี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๒๐๖๑] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ... ใน
อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย
มี ๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปฏิจจวาระ จบ
สหชาตวาระ เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 658
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๒๐๖๒] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตต-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ พึงใส่ให้เต็ม.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
[๒๐๖๓] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๒๐๖๔] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 659
คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ
[๒๐๖๕] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ เหมือน
กับปฏิจจวาระ.
คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
๓. อธิปติปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย
[๒๐๖๖] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น
เพราะอธิปติปัจจัย เพิ่มหทยวัตถุ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาต-
ปัจจัย ในสหชาตวาระ พึงใส่ให้เต็ม.
ฯลฯ อาศัย มหาภูตรูปทั้งหลาย
พึงการทำปัญจายตนะ และหทยวัตถุที่เกิดภายหลัง, มหาภูตรูปและ
ขันธ์ทั้งหลาย
เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคต-
ปัจจัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๒๐๖๗] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
อนุโลมนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 660
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๒๐๖๘] ๑. อัชฌัตตธรรม อาศัยอัชฌัตตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย
อาศัยหทยวัตถุ.
มหาภูตรูป ๓ อาศัย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
จักขายตนะ ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้ง
หลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ.
[๒๐๖๙] ๒. พหิทธาธรรม อาศัยพหิทธาธรรม ฯลฯ เพราะน-
เหตุปัจจัย พึงกระทำทั้งปวัตติปฏิสนธิ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
คือ จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธา-
ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุ.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทย-
วัตถุ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 661
๒. อารัมมณปัจจัย ฯลฯ ๑๔. โนวิคตปัจจัย
เพราะนอารัมมณปัจจัย เพราะนอธิปติปัจจัย เหมือนกับ
สหชาตปัจจัย.
เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะน-
อัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย
เหมือนกับปฏิจจวาระ.
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย เพราะน-
กัมมปัจจัย ฯลฯ เพราะนวิปยุตตปัจจัย เหมือนกับ วิปปยุตตปัจจัย ใน
ปฏิจจวารปัจจนียะ.
เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๒๐๗๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ
ฯลฯ ในโนวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๒๐๗๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ...ในน-
อธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในนวิปากปัจจัยมี ๒ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย
มี ๒วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี๒วาระ นโนนัตถิปัจจัยมี ๒ วาระ ในโนวิคต
ปัจจัย มี ๒ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 662
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๒๐๗๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจนียานุโลม จบ
นิสสยวาระ เหมือนกับ ปัจจยวาระ
สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงให้พิสดาร.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 663
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๒๐๗๓] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๒๐๗๔] ๒. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
อำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิ ขณะ ฯลฯ
๒. อารัมมณปัจจัย
[๒๐๗๕] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณา
กุศลกรรมนั้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 664
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
ออกจากฌาน ฯลฯ
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค, พิจารณาผล,
พิจารณากิเลสที่ละแล้ว, พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิด
ขึ้นแล้วในกาลก่อน.
พิจารณาเห็นจักษุที่เป็นอัชฌัตตธรรมฯลฯ กายะ รูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ
หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็น
ต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ด้วยอารัมมณ-
ปัจจัย.
อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสูญญายตนะ ด้วยอำนาจ
ของอารัมมณปัจจัย.
รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๒๐๗๖] ๒. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 665
คือ บุคคลอื่นพิจารณาเห็นจักษุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภหทยวัตถุเป็นต้นนั้น
ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของเจโตปริยญาณ.
รูปายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็น
พหิทธาธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย-
วิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่-
เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังส-
ญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๒๐๗๗] ๓. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลอื่น ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯ ฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ พิจารณา
กุศลกรรมนั้น.
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลาย เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.
ออกจากฌาน ฯลฯ
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค, ออกจากผล ฯลฯ
พิจารณานิพพาน.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 666
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่
อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลส
ทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.
บุคคลอื่น พิจารณาเห็นจักษุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อม
เกิดขึ้น.
เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยเจโต-
ปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจ
ของอารัมมณปัจจัย.
รูปายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นพหิท-
ธาธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
ที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิญญาณ แก่เจโต-
ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๒๐๗๘] ๔. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 667
คือ พระอริยพระทั้งหลาย พิจารณานิพพาน.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่
อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พิจารณาจักษุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
พหิทธาธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วย
เจโตปริยญาณ.
รูปายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นอัชฌัตต-
ธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็น
อัชฌัตตธรรม.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโต-
ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๓. อธิปติปัจจัย
[๒๐๗๙] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทำกุศลกรรมนั้น
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 668
กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ.
ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ.
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง-
หนักแน่น ฯลฯ กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุที่เป็นอัชฌัตต-
ธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้น นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ
ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๒๐๘๐] ๒. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุที่เป็น
อัชฌัตตธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นมัชฌัตตธรรมให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 669
[๒๐๘๑] ๓. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลอื่นให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทำกุศลกรรม
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ.
กระทำกุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อนให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ฯลฯ.
ออกจากฌาน ฯลฯ
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อยู่หนัก
แน่น ฯลฯ กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำนิพพานให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล ด้วย
อำนาของอธิปติปัจจัย.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุที่เป็นพหิทธา-
ธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ
ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 670
[๒๐๘๒] ๔. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายกระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
พิจารณา.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระจักษุที่เป็นพหิทธา-
ธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น, ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกดขึ้น.
๔. อนันตรปัจจัย
[๒๐๘๓] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌตตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน, โคตรภู
เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค, มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ, เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของ
บุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 671
[๒๐๘๔] ๒. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ที่เกิดก่อนๆ เท่านั้น ที่ต่างกัน
จากนั้นมีอธิบายตามบาลีข้างต้นนั้นเอง.
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย
[๒๐๘๕] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับ อนันตรปัจจัย.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำ-
นาจของอัญญมัญญปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
๙. อุปนิสสยปัจจัย
๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัชฌัตตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ
สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ ยังฌาน ฯลฯ ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค
ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ
ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน
ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 672
ศรัทธาที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ ปัญญา ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา
สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาเป็นอัชฌัตตธรรม
ฯลฯ แก่ปัญญา แก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทาง
กาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๐๘๖] ๒. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่ป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลอื่นเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอัชฌัตตธรรม แล้วให้ทาน ฯลฯ
ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลอื่นเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้
ทาน ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธาที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัย แก่ศรัทธาที่
เป็นพหิทธาธรรม แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๐๘๗] ๓. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 673
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลอื่นเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ ความปรารถนา
สุขทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธาที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่
เป็นพหิทธาธรรม แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๐๘๘] ๔. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นพหิทธาธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำ
ลายสงฆ์.
