พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 1
พระอภิธรรมปิฎก
เล่มที่ ๗
ปัฏฐาน ภาคที่ ๒๑
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
๒. เวทนาติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย
[๑๐๗๗] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเกิด
ขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๐๗๘] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่
สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๑ บาลีเล่ม ๔๐
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 2
[๑๐๗๙] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา อาศัยธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น,
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข-
เวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๑๐๘๐] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย ... เพราะอธิปติปัจจัย
(ในอธิปติปัจจัย ปฏิสนธิไม่มี)... เพราะอนันตรปัจจัย ... เพราะ
สมนันตรปัจจัย ... เพราะสหชาตปัจจัย ... เพราะอัญญมัญญปัจจัย...
เพราะนิสสยปัจจัย ... เพราะอุปนิสสยปัจจัย... เพราะปุเรชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น. ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
[๑๐๘๑] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย... เพราะกัมมปัจจัย ...
เพราะวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา. เกิดขึ้น, ขันธ์
๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิด
ขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 3
[๑๐๘๒] ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา อาศัยธรรมที่
สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยทุกขสหคตกายวิญญาณ
เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๐๘๓] ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา อาศัยธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น.
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๐๘๔] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะอาหารปัจจัย... เพราะอินทริยปัจจัย ...
เพราะฌานปัจจัย... เพราะมัคคปัจจัย ... เพราะสัมปยุตตปัจจัย ...
เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิด
ขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๐๘๕] ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา อาศัยธรรมที่
สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 4
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์
๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย.
[๑๐๘๖] ธรรมที่สัมปยุตตด้วยอทุกขมสุขเวทนา อาศัยธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น.
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น. ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
เพราะอัตถิปัจจัย... เพราะนัตถิปัจจัย ... เพราะวิคตปัจจัย ...
เพราะอวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๑๐๘๗] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
... ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
เหตุมูลกนัย
เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในวิปากปัจจัย
มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 5
อารัมมณ อธิปติมูลกนัย
เพราะอารัมมณปัจจัย... เพราะอธิปติปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓
วาระ ... ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
อาเสวนมูลกนัย
เพราะอาเสวนปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในกัมมปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
วิปากมูลกนัย
เพราะวิปากปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ... ในอารัมมณปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๒
วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ฌานมูลกนัย
เพราะฌานปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในวิปากปัจจัย
มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
มัคคมูลกนัย
เพราะมัคคปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในวิปากปัจจัย มี
๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 6
อวิคตมูลกนัย
เพราะอวิคตปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในนัตถิปัจจัย
มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
การนับปัจจัยในปฏิจจวาระแห่งเวทนาติกะ พึงให้พิสดารเหมือนการ
นับปัจจัย แห่งกุสลติกะ.
ปัจจนียนัย
[๑๐๘๘] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัย ธรรมท
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ซึ่งเป็นอเหตุกะ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๐๘๙] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา อาศัยธรรมที่
สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยทุกขสหคตกายวิญญาณ เกิด
ขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
[๑๐๙๐] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา อาศัยธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ซึ่งเป็นอเหตุกะ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขม-
สุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขม-
สุขเวทนา เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 7
[๑๐๙๑] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
มีปฏิสนธิบริบูรณ์ในนอธิปติปัจจัย.
[๑๐๙๒] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่
สัมปยุต ด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิด
ขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๐๙๓] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา อาศัยธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข-
เวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข-
เวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๐๙๔] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย... เพราะนอาเสวน-
ปัจจัย...
แม้นปัจฉาชาตปัจจัย แม้นอาเสวนปัจจัย มีปฏิสนธิจิต บริบูรณ์.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 8
[๑๐๙๕] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วย
สุขเวทนา เกิดขึ้น.
[๑๐๙๖] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา อาศัยธรรมที่
สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุต
ด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น.
[๑๐๙๗] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุขมสุขเวทนา อาศัยธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น.
[๑๐๙๘] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย. . . เพราะนฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยสุขสหคตกายวิญญาณ เกิด
ขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๐๙๙] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา อาศัยธรรมที่
สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยทุกขสหคตกายวิญญาณ เกิด
ขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๑๐๐] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา อาศัยธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 9
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ เกิดขึ้น,
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๑๐๑] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ซึ่งเป็นอเหตุกะ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๑๐๒] ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุต
ด้วยทุกขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยทุกขสหคตกายวิญญาณ เกิด
ขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๑๐๓] ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา อาศัยธรรมที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ซึ่งเป็นอเหตุกะ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขม-
สุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขม-
สุขเวทนา เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๑๐๔] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิด
ขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 10
[๑๑๐๕] ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา อาศัยธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะแห่งปฏิจจวาระ
[๑๑๐๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ... ในนอธิปติปัจจัย มี ๓
วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
นอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๓ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
[๑๑๐๗] เพราะนเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ. . . ใน
นปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
ในนฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย
มี ๑ วาระ.
[๑๑๐๘] เพราะนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย ใน
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ . . . ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในนกัมม-
ปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัยมี ๑ วาระ
ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 11
[๑๑๐๙] เพราะนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย
นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย นวิปากปัจจัย นมัคค-
ปัจจัย ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๑๐] เพราะนอธิปติปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ.. ใน
นปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ วาระ.
[๑๑๑๑] เพราะนปุเรชาตปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ . . . ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
[๑๑๑๒] เพราะนปุเรชาตปัจจัย นเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย
มี ๑ วาระ. . . ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑
วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคค-
ปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ.
[๑๑๑๓] เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย... เพราะนอาเสวนปัจจัย...
เพราะนกัมมปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ...ในนอธิปติปัจจัย มี ๓
วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย
มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 12
[๑๑๑๔] เพราะนกัมมปัจจัย นเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๒
วาระ . . . ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย
มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๑๕] เพราะนกัมมปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเร-
ชาตปัจจัย ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ... ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑
วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ.
[๑๑๑๖] เพราะนวิปากปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ. . . ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ. นวิปากปัจจัน
เหมือนกับนกัมมปัจจัย.
[๑๑๑๗] เพราะนฌานปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ... ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๑๑๘] เพราะนฌานปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปัจ-
ฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย ในนมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๑๑๙] เพราะนมัคคปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ . . . ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนปัจฉาชาต-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 13
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ
ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย
มี ๑ วาระ.
[๑๑๒๐] เพราะนมัคคปัจจัย นเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓
วาระ. . . ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ โนนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๒ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๒๑] เพราะนมัคคปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเร-
ชาตปัจจัย ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑ วาระ . . . ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑
วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปป-
ยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๒๒] เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ ...ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาต-
ปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒
วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๒๓] เพราะนวิปปยุตตปัจจัย นเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย
มี ๑ วาระ . . . ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑
วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปาก-
ปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 14
[๑๑๒๔] เพราะนวิปปยุตตปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย
นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย
นวิปากปัจจัย ในนมัคคปัจจัยมี ๑ วาระ.
การนับวาระในปัจจนียะ จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับวาระในอนุโลมปัจจนียะแห่งปฏิจจวาระ
[๑๑๒๕] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ใน-
นปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนวิปปยุตปัจจัย มี ๒ วาระ.
[๑๑๒๖] เพราะเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี
๓ วาระ . . . ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ. พึงนับวาระเหมือนกุสลติกะ.
อนุโลมปัจจนียะ จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับวาระในปัจจนียานุโลมแห่งปฏิจจวาระ
[๑๑๒๗] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
. . . ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 15
วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓
วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌาน
ปัจจัย มี ๒ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี
๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๑๒๘] เพราะนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี
๓ วาระ . . . ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี
๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌาน
ปัจจัย มี ๒ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี
๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๑๒๙] เพราะนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย
ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ. . . ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตร-
ปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑
วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาเสวน-
ปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ
ในอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 16
๑ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ใน
วิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๓๐] เพราะนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย
นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑
วาระ . . . ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ใน
สหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย
มี ๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ใน
อินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย
มี ๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย
มี ๑ วาร ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๓๑] เพราะนเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย ฯลฯ นกัมมปัจจัย
นวิปากปัจจัย นมัคคปัจจัย นวิปปยุตตปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ. . .
ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย
มี ๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน
อุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑
วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย
มี ๑ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคต-
ปัจจัย มี ๑ วาระ.
นเหตุมูลกนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 17
[๑๑๓๒] เพราะนอธิปติปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
เพราะนปุเรชาตปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย
นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ.
[๑๑๓๓] เพราะนฌานปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ... ใน
อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาติปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย
มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
อินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคต-
ปัจจัย มี ๓วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
เพราะนมัคคปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ...ในอนันตรปัจจัย
มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๑๓๔] เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ . . . ใน
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในอนันตรปัจจัย
มี ๒ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ใน
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ใน
วิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๒
วาระ ในฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในสัมปยุตต-
ปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ
ในวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
[๑๑๓๕] เพราะนวิปปยุตตปัจจัย นเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย
มี ๑ วาระ . . . ในอนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 18
ในสหชาติปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย
มี ๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑ วาระ ใน
กัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑
วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในมัคคปัจจัย
มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ใน
นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๓๖] เพราะนวิปปยุตตปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย
นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย
นวิปากปัจจัย นมัคคปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ . . . ในอนันตร-
ปัจจัย มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ
ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย
มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในฌาน-
ปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ใน
นัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
[๑๑๓๗] เพราะนวิปปยุตตปัจจัย นเหตุปัจจัย นอธิปติปัจจัย
นปุเราชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย นวิ-
ปากปัจจัย นมัคคปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑ วาระ... ในอนันตรปัจจัย
มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ใน
อัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย
มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในฌาน-
ปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ
ในนัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 19
สหชาตวาระ เป็นต้น
[๑๑๓๘] เกิดร่วมกับธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ อิง
อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ อาศัยธรรมที่สัมปยุตด้วย
สุขเวทนา ฯลฯ เจือกับธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
[๑๑๓๙] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา สัมปยุตกับธรรมที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ สัมปยุตกับขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เกิดขึ้น
ขันธ์ ๑ สัมปยุตกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
สัมปยุตตวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 20
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๑๔๐] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๑๔๑] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๑๔๒] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 21
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๑๔๓] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา แล้วพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา. ออกจาก
ฌานที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา, ออกจากมรรค, ออกจากผลแล้ว, พิจารณา
ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
๒. พระอริยบุคคลทั้งหลาย พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ละแล้วที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา พิจารณากิเลสทั้งหลายที่
ท่านข่มแล้ว. รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน, พิจารณาเห็นขันธ์ที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วย
จิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์
นั้น ราคะ ทิฏฐิ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ
๓. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ขันธ์ทั้ง-
หลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๑๔๔] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ๑. เมื่อบุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วย
จิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาแล้ว โทมนัสย่อมเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้มีวิปปฏิสาร.
๒. เมื่อฌานที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเสื่อมไป โทมนัสย่อมเกิด
ขึ้นแก่บุคคลผู้มีวิปปฏิสาร.