ศรัทธาที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่
เป็นอัชฌัตตธรรม แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๒๐๘๙] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารมมณปุเรชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 674
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ โดย
ความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๒๐๙๐] ๒. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลอื่นพิจารณาเห็น จักษุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ.
หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นพหิท-
ธาธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
ที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 675
[๒๐๙๑] ๓. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลอื่นพิจารณาเห็นจักษุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ โดย
ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ ที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็น
พหิทธาธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย-
วิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๒๐๙๒] ๔. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจขอปุเรชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความ
เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 676
รูปายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นอัชฌัตต-
ธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่
เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจขอปุเรชาตปัจจัย.
[๒๐๙๓] ๕. อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่
พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
รูปายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และจักขายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม
เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม และกายายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นอัชฌัตตธรรม.
รูปายตนะที่เป็นพหิธาธรรม ฯลฯ และหทยวัตถุที่เป็นอัชฌัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๒๐๙๔] ๖. อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่
พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
รูปายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และจักขาตนะที่เป็นพหิทธาธรรม
เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และกายายตนะที่เป็นพหิทธา-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 677
ธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาต-
ปัจจัย
รูปายตนะที่เป็นอัชฌตตธรรม และหทยวัตถุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และหทยวัตถุที่เป็นพหิทธาธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๒๐๙๕] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๒๐๙๖] ๒. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๒. อาเสวนปัจจัย
[๒๐๙๗] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 678
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยเเก่โคตรภู
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน
โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจ
ของอาเสวนปัจจัย.
[๒๐๙๘] ๒. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดก่อน ๆ ฯลฯ เหมือนกับ อัชฌัตตะนั่นเอง.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๒๐๙๙] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตต-
ธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 679
[๒๑๐๐] ๒. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธา
ธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๑๔. วิปากปัจจัย
[๒๑๐๑] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของวิปากปัจจัย พึงใส่ให้เต็ม เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.
๑๕. อาหารปัจจัย
[๒๑๐๒] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ กวฬีการาหารที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย
ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 680
[๒๑๐๓] ๒. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
อำนาจของอาหารปัจจัย
คือ กวฬีการาหารที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็น
พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
[๒๑๐๔] ๓. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
อำนาจของอาหารปัจจัย พึงกระทำปวัตติ ปฏิสนธิ.
กวฬีการาหารที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นพหิทธา-
ธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
[๒๑๐๕] ๔. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอาหารปัจจัย
คือ กวฬีการาหารที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็น
อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
[๒๑๐๖] ๕. อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัย
แก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ กวฬีการาหารที่เป็นอัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัย
แก่กายที่เป็นอัชฌัตตตธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 681
[๒๑๐๗] ๖. อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัย
แก่พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ กวฬีการาหารที่เป็นอัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็น
ปัจจัยแก่กายที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๑๖. อินทริยปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
[๒๑๐๘] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอินทริยปัจจัย
อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ก็ดี, รูปชีวิตินทรีย์ ก็ดี พึง
ให้พิสดาร.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ-
ของมัคคปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
อัชฌัตตธรรมเป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของ
วิปยุตตปัจจัย.
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
บทมาติกาทั้งหลาย ผู้มีปัญญา พึงให้พิสดาร.
[๒๑๐๙] ๒. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่ สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 682
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๒๑๑๐] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐาน-
รูปทั้งหลาย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓
ฯลฯ.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ เหมือนกับปุเรชาตปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรมที่เกิดภายหลัง และ กวฬีการาหาร
ที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอัชฌัตตธรรม.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 683
[๒๑๑๑] ๒. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น ปุเรชาตะ และ อาหาระ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลอื่นพิจารณาเห็นจักษุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ โดย
ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ.
เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหาร ที่เป็นอัชฌัตตธรรมเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นพหิทธา-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๒๑๑๒] ๓. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และ อินทริยะ
พหิทธาธรรม ไม่มีอะไรแตกต่างกัน บทมาติกาทั้งหลาย พึงให้พิสดาร.
[๒๑๑๓] ๔. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 684
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น ปุเรชาตะ และ อาหาระ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักษุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ.
เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหารที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอัชฌัตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๒๑๑๔] ๕. อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่
อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น ปุเรชาตะ และ อาหาระ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
รูปายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม และจักษุที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็น
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นพหิทธา-
ธรรม และกายายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็น
อัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
รูปายตนะที่เป็น พหิทธาธรรม และหทยวัตถุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นพหิทธาธรรม และหทยวัตถุที่เป็นอัชฌัตตธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 685
ที่เป็น อาหาระ ได้แก่
กวฬีการาหารที่เป็นอัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่
กายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๒๑๑๕] ๖. อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่
พหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น ปุเรชาตะ และ อาหาระ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
รูปายตนะที่เป็นอัชฌตตธรรม และจักขายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม
เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และกายายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
รูปายตนะที่เป็นอัชฌตตธรรม และหทยวัตถุที่เป็นพหิทธาธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
โผฏฐัพพพายตนะที่เป็นอัชฌัตตธรรม และหทยวัตถุที่เป็นพหิทธาธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น อาหาระ ได้แก่
กวฬีการาหารที่เป็นอัชฌัตตธรรม และกวฬีการาหารที่เป็นพหิทธา-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 686
๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย
[๒๑๑๖] อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของนัตถิปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๒๑๑๗] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๖ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
ในกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาหารปัจจัย มี
๖ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๒ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในมัคค-
ปัจจัย มี ๒ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๒
วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิคตปัจจัย
มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 687
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ
[๒๑๑๘] ๑. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเร-
ชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย เป็น
ปัจจัยด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๒๑๑๙] ๒. อัชฌัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ
อาหารปัจจัย.
[๒๑๒๐] ๓. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธาธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเร-
ชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย เป็น
ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 688
[๒๑๒๑] ๔. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ
อาหารปัจจัย.
[๒๑๒๒] ๕. อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัย
แก่อัชฌัตตธรรม ฯลฯ
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น ปุเรชาตะ และ อาหาระ
[๒๑๒๓] ๖. อัชฌัตตธรรม และพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่
พหิทธาธรรม ฯลฯ
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น ปุเรชาตะ และ อาหาระ
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๒๑๒๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวงพึงกระทำเป็น ๖ วาระ
ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนอัตถปัจจัย มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย
มี ๖ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 689
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๒๑๒๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ...
ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ วาระ ฯลฯ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๒ วาระ ในนสัมปยุตต ปัจจัย มี ๒ วาระ
ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนวิคต-
ปัจจัย มี ๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๒๑๒๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ...
ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ
พึงกระทำการนับบทที่เป็นอนุโลม ในอวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปัญหาวาระ จบ
อัชฌัตตติกะที่ ๒๐ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 690
อรรถกถาอัชฌัตตติกะ
อัชฌัตตบท และ พหิทธาบท ไม่ทรงถือเอาใน อัชฌัตตติกะ.
จริงอยู่ หมวดธรรมทั้งสอง คืออัชฌัตตธรรมและพหิทธาธรรม ย่อมไม่เป็น
ปัจจัยและปัจจยุบบัน เพราะฉะนั้นผู้ศึกษาพึงทราบว่า แม้สีของเมล็ดผักกาดที่
อยู่ในฝ่ามือ ย่อมไม่เป็นอารมณ์อันเดียวกันกับสีของฝ่ามือ.
อรรถกถาอัชฌัตตติกะ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 691
๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๒๑๒๗] ๑. อัชฌัตตารัมมณธรรม อาศัยอัชฌัตตารัมมณ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌตตารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๒๑๒๘] ๒. พหิทธารัมมณธรรม อาศัยพหิทธารัมมณธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒
ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 692
๒. อารัมมณปัจจัย ฯลฯ อวิคตปัจจัย
[๒๐๒๙] อัชฌัตตารัมมณธรรม อาศัยอัชฌัตตารัมมณธรรม
เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๒๑๓๐] ในเหตุปัจจัยมี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
ในปัจจัยทั้งปวง มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๒๑๓๑] ๑. อัชฌัตตารัมมณธรรม อาศัยอัชฌัตตารัมมณ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ซึ่งเป็น
อเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณ-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 693
[๒๑๓๒] ๒. พหิทธารัมมณธรรม อาศัยพหิทธารัมมณธรรม
เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
๒. นอธิปติปัจจัย ๓. นปุเรชาตปัจจัย
[๒๑๓๓] ๑. อัชฌัตตารัมมณธรรม อาศัยอัชฌัตตารัมมณ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย เหมือนกับสหชาตปัจจัยในอนุโลม
ไม่มีแตกต่างกัน.
เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๒๑๓๔] ๒. พหิทธารัมมณธรรม อาศัยพหิทธารัมมณธรรม
เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 694
๔. นปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ ๕. นอาเสวนปัจจัย
เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย เหมือนกับ
สหชาตปัจจัย.
๖. นกัมมปัจจัย
๑. อัชฌัตตารัมมณธรรม อาศัยอัชฌัตตารัมมณ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อัชฌัตตารัมมณธรรม.
[๒๑๓๕] ๒. พหิทธารัมมณธรรม อาศัยพหิทธารัมมณธรรม
เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธา
รัมมณธรรม.
๗. นวิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นวิปปยุตตปัจจัย
[๒๑๓๖] ฯลฯ อาศัยอัชฌัตตารัมมณธรรม ฯลฯ เพราะน-
วิปากปัจจัย ปฏิสนธิไม่มี. เพราะนฌานปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ซึ่งสหรคตด้วย
ปัญจวิญญาณ ฯลฯ.
[๒๐๓๗] ฯลฯ อาศัยพหิทธารัมมณธรรม ฯลฯ เพราะนฌาน-
ปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ซึ่งสหรคตด้วย
ปัญจวิญญาณ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 695
เพราะนมัคคปัจจัย เหมือนกับนเหตุปัจจัย โมหะไม่มี.
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัชฌัตตารัมมธรรม ฯลฯ.
[๒๑๓๘] ฯลฯ อาศัยพหิทธารัมมณธรรม ฯลฯ เพราะนวิป-
ปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๒๐๓๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในน-
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี
๒ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในน-
วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๒๑๔๐] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ...ฯลฯ
ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 696
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๒๑๔๑] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ... ใน
อนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย
มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปฏิจจวาระ จบ
สหชาตวาระก็ดี ปัจจัยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี
สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 697
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๒๑๔๒] ๑. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมณรรม ด้วยอำนาจของเหตปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.
[๒๑๔๓] ๒. พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. อารัมมณปัจจัย
[๒๑๔๔] ๑. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม,
พิจารณาเนวสัญญายตนะสัญญายตนะ พิจารณาทิพยจักษุที่เป็นอัชฌัตตธรรม-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 698
ซึ่งเป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม พิจารณาทิพยโสตธาตุ ฯลฯ พิจารณาอิทธิวิธญาณ
ฯลฯ พิจารณาปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ พิจารณาอนาคตังสญาณ.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม,
พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว ย่อมรู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน
ฯลฯ.
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัตตา-
รัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง
เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อม
เกิดขึ้น.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
[๒๑๔๕] ๒. อัชฌัตตารัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลอื่นพิจารณาวิญญาณัญญจายตนะที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม
ฯลฯ พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ บุคคลอื่นพิจารณาทิพยจักษุ ที่
เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม พิจารณาทิพโสตธาตุ ฯลฯ-
พิจารณาอิทธิวิธญาณ ฯลฯ พิจารณาปุพเพนิวาสานสสติญาณ ฯลฯ พิจารณา
อนาคตังสญาณ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 699
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็น
อัชฌัตตารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็น
อัชฌัตตารัมมณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่
อนาคตคังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๒๑๔๖] ๓. พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลอื่นพิจารณาทิพยจักษุที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็นพหิทธา-
รัมมณธรรม ทิพโสตธาตุ ฯลฯ อิทธิวิธญาณ ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพ-
นิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ พิจารณาอนาคตังสญาณ.
บุคคลอื่น๑พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็น
พหิทธารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็น
พหิทธารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่
อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๑. ม. ไม่มีบุคคลอื่น
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 700
[๒๑๔๗] พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณา
กุศลกรรมนั้น.
บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.
บุคคลออกจากฌาน พิจารณาฌาน.
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล
พิจารณากิเลสที่ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ ย่อมรู้กิเลสทั้งหลายที่
เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ.
บุคคลพิจารณาทิพยจักษุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นพหิทธารัมมณ-
ธรรม พิจารณาทิพโสตธาตุ ฯลฯ พิจารณาอิทธิวิธญาณ ฯลฯ พิจารณาเจโต-
ปริยญาณ ฯลฯ พิจารณาปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ พิจารณายถากัมมปคญาณ
ฯลฯ พิจารณาอนาคตังสญาณ ฯลฯ.
บุคคลพิจารณาเป็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นพหิทธา-
รัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง
เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อม
เกิดขึ้น.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็น
ปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่
อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 701
๓. อธิปติปัจจัย
[๒๑๔๘] ๑. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลกระทำวิญญาณัญจายตนะ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัต-
ตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำเนวสัญญานา
สัญญายตนะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำทิพยจักษุที่เป็นอัชฌัตต-
ธรรมซึ่งเป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น, ฯลฯ กระ-
ทำทิพโสตธาตุ ฯลฯ กระทำอิทธิวิญญาณ ฯลฯ กระทำปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ฯลฯ กระทำยถากัมมูปคญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัตตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นอัชฌัตตา-
รัมมณธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๒๑๔๙] ๒. พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 702
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๒๑๕๐] ๓. พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
ที่อย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศล-
กรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา.
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ.
ออกจากฌาน ฯลฯ
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค ฯลฯ กระทำผลให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำทิพยจักษุที่เป็นอัชฌัตตธรรมซึ่งเป็น
พหิทธารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ ทิพโสตธาตุ ฯลฯ
อิทธิวิธญาณ ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ ยถากัมม-
ปคญาณ ฯลฯ บุคคลกระทำอนาคตังสญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
พิจารณา.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นพหิทธารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นอัชฌัตตา-
รัมมณธรรม ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 703
๔. อนันตรปัจจัย
[๒๑๕๑] ๑. อัชฌัตตารัมมณรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมณธรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
[๒๑๕๒] ๒. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
คือ จุติจิตที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็น
พหิทธารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ภวังค์ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็นพหิท-
ธารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็น
พหิทธารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลมที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน,
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ,
เนวสัญญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผล-
สมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 704
[๒๑๕๓] ๓. พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
อนุโลมที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน,
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค,
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค,
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล,
ผล เป็นปัจจัยแก่ผล,
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๒๑๕๔] ๔. พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ จุติจิตที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็น
อัชฌัตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ภวังค์ที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะที่เป็น
อัชฌัตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็น
อัชฌัตตารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 705
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย
[๒๑๕๕] ๑. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
๙. อุปนิสสยปัจจัย
๑. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตา-
นุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุ-
ปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๑๕๖] ๒. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
อนิจจานุปัสสนาที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตา-
นุปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม แก่ทุกขานุ-
ปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 706
[๒๑๕๗] ๓. พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
อนิจจานุปัสสนาที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุ-
ปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานุปัสสนาที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม แก่ทุกขานุ-
ปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๑๕๘] ๔. พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมฌธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสยยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
อนิจจานุปัสสนาที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ทุกขานุปัสสนา อนัตตานุ-
ปัสสนา เป็นปัจจัยแก่อนิจจานปัสสนา ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม แก่ทุกขานุ-
ปัสสนา แก่อนัตตานุปัสสนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. อาเสวนปัจจัย
[๒๑๕๙] ๑. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 707
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อาเสวนปัจจัย.
[๒๑๖๐] ๒. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธา-
รัมณธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ อนุโลมที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๒๑๖๑] ๓. พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ อนุโลมที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน.
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค.
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๑๑. กัมมปัจจัย
[๒๑๖๒] ๑. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 708
เจตนาที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อัชฌัตตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๒๑๖๓] ๒. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
พหิทธารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๒๑๖๔] ๓. พหิทธารัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
พหิทธารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 709
[๒๑๖๕] ๔. พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อัชฌัตตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๑๒. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๑. อวิคตปัจจัย
[๒๑๖๖] อัชฌัตตารัมมฌรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหาร-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ-
ของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคต-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๒๑๖๗] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ใหอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในอาเสวนปัจจัย
มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจจัย
ทั้งปวง มี ๒ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 710
ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ
[๒๑๖๘] ๑. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๒๑๖๙] ๒. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๒๑๗๐] ๓. พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๒๑๗๑] ๔. พหิทธารัมมณธรรมเป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 711
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๒๑๗๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๘ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในปัจจัยทั้ง
ปวง มี ๔ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๔
วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ
ฯลฯ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนีนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๒๑๗๓] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ...ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย
มี ๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนวิคต-
ปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 712
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๒๑๗๔] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ใน
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย
มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในสัมปยุตต-
ปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ
ในวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัญหาวาระ จบ
อัชฌัตตารัมมณติกะ ที่ ๑๒ จบ
อรรถกถาอัชฌัตตารัมมณติกะ
แม้ใน อัชฌัตตารัมมณติกะ ก็ย่อมไม่ได้อัชฌัตตารัมมณบท และ
พหิทธารัมมณบท เหมือนอัชฌัตตบทและพหิทธาบท. ในติกะนี้ คำที่เหลือ
ท่านอธิบายตามบาลี.
อรรถาถาอัชฌัตตารัมมณติกะ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 713
๒๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๒๑๗๕] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตปัจจัย
คือ มหาภูตรูป ๒๑ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม,
มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, จักขายตนะ
ฯลฯ รสายตนะ อาศัยโผฏฐัพพาตนะ.
๒. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทสัสน-
สัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม.
รูปาตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ.
๓. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
๑. เว้นอาโปธาตุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 714
คือ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทสัสนสัปปฏิฆธรรม.
อาโปธาตุ อินทรีย์รูป กวฬีกาหาร อาศัยโผฏฐัพพายตนะ.
๔. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็น
อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม.
รูปายตนะ อาโปธาตุ อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยโผฏฐัพพายตนะ.
๕. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสสัปปฏิฆ-
ธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ มหาภูตรูป ๒ และอาโปธาตุ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม มหาภูตรูป ๑ และอาโปธาตุ อาศัยมหาภูตรูป ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็น
อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม.
จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาโปธาตุ อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร
อาศัยโผฏฐัพพายตนะ.
๖. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฆ-
ธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 715
คือ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็น
อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม.
รูปายตนะ จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ.
๗. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัย
มหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม.
รูปายตนะ จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาโปธาตุ อินทรีย์รูป กวฬี-
การาหาร อาศัยโผฏฐัพพายตนะ.
[๒๑๗๖] ๘. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป
ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 716
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ, อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยอาโปธาตุ.
๙. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัย
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
รูปายตนะ อาศัยอาโปธาตุ.
๑๐. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ทั้ง
หลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัย
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัป-
ปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาศัยอาโปธาตุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 717
๑๑. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัป-
ปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม
และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ที่เป็นสนิทสัสนอัปปฏิฆ-
ธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่
เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
รูปายตนะ อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยอาโปธาตุ.
๑๒. อนิทัสสนสัปปฏิธรรม และอนิทัสสน-
อัปปธรรม อาศัยอนิทัสสนอัปปฏิธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม
และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยอาโปธาตุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 718
๑๓. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และ
อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทสัสนอัปปฏิฆธรรม, จิตต-
สมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม
และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
รูปายตนะ จักขายตนะ รสายตนะอาศัยอาโปธาตุ.