๓. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ขันธ์ทั้ง-
หลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 22
[๑๑๔๕] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา แล้วพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๒. บุคคลออกจากฌานที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา, ออกจากมรรค,
ออกจากผลแล้ว, พิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๓. พระอริยบุคคลทั้งหลายพิจารณากิเลสทั้งหลาย ที่ละแล้ว ที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา พิจารณากิเลส
ทั้งหลาย ที่ข่มแล้ว, รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน. พิจารณา
เห็นขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของความเป็นของไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๔. บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น
ราคะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
๕. พระอริยบุคคลทั้งหลาย รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียง
ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยเจโตปริยญาณ.
๖. ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่เจโตปริย-
ญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๗. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ขันธ์
ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๑๔๖] ๔. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ๑. เพราะปรารภซึ่งโทสะ โทสะ โมหะ ย่อมเกิดขึ้น. เพราะปรารภ
โมหะที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา โมหะ โทสะ ย่อมเกิดขึ้น. เพราะปรารภ
ทุกขสหคตกายวิญญาณ โทสะ โมหะ ย่อมเกิดขึ้น. .
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 23
๒. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ขันธ์
ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๑๔๗] ๕. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ๑. พระอริยบุคคลทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่สัมปยุตด้วย
ทุกขเวทนา ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ข่มแล้ว,
รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน, พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุต
ด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
๒. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ขันธ์
ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๑๔๘] ๖. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ๑. พระอริยบุคคลทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้วที่สัมปยุตด้วย
ทุกขเวทนา ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา พิจารณากิเลสทั้งหลายที่
ข่มแล้ว, รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน, พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลาย
ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๒. รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยจิตที่สัมปยุตด้วย
ทุกขเวทนา ด้วยเจโตปริยญาณ.
๓. ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่เจโต-
ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 24
๔. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ขันธ์
ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๑๔๙] ๗. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย
คือ ๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิต
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา แล้วพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุข-
เวทนา ออกจากฌานที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา, ออกจากมรรค, ออกจาก
ผล แล้วพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๒. พระอริยบุคคลทั้งหลาย พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ท่านละได้
แล้วที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา,
พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ข่มแล้ว. รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน,
พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา โดยความเป็นของ
ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดีด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๓. บุคคลย่อมเพลิดเพลินยิ่งเพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ ทิฏฐิ
วิจิกิจฉา อุทธัจจะ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาย่อมเกิดขึ้น.
๔. พระอริยบุคคลทั้งหลาย รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียง
ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยเจโตปริยญาณ.
๕. อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ด้วยอำ-
นาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญา-
นาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 25
๖. ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ
แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนา-
คตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๗. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๑๕๐] ๘. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา แล้วพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
ออกจากฌานที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ออกจากมรรค ออกจากผลแล้ว
ย่อมพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
๒. พระอริยบุคคลทั้งหลาย. พิจารณากิเลสทั้งหลายที่ละได้แล้ว
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา พิจารณากิเลส
ทั้งหลายที่ข่มแล้ว, รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน, เพราะปรารภ
ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมพิจารณาเห็นโดยความเป็น
ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา, ย่อมยินดี
ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ ทิฏฐิ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ
๓. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
ขันธ์ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๑๕๑] ๙. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 26
คือ ๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วย
จิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา โทมนัสย่อมเกิดขึ้น แก่บุคคลผู้มีวิปปฏิสาร.
๒. เมื่อฌานที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เสื่อมไปแล้ว โทมนัส
ย่อมเกิดขึ้น แก่บุคคลผู้มีวิปปฏิสาร.
๓. เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๑๕๒] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนาแล้ว กระทำกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อม
พิจารณา ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
๒. ออกจากฌานที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ออกจากมรรค ออก
จากผลแล้ว กระทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อม
พิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
๓. ย่อมยินดีย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่สัม-
ปยุตด้วยสุขเวทนาให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
ครั้นกระทำขันธ์นั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ทิฏฐิ ที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 27
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตขันธ์ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๑๕๓] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนาแล้ว กระทำกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อม
พิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๒. ออกจากฌานที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา, ออกจากมรรค, ออก
จากผลแล้ว กระทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อม
พิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๓. ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งเพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนา ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ
ทิฏฐิ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ
[๑๑๕๔] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีที่สัมปยุตด้วยทุกข-
เวทนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตขันธ์ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๑๕๕] ๔. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 28
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล การทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาแล้ว การทำกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ย่อมพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๒. ออกจากฌานที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ออกจากมรรค
ออกจากผล แล้วการทำกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อม
พิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๓. ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่สัมปยุต
ด้วยอทุกขมสุขเวทนา ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
ราคะ ทิฏฐิ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่อธิบดีที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๑๕๖] ๕. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา กระทำกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ย่อมพิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
๒. ออกจากฌานที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา, ออกจากมรรค,
ออกจากผลแล้ว กระทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อม
พิจารณาด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 29
๓. ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ด้วยจิตที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ
ทิฏฐิที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ.
๔. อนันตรปัจจัย
[๑๑๕๗] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ๑. ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดก่อน ๆ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดหลัง ๆ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
๒. อนุโลมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๓. อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน.
๔. โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค.
๕. โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค.
๖. มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล.
๗. ผล เป็นปัจจัยแก่ผล.
๘. อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๙. ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 30
[๑๑๕๘] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ๑. จุติจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่อุปบัติจิตที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๒. ภวังคจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๓. สุขสหคตกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนธาตุ ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
๔. วิบากมโนวิญญาณธาตุ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่กิริยามโนวิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๕. ภวังคจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ภวังคจิตที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๖. กุศลและอกุศลจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา.