๑๔. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, อนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม,
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม,
อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เเละอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทสัสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นอนิทสัสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม, อนทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 719
รูปายตนะ จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร
อาศัยอาโปธาตุ.
[๒๑๗๗] ๑๕. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่
เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.
รูปายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.
๑๖. อนิทัสสนสัปปธรรม อาศัยอนิทัสสน-
สัปปธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่
เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์
ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และ
อาโปธาตุ, มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒ และอาโปธาตุ.
่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 720
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และ
อาโปธาตุ,
จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.
๑๗. อนิทัสสนอัปปฏิธรรม อาศัยอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอินทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็น
อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เป็นสนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์
ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์
และมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.
อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัย โผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.
๑๘. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัส-
สนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 721
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.
รูปายตนะ อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และ
อาโปธาตุ.
๑๙. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน-
อัปปฏิธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และ
อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหา-
ภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็น
อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.
จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยโผฏฐัพ-
พายตนะ และอาโปธาตุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 722
๒๐. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และ
อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหา-
ภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.
รูปายตนะ จักขายตนะ รสายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และ
อาโปธาตุ.
๒๑. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, อนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 723
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม, อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัย
มหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.
รูปายตนะ จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร
อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๒๑๗๘] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
๓. อธิปติปัจจัย
[๒๑๗๙] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 724
คือ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม
มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็น
อนิทสัสนสัปปฏิฆธรรม.
พึงจำแนกเป็น ๗ วาระ (วาระที่ ๑- ๗) ด้วยเหตุนี้ ในอนิทัสสน-
สัปปฏิฆมูลกะ ปริโยสานบทไม่มี.
[๒๑๘๐] ๘. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม
อาศัยขันธ์ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่
เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
พึงจำแนกเป็น ๗ วาระ (วาระที่ ๘-๑๔) ในอนิทัสสนอัปปฏิฆมูลกะ
ด้วยเหตุนี้ ปริโยสานบทไม่มี.
[๒๑๘๑] ๙. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติ-
ปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์
ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย จิตตสมุฏฐานรูป
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 725
ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ที่
เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.
พึงจำแนกเป็นแม้ ๗ วาระ (วาระที่ ๑๕๒๑) ด้วยเหตุนี้
๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๕. สมนันตรปัจจัย
[๒๑๘๒] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย
เหมือนกับอารัมมณปัจจัย.
๖. สหชาตปัจจัย
[๒๑๘๓] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม,
มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒, จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป
ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ. พาหิรรูป ฯลฯ
อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พึงจำแนกเป็น ๗ วาระ (วาระที่ ๑-๗) ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆมูลกะ
ด้วยเหตุนี้.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 726
[๒๑๘๘] ๘. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม
อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม
อาศัยขันธ์ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปทารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยอาโปธาตุ.
พาหิรรูป...อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
พึงกระทำเป็น ๗ วาระ (วาระที่ ๘-๑๔) ในอนิทัสสนอัปปฏิฆมูลกะ
ด้วยเหตุนี้.
[๒๑๘๕] ๑๕. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาต-
ปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 727
คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่
เป็นอนิทสัสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัย
ขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และ
อาโปธาตุ.
รูปายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.
พาหิรรูป. ..อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลา ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และ
อาโปธาตุ
พึงแจกเป็น ๗ วาระ (วาระที่ ๑๕-๒๑) ด้วยเหตุนี้.
๗. อัญญมัญญปัจจัย
[๒๑๘๖] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม
มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 728
๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย.
คือ อาโปธาตุ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม.
๓. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญ-
ปัจจัย
คือ มหาภูตรูป ๒ และอาโปธาตุ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็น
อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ และอาโปธาตุ อาศัยมหาภูตรูป ๒.
[๒๑๘๗] ๔. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
๕. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ มหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 729
[๒๑๘๘] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อัญญมัญญปัจจัย
คือ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม
และอาโปรธาตุ, มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒ และอาโปรธาตุ.
๘. นิสสยปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
[๒๑๘๙] อนิทัสสนสัปปฏิฑธรรม อาศัยอนิทัสสนสัปฏิฆ-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนิสสยปัจจัย, เพราะ อุปนิสสยปัจจัย, เพราะ
ปุเรชาตปัจจัย, เพราะ อาเสวนปัจจัย, เพราะ กัมมปัจจัย, เพราะ
วิปากปัจจัย, เพราะ อาหารปัจจัย, เพราะ อินทริยปัจจัย, เพราะ
ฌานปัจจัย, เพราะ มัคคปัจจัย, เพราะ สัมปยุตตปัจจัย, เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย, เพราะ อัตถิปัจจัย, เพราะ นัตถิปัจจัย, เพราะ
วิคตปัจจัย, เพราะ อวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๒๑๙๐] ในเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑
วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตร-
ปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖
วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 730
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๒๑
วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอินทริย-
ปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๒๑ วาระ
ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย
มี ๒๑ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคต-
ปัจจัย มี ๒๑ วาระ
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๒๑๙๑] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิธรรม อาศัยอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม,
มหาภูตรูป อาศัยมหาภูตรูป ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม.
จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 731
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑
ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒.
ในอนิทัสสนสัปปฏิฆมูลกะ พึงแจกแม้ ๗ วาระ (วาระที่ ๑๗)
ด้วยเหตุนี้.
[๒๐๙๒] ๘. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม.
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัป-
ปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยอาโปธาตุ.
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็น
อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 732
พึงแจก ๗ วาระ (วาระที่ ๘-๑๔) ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆมูลกะ
ด้วยเหตุนี้.
[๒๑๙๓] ๑๕. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุ-
ปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็น
อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม
อาศัยขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และ
อาโปธาตุ.
รูปายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ.
ผู้มีปัญญา ๗ วาระ (วาระที่ ๑๕๒๑) ให้พิสดารด้วยเหตุนี้.
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๒๑๙๔] ๒. อนิทัสสนสัปปฏธรรม อาศัยอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 733
คือ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม,
มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทสัสนสัปปฏิฆธรรม.
จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ.
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็น
อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒.
พึงยัง ๗ วาระ (วาระที่ ๑-๗ ) ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆมูลกะ ให้
พิสดารด้วยเหตุนี้.
[๒๑๙๕] ๘. อนิทัสสนอัปปธรรม อาศัยอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม.
ในปฏิสนธิขณะกฏัตตารูป ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม.
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 734
อินทรีย์รูป กวฬีการาหาร อาศัยอาโปธาตุ.
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็น
อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอาโปธาตุ.
พึงยังแม้ ๗ วาระ (วาระที่ ๘-๑๔) ในอนิทัสสนอัปปฏิฆมูลกะ ให้
พิสดารด้วยเหตุนี้.
[๒๑๙๖] ๑๕. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็น
อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัย
ขันธ์เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และ
อาโปธาตุ.
รูปายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ และอาโปธาตุ.
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 735
ส่วนอสัญญสัตวทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็น
สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม
และอาโปธาตุ.
ในฆฏนา พึงแจกทั้ง ๗ วาระ (วาระที่ ๑๕-๒๑) ด้วยเหตุนี้.
๓. นอธิปติปัจจัย ฯลฯ ๖. นอัญญมัญญปัจจัย
[๒๑๙๗] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย เหมือนกับ สหชาตปัจจัย.
เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะ
นอัญญมัญญปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปฏิฆธรรม.
จักขายตนะ ฯลฯ รสายตนะ อาศัยโผฏฐัพพายตนะ.
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็น
อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
พึงแจกเป็น ๒ วาระ ด้วยเหตุนี้.
๗. นอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย
เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย เพราะ
นปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 736
๑๑. นกัมมปัจจัย ฯลฯ ๑๔. นอินทริยปัจจัย
ฯลฯ เพราะนกัมมปัจจัย.
คือ พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม,
มหาภูตรูป ๑ อาศัยมหาภูตรูป ๒.
อุปาทารูปที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย
ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม.
พึงแจกกัมมปัจจัยแล้ว กระทำเป็น ๒๑ วาระ ด้วยนกัมมปัจจัยนั่นเอง
ฯลฯ เพราะนวิปากปัจจัย ปฏิสนธิก็ดี กฏัตตารูปก็ดี ไม่มี พึง
กระทำในปัญจโวการภพเท่านั้น.
ฯลฯ เพราะนอาหารปัจจัย
คือ พาหิรรูป... อุตุสมุฏฐานรูป... ส่วนอสัญญส่วนทั้งหลาย
ฯลฯ
พึงแจก ๒ วาระ ด้วยเหตุนี้.
ฯลฯ เพราะนอินทริยปัจจัย
คือ พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ฯลฯ.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้ง รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย ฯลฯ.
พึงแจกวาระทั้งปวง.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 737
๑๕. นฌานปัจจัย
เพราะนฌานปัจจัย
คือ พาหิรรูป...ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
พึงแจกทั้ง ๗ วาระ.
[๒๑๙๘] ๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนอัป-
ปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ขันธ์ ๒
ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ ส่วน
อสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ซึ่งเป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม
อาศัยอาโปธาตุ.
พึงแจก ๗ วาระ ด้วยเหตุนี้.
[๒๑๙๙] ๓. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อาศัยอนิทัสสนสัป-
ปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย
คือ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ที่เป็นสนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และ
อาโปธาตุ.
พึงแจกทั้ง ๗ วาระ อย่างนี้.
๑๖. นมัคคปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย
เพราะนมัคคปัจจัย เหมือนกับ นเหตุปัจจัย พึงกระทำให้เต็ม
โมหะ ไม่มี.
เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 738
พึงใส่ให้เต็ม.
เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๒๒๐๐] ในเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี
๒๑ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๒๑ วาระ ใน
โนนัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๒๒๐๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ...ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ ฯลฯ โนนวิปากปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย
มี ๒๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ
ในโนวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๒๒๐๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ ...ใน
อนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 739
มี ๒๑ วาระ ฯลฯ ในฌานปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๒๑ วาระ ใน
สัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัตถิปัจจัย
มี ๒๑ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย
มี ๒๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปฏิจจวาระ จบ
สหชาตวาระก็ดี ปัจจัยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี เหมือนกับ ปฏิจจวาระ
สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี พึงกระทำในอรูปภูมิเท่านั้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 740
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๒๒๐๓] ๑. อนิทัสสนอัปปธรรมเป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัปปยุตต-
ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจ
ของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะเหตุทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วย
อำนาจของเหตุปัจจัย.
[๒๒๐๔] ๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
ในอนิทัสสนอัปปฏิฆมูลกะ พึงแจกเป็น ๗ วาระ ด้วยเหตุนี้.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 741
๒. อารัมมณปัจจัย
[๒๒๐๕] ๑. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลพิจารณาเห็นรูป โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปนั้น ราคะ ย่อมเกิด
ขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิญญาณ
แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมมณปัจจัย.
[๒๒๐๖] ๒. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลพิจารณาจักษุ ฯลฯ กายะ ฯลฯ เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
สัททายตนะ เป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่
อิทธิวิธญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 742
[๒๒๐๗] ๓. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณา
กุศลกรรมนั้น.
พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.
ออกจากฌาน ฯลฯ
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล
พิจารณา นิพพาน.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล แก่
อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว
พิจารณากิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ.
พิจารณาหทยวัตถุฯลฯ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ อาโปธาตุ กวฬี-
การาหาร ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม โดยความเป็นของ
ไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย, อากิญจัญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญนาสัญญายตนะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 743
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโต-
ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๓. อธิปติปัจจัย
[๒๒๐๘] ๑. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำรูปให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว ครั้นกระทำรูปนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ
ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น
[๒๒๐๙] ๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ กายะ เสียง
กลิ่น ฯลฯ โผฏฐัพพะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ครั้น กระทำจักษุ
เป็นต้นนั้นให้อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
[๒๒๑๐] ๓. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 744
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ กระทำกุศลกรรม
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ.
ออกจากฌาน ฯลฯ
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ ออกจากผล ฯลฯ กระทำผลให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำหทยวัตถุ ฯลฯ
อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ อาโปธาตุ กวฬีการาหาร ฯลฯ ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ
หทยวัตถุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อม
เกิดขึ้น
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของ
อธิปติปัจจัย.
[๒๒๑๑] ๔. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 745
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
รูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
ในอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
รูปสังคหะ ๓ อย่าง.
๔. อนันตรปัจจัย
[๒๒๑๒] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจ
ของอนันตรปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล
ผล เป็นปัจจัยแก่ผล
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ
เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผล
สมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 746
๕. สมนันตรปัจจัย
[๒๒๑๓]๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย เหมือนกับ อนันตรปัจจัย.
๖. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๘. นิสสยปัจจัย
[๒๒๑๔]๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยและอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย พึงกระทำให้ดี เหมือน
กับ ปฏิจจวาระ.
ในอัญญมัญญปัจจัย เหมือนกับอัญญมัญญปัจจัย ในปฏิจจวาระ.
ในนิสสยปัจจัย เหมือนกับปฏิจจวาระ.
อุปนิสสยปัจจัย
[๒๒๑๕] ๑. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลปรารถนาวรรณสมบัติ ให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม
ฯลฯ.