๗. กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ, ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๑๕๙] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดก่อน ๆ ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดหลัง ๆ ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 31
[๑๑๖๐] ๔. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ๑. ทุกขสหคตกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนธาตุ
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๒. ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๑๖๑] ๕. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย
คือ ๑. ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดก่อน ๆ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เกิดหลัง ๆ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
๒. อนุโลมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่โคตรภู
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๓. อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน.
๔. โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค.
๕. โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค.
๖. มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล.
๗. ผลเป็นปัจจัยแก่ผล.
๘. อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 32
๙. เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของพระอริยบุคคลผู้ออกจากนิโรธ
เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
๑๐. ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
วุฏฐานะที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๑๖๒] ๖. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ๑. จุติจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่อุปบัติ-
จิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๒. อาวัชชนจิต เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุข-
เวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๓. วิบากมโนธาตุ เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนวิญญาณธาตุ ที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๔. ภวังคจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ภวังค-
จิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๕. กุศลและอกุศลจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่วุฏฐานะที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
๖. กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.
๗. ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.
๘. เนวสัญญานาสัญญายตนะของพระอริยบุคคลผู้ออกจากนิโรธ
เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 33
[๑๑๖๓] ๗. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ อาวัชชนจิต เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วย
ทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย
[๑๑๖๔] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย
เหมือนกับอนันตรปัจจัย.
๖. สหชาตปัจจัย
[๑๑๖๕] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย, ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๑๖๖] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 34
ปฏิสนธิที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ย่อมไม่ได้ในวาระนี้.
[๑๑๖๗] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
๗. อัญญมัญญปัจจัย
[๑๑๖๘] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ.
๘. นิสสยปัจจัย
ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ.
อัญญมัญญปัจจัยก็ดี นิสสยปัจจัยก็ดี เหมือนกับสหชาตปัจจัย.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๑๑๖๙] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 35
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ.
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. บุคคลอาศัยศรัทธาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาแล้ว ย่อมให้ทาน
สมาทานศีล การทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา, ยังฌานที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนาให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ยังมรรคให้เกิดขึ้น,
ยังสมาบัติให้เกิดขึ้นแล้ว, ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
๒. บุคคลอาศัยศีลที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยสุตะ จาคะ
ปัญญา ราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา อาศัยสุขสหคตกาย-
วิญญาณแล้ว ย่อมให้ทานด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ ยังสมาบัติให้
เกิดขึ้น.
ในธรรมหมวด ๕ ที่มีศรัทธาเป็นต้น พึงเพิ่มคำว่า ก่อมานะ
ถือทิฏฐิ เข้าด้วย ส่วนหมวดที่เหลือไม่ต้องเพิ่ม.
๓. บุคคลถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ พูดเท็จ พูดส่อเสียด
พูดคำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ ตัดที่ต่อ ปล้นไม่เหลือ ปล้นในเรือนหลังหนึ่ง ยืนดัก
ในทางเปลี่ยว คบทาภรรยาของชายอื่น ฆ่าชาวบ้าน ฆ่าชาวนิคม ด้วยจิตที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา.
๔. ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ
โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา สุขสหคตกาย-
วิญญาณเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โมหะ มานะ
ทิฏฐิ ความปรารถนา ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา, แก่สุขสหคตกายวิญญาณ แก่
ขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 36
[๑๑๗๐] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. บุคคลอาศัยศรัทธาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาแล้ว ยังตนให้เดือด
ร้อน ให้เร่าร้อน เสวยทุกข์อันมีการแสวงหาเป็นมูล.
๒. บุคคลอาศัยศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
แล้ว ยังตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน เสวยทุกข์อันมีการแสวงหาเป็นมูล.
๓. บุคคลอาศัยราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนาที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยสุขสหคตกายวิญญาณแล้ว ฆ่าสัตว์ ถือเอาสิ่งของ
ที่เจ้าของไม่ได้ให้ ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูด
คำหยาบ พูดเพ้อเจ้อ ตัดที่ต่อ ปล้นไม่มีส่วนเหลือ ปล้นในเรือนหลังหนึ่ง
ยืนดักในทางเปลี่ยว คบหาภรรยาของชายอื่น ฆ่าชาวบ้าน ฆ่าชาวนิคม ฆ่า
มารดา ฆ่าบิดา ฆ่าพระอรหันต์ ยังพระโลหิตพระตถาคตให้ห้อ ด้วยจิต
ประทุษร้ายแล้ว ทำลายสงฆ์ไห้แตกกัน.
๔. ศรัทธาอันสัมปยุตด้วยสุขเวทนา ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
ราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา สุขสหคต-
กายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่โทสะ ฯลฯ แก่โมหะ แก่ทุกขสหคตกายวิญญาณ
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๗๑] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่างคือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 37
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. บุคคลอาศัยศรัทธาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ให้ทาน สมาทาน
ศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาแล้ว ย่อมยังฌาน
อันสัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น, ยังมรรค
ให้เกิดขึ้น, ยังอภิญญาให้เกิดขึ้น, ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น, ก่อมานะ, ถือทิฏฐิ.
๒. บุคคลอาศัยศีลที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัยสุตะ จาคะ
ปัญญา ราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา อาศัย
สุขสหคตกายวิญญาณแล้ว ย่อมให้ทานด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น, ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนา, พูดเท็จ, พูดส่อเสียด, พูดคำหยาบ, พูดเพ้อเจ้อ, ตัดที่ต่อ,
ปล้นไม่มีส่วนเหลือ, ปล้นในเรือนหลังหนึ่ง, ยืนดักอยู่ในทางเปลี่ยว, คบหา
ภรรยาของชายอื่น, ฆ่าชาวบ้าน, ฆ่าชาวนิคม.