วรรณสมบัติ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่ความ
ปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 747
[๒๒๑๖] ๒. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลปรารถนาจักษุสมบัติ ฯลฯ กายสมบัติ ฯลฯ สัททสมบัติ ฯลฯ
ปรารถนาโผฏฐัพพสมบัติแล้ว ย่อมให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม ฯลฯ.
บุคคลเข้าไปอาศัยอุตุ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ
อุโบสถกรรม ฯลฯ ฌาน ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ มรรค ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ
ฆ่าสัตว์ ทำลายสงฆ์.
จักษุสมบัติ ฯลฯ โผฏฐัพพสมบัติ ฯลฯ อุตุ ฯลฯ เสนาสนะ เป็น
ปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ปัญญา แก่ราคะ แก่ความปรารถนา แก่สุขทางกาย แก่
ทุกข์ทางกาย แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๒๑๗] ๓. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ อุโบสถกรรม
ฯลฯ ฌาน ฯลฯ สมาบัติ ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 748
บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ราคะ ความปรารถนา สุขทางกาย
ทุกข์ทางกาย ฯลฯ โภชนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ศรัทธา ปัญญา ราคะ
ความปรารถนา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ฯลฯ โภชนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
แก่ปัญญา ฯลฯ แก่มรรค แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๒๒๑๘]๑. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๒๒๐๙] ๒. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
พิจารณาจักษุ ฯลฯ กายะ ฯลฯ เสียง ฯลฯ โผฏฐัพพะ ฯลฯ โดย
ความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 749
สัททายตนะ เป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๒๒๒๐] ๓. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
พิจารณาหทยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ อาโปธาตุ
กวฬีการาหาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๒๒๒๑] ๔. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาต-
ปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 750
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
รูปายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๒๒๒๒] ๕. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาต-
ปัจจัย
ที่ ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขาตนะ และหทยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และหทยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาต-
ปัจจัย.
[๒๒๒๓] ๖. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาต-
ปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
รูปายตนะ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจ
ของปุเรชาตปัจจัย.
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๒๒๒๔] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 751
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย.
[๒๒๒๕] ๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย.
พึงแจกเป็น ๗ วาระ อย่างนี้ มีรูปสังคหะ ๓ อย่าง.
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๒๒๒๖]๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจ
ของอาเสวนปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 752
๑๓. กัมมปัจจัย
[๒๒๒๗]๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่ สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของกัมม-
ปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และ
กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๒๒๒๘] ๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 753
เจตนาที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่
เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พึงแจก ๗ วาระ อย่างนี้ ให้เป็น สหชาตะ นานาขณิกะโดยเหตุนี้
มีรูปสังคหะ ๓ อย่าง.
๑๔. วิปากปัจจัย
[๒๒๒๙] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วย
อำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจ
ของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของ
วิปากปัจจัย.
[๒๒๓๐] ๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของ
วิปากปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 754
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปาก-
ปัจจัย.
๗ วาระ พึงให้พิสดารอย่างนี้ ทั้งปวัตติ และปฏิสนธิ.
๑๕. อาหารปัจจัย
[๒๒๓๐] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และจิตต สมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วย
อำนาจของอาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอิปปฏิฆธรรม
ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วย
อำนาจของอาหารปัจจัย.
[๒๒๓๒] ๒. อนิทัสสนอัปปฏิธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 755
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอาหาร-
ปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ อาหารทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของ
อาหารปัจจัย.
กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วย
อำนาจของอาหารปัจจัย.
พึงแจก ๗ วาระ ทั้งปวัตติ และปฏิสนธิ อย่างนี้ พึงกระทำกวฬี-
การาหาร ในวาระแม้ทั้ง ๗.
๑๖. อินทริยปัจจัย
[๒๒๓๓] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๒๒๓๔] ๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 756
คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วย
อำนาจของอินทริยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอนิทสัสนอัปปฏิฆธรรม เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม
ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๒๒๓๕] ๓. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอินทริย-
ปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของ
อินทริยปัจจัย.
รูปชีวิตนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
ทั้งปวัตติ และปฏิสนธิ พึงแจก ๗ วาระ อย่างนี้. พึงกระทำ
รูปชีวิตินทรีย์ในที่สุด ๆ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 757
[๒๒๓๖] ๔. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอินทริย-
ปัจจัย
คือ จักขุนทรีย์ และจักขุวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่
สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ และ
กายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ด้วยอำนาจ
ของอินทริยปัจจัย.
๑๗. ฌานปัจจัย ฯลฯ ๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
[๒๒๓๗] ๑. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของณานปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
มัคคปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วย
อำนาจของสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
[๒๒๓๘] ๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 758
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๒๒๓๙] ๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ-
ฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของ
วิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 759
[๒๒๔๐] ๓. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหาชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
รูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของ
วิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พึงทำวาระทั้ง ๕ ที่เหลือให้พิสดารอย่างนี้.
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๒๒๔๑] ๑. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
พิจารณาเห็นซึ่งรูป โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อม
เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 760
เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๒๒๔๒] ๒. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่มหา-
ภูตรูป ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๑
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
มหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูป และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูปทั้งหลาย ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขายตนะ ฯลฯ แก่รสสายตนะ ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย.
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.
มหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอุตุสมุฏฐานรูป เป็นปัจจัยแก่อุปาทารูปทั้ง
หลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ มหาภูตรูป
๒ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 761
[๒๒๔๓] ๓. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย เหมือนกับนิสสยปัจจัยใน
ปฏิจจวาระ.
[๒๒๔๔] ๔. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยและอนิทัส-
สนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
มหาภูตรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทา-
รูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย. พึงให้พิสดาร ตลอดถึงอสัญญสัตว์ทั้งหลาย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
พิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ กายะ ฯลฯ เสียง ฯลฯ โผฏฐัพพะ โดยความ
เป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๔ วาระ ที่เหลือพึงให้พิสดาร เหมือนกับ สหชาตปัจจัย ในปฏิจจวาระ
ซึ่งไม่ทำให้แตกต่างกัน.
[๒๒๔๕] ๘. อนิทัสสอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 762
มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และ
อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ อาโปธาตุ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป
ที่เป็นอุปาทารูปทั้งหลาย ซึ่งเป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และอาโปธาตุ เป็น
ปัจจัยแก่อินทรีย์ และกวฬีการาหาร ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พาหิรรูป... อาหารสมุฏฐานรูป... อุตุสมุฏฐาน ฯลฯ
ส่วนอสัญญสัตว์ทั้งหลาย อาโปธาตุ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย
ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ อาโปธาตุ ฯลฯ
กวฬีการาหาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 763
กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนิสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย, รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลายที่เป็น
อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พึงแจก ๖ วาระ (วาระที่ ๙-๑๔) ที่เหลืออย่างนี้พึงกระทำ สหชาตะ
ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ อินทริยะ
[๒๒๔๖] ๑๕. สนิทัสสนสัปปฏิธรรม และอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
รูปายตนะ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๒๒๘๗] ๑๖. นิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ
ปัจจัย.
คือ ขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลายเป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นสนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ พึงกระทำ ตลอดถึงอสัญญาสัตว์ทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 764
[๒๒๔๘] ๑๖. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมและอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปฏิฆธรรม ฯลฯ
[๒๒๔๙] ๑๗. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมและอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม พึงกระทำ
ตลอดถึงอสัญญสัตว์ทั้งหลาย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ และหทยวัตถุ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ และหทยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พึงแจกวาระที่เหลือ (วาระที่ ๑๘-๒๓)
[๒๒๕๐] ๒๔. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 765
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
รูปายตนะ และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย.
[๒๒๕๑] ๒๕. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ ได้แก่
รูปายตนะ และจักขายตนะ และจักขุวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
นัตถิปัจจัย และ วิคตปัจจัย เหมือนกับ อนันตรปัจจัย, อวิต-
ปัจจัย เหมือนกับ อัตถิปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๒๒๕๒] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓
วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ให้สม-
นันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย
มี ๖ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
ปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 766
มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาหาร-
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ
ในมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย
มี ๘ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคต-
ปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๒๕ วาระ.
เหตุสภาคะ
[๒๒๕๓] เพราะเหตุปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ...ในสห-
ชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๗
วาระ โนวิปากปัจจัย มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคค-
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๗
วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
เหตุฆฏนา
[๒๒๕๔] เพราะปัจจัย ๕ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย นิสสยปัจจัย
อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
เพราะปัจจัย ๖ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย
นิสสยปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
เพราะปัจจัย ๗ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย
นิสสยปัจจัย สัมปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 767
เพราะปัจจัย ๖ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย นิสสยปัจจัย วิปปยุตต-
ปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
เพราะปัจจัย ๖ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย นิสสยปัจจัย วิปาก
ปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
เพราะปัจจัย ๗ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย
นิสสยปัจจัย วิปากปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
เพราะปัจจัย ๘ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย นิสสย-
ปัจจัย วิปากปัจจัย สัมปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
เพราะปัจจัย ๗ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย นิสสยปัจจัย วิปาก-
ปัจจัย วิปปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
เพราะปัจจัย ๘ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญมัญญปัจจัย
นิสสยปัจจัย วิปากปัจจัย วิปปยุตตปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
พึงนับคณนวาระทั้งหมดอย่างนี้
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ
[๒๒๕๕] ๑. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 768
[๒๒๕๖] ๒. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
๓. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
๔. อนิทัสสนสัปปธรรมเป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๕. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย.
๖. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย.
๗. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน-
สัปปฏิธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย.
๘. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม, อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 769
[๒๒๕๗] ๙. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของอาหารปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๑๐. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๑๑. อนิทัสสนอัปปฏิธรรมเป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๑๒. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิธรรม ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๑๓. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรมเป็นปัจจัยแก่อนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาต-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 770
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๑๔. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๑๕. อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม, อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๒๒๕๘] ๑๖. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิธรรม ฯลฯ
อย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ
[๒๒๕๙] ๑๗. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรมและอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 771
๑๘. อนิทัสสนสัปปฏิธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย.
๑๙. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
๒๐. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
๒๑. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
๒๒. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
๒๓. อนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน-
อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม, อนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย.
[๒๒๖๐] ๒๔. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม และอนิทัสสน-
สัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 772
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปุเรชาตะ.
[๒๒๖๑] ๒๕. สนิทัสสนสัปปฏิฆธรรม อนิทัสสนสัปปฏิฆ-
ธรรม และอนิทัสสนอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อนิทัสสนอัปปฏิฆ-
ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเร-
ชาตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
สุทธมูลกนัย
[๒๒๖๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย
มี ๒๒ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๒๕ วาระ
ในนสมนันตรปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ใน
นอัญญมัญญปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปนิส-
สยปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในนปัจฉาชาต-
ปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒๕
วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในน
อินทริยปัจจัย มี ๒๓ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย
มี ๒๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๒
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 773
วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในโน-
วิคตปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ทุมูลกนัย
[๒๒๖๓] เพราะนเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒๒ วาระ
มีอธิบายเหมือนข้อความตามบาลีตอนต้น ...ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ติมูลนัย
[๒๒๖๘] เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย มี ๒๒ วาระ
๒๒ วาระ... ในนอนันตรปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๒๒
วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในน
นิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในนปุเรชาต-
ปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒๒ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตต-
ปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๙
วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในโนอวิคต-
ปัจจัย มี ๙ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 774
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๒๒๖๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ...ในน
อธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ โนนสมนันตรปัจจัย
มี ๗ วาระ โนนอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในปัจจัย
ทั้งปวง มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย
มี ๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
เหตุฆฏนา
[๒๒๖๖] เพราะปัจจัย ๕ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย นิสสย-
ปัจจัย อัตถิปัจจัย อวิคตปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ใน
นอนันตรปัจจัย มี ๗ วาวะ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอัญญมัญญ-
ปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย
มี ๑ วาระ นโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
[๒๒๖๗] เพราะปัจจัย ๖ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย อัญญ-
มัญญปัจจัย นิสสยปัจจัย อัตถิปัจจัย อวิคตปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย
มี ๑ วาระ... ในปัจจัยทั้งปวง มี ๑ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 775
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๒๒๖๘] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ...ใน
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑
วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนิสสย-
ปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ
ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ ในกัมมปัจจัย ๗ มี
วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี
๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตต
ปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๘ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๒
วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย
มี ๒๕ วาระ.
พึงนับอย่างนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
ปัญหาวาระ จบ
สนิทัสสนสัปปฏิฆติกะ ที่ ๒๒ จบ
อนุโลมติกปัฏฐาน จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๓ - หน้าที่ 776
อรรถกถาสนิทัสสนติกะ
แม้ใน สนิทัสสนติกะ ผู้ศึกษาพึงถือเอาเนื้อความด้วยอำนาจแห่ง
บาลีที่เหมือนกัน ก็ในติกะนี้ผู้ศึกษาพึงย่อวาระทั้งหลายที่มาแล้วในพระบาลี
เทียบเคียงในปัจจัยทั้งหลายที่เทียบเคียงกัน โดยนัยที่กล่าวไว้แล้ว พึงทราบวิธี
นับแล.
วรรณนาแห่งติกปักฐานในธัมมานุโลม จบ