๓. ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ
โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา สุขสหคตกาย-
วิญญาณเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา, แก่ศีล, สุตะ,
จาคะ, ปัญญา, ราคะ, โมหะ, มานะ ทิฏฐิ, ความปรารถนา, แก่สุขสหคต-
กายวิญญาณ, แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๗๒] ๔. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 38
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. บุคคลอาศัยโทสะ แล้วย่อมฆ่าสัตว์ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของ
มิได้ให้ ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ฯลฯ ย่อมทำลายสงฆ์ให้แตกกัน.
๒. บุคคลอาศัยโมหะ ทุกขสหคตกายวิญญาณแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์
ย่อมถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ฯลฯ
ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน.
๓. โทสะ โมหะ ทุกขสหคตกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่โทสะ
โมหะ ทุกขสหคตกายวิญญาณ แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๗๓] ๕. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. บุคคลอาศัยโทสะ แล้วย่อมให้ทานด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุข-
เวทนา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ ด้วยจิตที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม.
๒. อาศัยโมหะ อาศัยทุกขสหคตกายวิญญาณ แล้วย่อมให้ทาน
ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม.
๓. โทสะ โมหะ ทุกขสหคตกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ แก่สุขสหคตกายวิญญาณ แก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 39
[๑๑๗๔] ๖. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. บุคคลอาศัยโทสะ แล้วย่อมให้ทานด้วยจิตที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม.
๒. อาศัยโมหะ ทุกขสหคตกายวิญญาณ แล้วย่อมให้ทานด้วย
จิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม.
๓. โทสะ โมหะ ทุกขสหคตกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ฯลฯ ความปรารถนาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุต
ด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๗๕] ๗. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย
มี ๓ อย่างคือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. บุคคลอาศัยศรัทธาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาแล้ว ย่อม
ให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ อาศัยศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โมหะ มานะ
ทิฏฐิ ความปรารถนาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาแล้ว ย่อมให้ทานด้วย
จิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ถือเอาสิ่งของ
ที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 40
๒. ศรัทธาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
ราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่สัมปยุต
ด้วยอทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ แก่ความปรารถนา แก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๗๖] ๘. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. บุคคลอาศัยศรัทธาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาแล้ว ให้
ทานด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
๒. บุคคลอาศัยศีลที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ อาศัยความ
ปรารถนาแล้ว ให้ทานด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น
ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยจิตที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม.
๓. ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
สุขสหคตกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ความปรารถนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
แก่สุขสหคตกายวิญญาณ แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๑๗๗] ๙. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 41
๑. บุคคลอาศัยศรัทธาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาแล้ว ยังคน
ให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน เสวยทุกข์ อันมีการแสวงหาเป็นมูล.
๒. บุคคลอาศัยศีลที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ฯลฯ อาศัย
ความปรารถนาแล้ว ย่อมฆ่าสัตว์ ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยจิตที่
สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ฯลฯ ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน.
๓. ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา
เป็นปัจจัยแก่ โทสะ โมหะ ทุกขสหคตกายวิญญาณ แก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่
สมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. อาเสวนปัจจัย๑
[๑๑๗๘] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ๑. ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๒. อนุโลมญาณที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
๓. อนุโลมญาณ เป็นปัจจัยแก่โวทาน.
๔. โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค.
๕. โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๑๑๗๙] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
๑. ปุเรชาตปัจจัยและปัจฉาชาตปัจจัย แสดงโดยเวทนาติกะไม่ได้
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 42
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวน-
ปัจจัย.
[๑๑๘๐] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอาเสวน-
ปัจจัย.
คือ ๑. ขันธ์ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาที่เกิดก่อน ๆ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจ
ของอาเสวนปัจจัย.
๒. อนุโลมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่โดธรรม
๓. อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน.
๔. โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค.
๕. โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๑๑. กัมมปัจจัย
[๑๑๘๑] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตขันธ์ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็น
ปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 43
[๑๑๘๒] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย.
[๑๑๘๓] ๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจ
ของกัมมปัจจัย.
[๑๑๘๔] ๔. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ.
ที่เป็นสหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็นนานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๑๘๕] ๕. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 44
มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยทุกข-
เวทนาเป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๑๘๖] ๖. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็นสหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็นนานาขณิกะ ได้แก่เจตนาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็น
ปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย.
[๑๑๘๗] ๗. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วยอทุกขม-
สุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจ
ของกัมมปัจจัย.
[๑๑๘๘] ๘. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
อย่างเดียว คือที่เป็นนานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่สัมปยุตด้วย
อทุกขมสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 45
๑๒. วิปากปัจจัย
[๑๑๘๙] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ ด้วยอำนาจ
ของวิปากปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๒ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ ฯลฯ
[๑๑๙๐] ๒. ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ
๓. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๑ ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๑๓. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๑. อวิคตปัจจัย
[๑๑๙๑] ๑. ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของฌานปัจจัย เป็น
ปัจจัยด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสัมปยุตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 46
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย๑ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของวิคตปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลมแห่งปัญหาวาระ
สุทธมูลกนัย
[๑๑๙๒] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี
๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคค-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓
วาระ.
๑. เหตุมูลกนัย
เหตุสภาคะ
[๑๑๙๓] เพราะเหตุปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๒ วาระ ในมัคคปัจจัย มี
๒ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ.
๑. วิปปยุตตปัจจัย แสดงโดยเวทนาติกะไม่ได้
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 47
เหตุฆฏนา
[๑๑๙๔] ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๑๐ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทริยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๑๐ คือ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๑๑ คือ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทริยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
๒. อารัมมณมูลกนัย
อารัมมณสภาคะ
[๑๑๙๕] เพราะอารัมมณปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาร. . .
ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ.
อารัมมณฆฏนา
ปัจจัย ๓ คือ อารัมมณะ อธิปติ อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 48
๓. อธิปติมูลกนัย
อธิปติสภาคะ
[๑๑๙๖] เพราะอธิปติปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ . . . ใน
อารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย
มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ใน
วิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓
วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
อธิปติฆฏนา
[๑๑๙๗] ปัจจัย ๓ คือ อธิปติ อารัมมณะ อุปนิสสยปัจจัย มี ๔
วาระ.
ปัจจัย ๗ คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ
อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๘ คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญนัญญะ นิสสยะ วิปากะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ
อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๑๐ คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อาหาระ อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 49
ปัจจัย ๑๐ คือ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทริยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
[๑๑๙๘] ปัจจัย ๑๐ คือ อธิปติ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ
นิสสยะ อินทริยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๑๑ คือ อธิปติ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทริยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
๔. อนันตรมูลกนัย ๕. สมนันตรมูลกนัย
อนันตรสภาคะ
[๑๑๙๙] เพราะอนันตรปัจจัย ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ . . .
ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย
มี ๒ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
อนันตรฆฏนา
[๑๒๐๐] ปัจจัย ๕ คือ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ นัตถิ
วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
ปัจจัย ๖ คือ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ อาเสวนะ นัตถิ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๖ คือ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ กัมมะ นัตถิ
วิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
สมนันตรปัจจัย เหมือนกับอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 50
๖. สหชาตะ ๗. อัญญมัญญะ ๘. นิสสยมูลกนัย
สหชาตสภาคะ เป็นต้น
[๑๒๐๑] เพราะสหชาตปัจจัย ... เพราะอัญญมัญญปัจจัย ... เพราะ
นิสสยปปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ . . . ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
สหชาตปัจจัยมี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัยมี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัยมี ๓วาระ
ในวิปากปัจจัยมี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัยมี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัยมี ๓ วาระ
ในฌานปัจจัยมี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัยมี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัยมี ๓ วาระ
ในอัตถิปัจจัยมี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัยมี ๓ วาระ.
นิสสยฆฏนา
[๑๒๐๒] ปัจจัย ๖ คือ นิสสยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ สมปยุตตะ
อัตถิ อวิคตปัจจัยมี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๗ คือ นิสสยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ วิปากะ สัมปยุตตะ
อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
๙. อุปนิสสยมูลกนัย
อุปนิสสยสภาคะ
[๑๒๐๓] เพราะอุปนิสสยปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
ในอธิปติปัจจัยมี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัยมี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี
๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในนัตถิ
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 51
อุปนิสสยฆฏนา
[๑๒๐๔] ปัจจัย ๓ คือ อุปนิสสยะ อารัมมณะ อธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ.
ปัจจัย ๕ คือ อุปนิสสยะ อนันตระ สมนันตระ นัตถิ วิคต-
ปัจจัยมี ๗ วาระ.
ปัจจัย ๖ คือ อุปนิสสยะ อนันตระ สมนันตระ อาเสวนะ
นัตถิ วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๒ คือ อุปนิสสยะ กัมมปัจจัย มี ๘ วาระ
ปัจจัย ๖ คือ อุปนิสสยะ อนันตระ สมนันตระ กัมมะ นัตถิ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
๑๐. อาเสวนมูลกนัย
อาเสวนสภาคะ
[๑๒๐๕] เพราะอาเสวนปัจจัย ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี
๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
อาเสวนฆฏนา
ปัจจัย ๖ คือ อาเสวนะ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ นัตถิ
วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 52
๑๑. กัมมมูลกนัย
กัมมสภาคะ
[๑๒๐๖] เพราะกัมมปัจจัย ในอนันตรปัจจัยมี ๒ วาระในสมนันตร-
ปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓
วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ ในวิปาก-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓
วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิคตปัจจัย
มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
กัมมฆฏนา
[๑๒๐๗] ปัจจัย ๒ คือ กัมมะ อุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ.
ปัจจัย ๖ คือ กัมมะ อนันตระ สมนันตระ อุปนิสสยะ นัตถิ
อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๘ คือ กัมมะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ กัมมะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสลยะ วิปากะ
อาหาระ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
๑๒. วิปากมูลกนัย
วิปากสภาคะ
[๑๒๐๘] เพราะวิปากปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ. . .ในอธิปติ-
ปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอัตถิปัจจัย มี ๓
วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 53
วิปากฆฏนา
ปัจจัย ๗ คือ วิปากะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ
อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
๑๓. อาหารมูลกนัย
อาหารสภาคะ
[๑๒๐๙] เพราะอาหารปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓
วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย
มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ.
อาหารฆฏนา
[๑๒๑๐] ปัจจัย ๗ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ กัมมะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ กัมมะ
วิปากะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 54
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๘ คือ อาหาระ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทริยะ สัมปยุตตะ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ อาหาระ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๑๐ คือ อาหาระ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
วิปากะ อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
๑๔. อินทริยมูลกนัย
อินทริยสภาคะ
[๑๒๑๑] เพราะอินทริยปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอธิปติ-
ปัจจัยมี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี
๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
อินทริยฆฏนา
[๑๒๑๒] ปัจจัย ๗ คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๘ คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญนัญญะ นิสสยะ วิปากะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 55
ปัจจัย ๘ คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๘ คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ ฌานะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
ฌานะ มัคคะ สัมปยุตตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๘ คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อาหาระ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อาหาระ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ อินทริยะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
อาหาระ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทริยะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
วิปากะ อาหาระ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ อินทริยะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 56
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทริยะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
วิปากะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ อินทริยะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทริยะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
วิปากะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๑๐ คือ อินทริยะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ
นิสสยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๑๑ คือ อินทริยะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ
นิสสยะ วิปากะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
๑๕. ฌานมูลกนัย
ฌานสภาคะ
[๑๒๑๓] เพราะฌานปัจจัย ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
อัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒
วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตต-
ปัจจัย ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ฌานฆฏนา
[๑๒๑๔] ปัจจัย ๗ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 57
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๘ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ มัคคะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ
มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๑๐ คือ ฌานะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทริยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
๑๘. มัคคมูลกนัย
มัคคสภาคะ
[๑๒๑๕] เพราะมัคคะปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ . . . ใน
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย
มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ใน
อินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี
๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 58
มัคคฆฏนา
[๑๒๑๖] ปัจจัย ๗ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๘ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ ฌานะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
ฌานะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ
ฌานะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทริยะ ฌานะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
วิปากะ อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๙ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อินทริยะ
สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 59
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๑๐ คือ มัคคะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๑๑ คือ มัคคะ เหตุ อธิปติ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
วิปากะ อินทริยะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
๑๙. สัมปยุตตมูลกนัย
สัมปยุตตสภาคะ
[๑๒๐๗] เพราะสัมปยุตตปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย
มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปาก
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ
ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓
วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
สัมปยุตตฆฏนา
[๑๒๑๘] ปัจจัย ๖ คือ สัมปยุตตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ
อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๗ คือ สัมปยุตตะ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 60
๒๐-๒๔ อัตถิมูลกนัยเป็นต้น
เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะ
อวิคตปัจจัย ฯลฯ.
อนุโลมแห่งปัญหาวาระ จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ
[๑๒๑๙] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแห่งธรรมที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย...เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๒๒๐] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่
สัมปยุตตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๒๒๑] ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย.
[๒๒๒] ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็น
ปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 61
[๑๒๒๓] ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็น
ปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๒๒๔] ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย.
[๑๒๒๕] ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๒๒๖] ธรรมที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่
ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย.
[๑๒๒๗] ธรรมที่สัมปยุตตด้วยอทุกขมสุขเวทนา เป็นปัจจัย
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจ องอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 62
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ
สุทธมูลกนัย
[๑๒๒๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ... ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙
วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ใน
นสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอัญญมัญญ-
ปัจจัย มี ๙ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี
๙ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ
ในนฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย
มี ๙ วาระ ในนวิปปยุคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ
ในโนนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย
มี ๙ วาระ.
นเหตุมูลกนัย
[๑๒๒๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ
. . .ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ ฯลฯ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 63
เพราะอุปนิสสยปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย
นอาเสวนปัจจัย นวิปากปัจจัย นอาหารปัจจัย ฯลฯ ในโนอวิคตปัจจัยมี
๘ วาระ.
นเหตุมูลกนัย จบ
แม้ในเวทนาติกะ นี้ ผู้มีปัญญาพึงจำแนกมูลกนัยทั้งหมดเหมือนนับ
จำนวนวาระในปัจจนียะ แห่งกุสลติกะ
ปัจจนีนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ
เหตุสภาคะ
[๑๒๓๐] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอธิปติ-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓
วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย
มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย
มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 64
เหตุฆฏนา
ปัจจัย ๗ คือเหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ อัตถิ
อวิคตปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ แห่งกุสลติกะ นับโดยวิธี
สาธยายฉันใด แม้เวทนาติกะนี้ ก็พึงนับฉันนั้น.
เพราะกัมมปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี ๘ วาระ . . . ในนอารัมมณ-
ปัจจัยมี ๘ วาระ ฯลฯ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลมแห่งปัญหาวาระ
นเหตุมูลกนัย
[๑๒๓๑] เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี
๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี
๗ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคค-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓
วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 65
[๑๒๓๒] เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ในอธิปติปัจจัย
มี ๓ วาระ . . . ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตร-
ปัจจัย นสมนันตรปัจจัย ในสหชาตปัจจัยมี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย
มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ใน
กัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๒๓๓] เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นนิสสย-
ปัจจัย ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ . . . ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ.
เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นอุปนิสสยปัจจัย
นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัน นวิปากปัจจัย
นอาหารปัจจัย นอินทริยปัจจัย นฌานปัจจัย นมัคคปัจจัย
นสัมปยุตตปัจจัย นวิปปยุตตปัจจัย โนอัตถิปัจจัย โนนัตถิปัจจัย
โนวิคตปัจจัย โนอวิตปัจจัย ในกัมมปัจจัยมี ๘ วาระ๑
เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ นนิสสยปัจจัย
นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นกัมมปัจจัย ฯลฯ
โนวิคตปัจจัย ในอุปนิสสยปัจจัยมี ๙ วาระ๒
นเหตุมูลกนัย จบ
๑. และ ๒. จำนวนปัจจัยที่ยกมาแสดงเท่ากัน ต่างกันแต่ในข้อ ๑. เว้นไม่แสดงกัมมปัจจัย
โดยปัจจนียะ แต่นำมาแสดงโดยลนุโลม ส่วนในข้อ ๒. เว้นไม่แสดงอุปนิสยปัจจัยโดยปัจจนียะ
แต่นำมาแสดงโดยอนุโลม คือไม่แสดงนอุปนิสสยปัจจัยและนกัมมปัจจัยพร้อมกัน แต่แยกแสดง
ทีละปัจจัย ๒. บาลีไทยขาดไป.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 66
[๑๒๓๔] เพราะนอารัมมณปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ...
ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
[๑๒๓๕] เพราะโนอวิคตปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ . . .
ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
กัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัยมี ๗ วาระ.
[๑๒๓๖] เพราะโนอวิคตปัจจัย นเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย
ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ...ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ
ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
[๑๒๓๗] เพราะโนอวิคตปัจจัย นเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย
นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย นสมนันตรปัจจัย นสหชาตปัจจัย
นอัญญมัญญปัจจัย นนิสสยปัจจัย นอุปนิสสยปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย
นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย นวิปากปัจจัย นอาหารปัจจัย
นอินทริยปัจจัย นฌานปัจจัย นมัคคปัจจัย นสัมปยุตตปัจจัย๑
มี ๘ วาระ.
เพราะโนอวิคตปัจจัย นเหตุปัจจัย ฯลฯ นนิสสยปัจจัย นปุเร-
ชาตปัจจัย ฯลฯ นกัมมปัจจัย ฯลฯ โนวิคตปัจจัย ในอุปนิสสยปัจจัย มี
๙ วาระ๒
๑. - ๒. ไม่แสดงนอุปนิสสยปัจจัยและนกัมมปัจจัยพร้อมกัน แต่แยกแสดงโดยนัยเดียวกับ
ข้อ (๑๒๓๓). ๒. บาลีไทยขาดไป
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 67
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม แห่งกุสลติกะ นับโดยวิธี
สาธยายฉันใด เวทนาติกะนี้ ก็พึงนับฉันนั้น.
ปัจจนียานุโลม จบ
เวทนาติกะที่ ๒ จบ
อรรถกถาวรรณนาเนื้อความแห่งเวทนาติกปัฏฐาน
ธรรมเหล่านี้คือ เวทนา ๓ รูป นิพพาน ย่อมไม่ได้ใน เวทนาติกะ
เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า เอก ขนฺธ ปฏิจฺจ เทฺว ขนฺธา
เป็นต้น. คำว่า ปฏิสนฺธิกฺขเณ สุขาย เวทนาย ตรัสด้วยอำนาจสเหตุก-
ปฏิสนธิ ส่วนทุกขเวทนาย่อมไม่ได้ในปฏิสนธิกาล. เพราะฉะนั้นพระผู้มี-
พระภาคเจ้าจึงไม่ทรงระบุถึงปฏิสนธิในวาระที่ ๒. คำว่า ปฏิสนฺธิกฺขเณ ใน
วาระที่ ๓ ตรัสด้วยอำนาจสเหตุกปฏิสนธิ ก็คำที่เหลือในอธิการนี้ในปัจจัยอื่น
จากนี้ ย่อมเป็นไปตามพระบาลีนั่นแหละ ในที่ทั้งปวงตรัสว่าระไว้ ๓ วาระ
เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า เหตุยา ตีณิ ฯเปฯ อวิคเต ตีณิ.
ก็ในการเทียบเคียงปัจจัยตรัสว่า วิปาเก เทฺว ในวิปากปัจจัยมี ๒
วาระ ในเหตุมูลกนัย เพราะทุกขเวทนาฝ่ายวิบากที่เป็นสเหตุกะไม่มี. ในการ
เทียบเคียงกับอธิปติปัจจัยเป็นต้น วิปากปัจจัย มีวิสัชนา ๒ วาระเท่านั้น.
เพราะเหตุไร ? เพราะอธิปติ ฌาน และมัคคปัจจัยไม่มีโดยเป็นวิปากทุกข-
เวทนา. ก็ในการเทียบเคียงปัจจัยเหล่าใด วิปากปัจจัยย่อมได้วาระ ๒ แม้ใน
ปัจจัยเหล่านั้นก็ได้วาระ ๒ เหมือนกัน เพราะเทียบเคียงกับวิปากปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 68
ในนปุเรชาตปัจจัย ที่เป็น ปัจจนียะ วาระ ๒ มาแล้ว เพราะไม่
มีทุกขเวทนา ในอรูปภพ และในปฏิสนธิกาล. แม้ใน วิปปยุตตปัจจัย ก็มี
วาระ ๒ เหมือนกัน เพราะไม่มีทุกขเวทนา ในอรูปภพ. ก็ปัจจัยทั้งหลายมี
สหชาตปัจจัยเป็นต้นที่คลุมไปถึงอรูปธรรมทั้งหมด ย่อมขาดไปในปัจจนียะ
วาระนี้. เพราะเหตุไร ? เพราะธรรมที่สัมปยุตด้วยเวทนา อาศัยธรรม
ที่สัมปยุตด้วยเวทนาเกิดขึ้นไม่ได้ โดยเว้น จากสหชาตปัจจัยเป็นต้น และเพราะ
ธรรมที่สัมปยุตด้วยเวทนาเกิดได้โดยเว้นปัจฉาชาตปัจจัย.
ก็ในการเทียบเคียงปัจจัย คำว่า นปุเรชาเต เอก ในนปุเรชาต-
ปัจจัยมี ๑ วาระ ตรัสหมายถึง ธรรมในปฏิสนธิในอรูปภพ และธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอเหตุกอทุกขมสุขเวทนา. สองบทว่า นกมฺเม เทฺว ในนกัมมปัจจัยมี ๒
วาระ ตรัสด้วยอำนาจเจตนาที่สัมปยุตด้วยอเหตุกกิริยา. จริงอยู่ อเหตุกกิริยา
เจตนาที่สัมปยุตด้วยเวทนาเหล่านั้น ย่อมเกิดขึ้นเพราะอาศัยธรรมทั้งหลาย
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา. แม้ในคำว่า นเหตุปจฺจยา
นกมฺมปจฺจยา นวิปาก ก็นัยนี้เหมือนกัน. สองบทว่า นวิปฺปยุตฺเต เอก
ในนวิปปยุตตปัจจัยมี ๑ วาระ ตรัสด้วยอำนาจอาวัชขนจิตในอรูปภพ. ในการ
เทียบเคียงปัจจัยทุกแห่ง พึงทราบวิธีนับโดยอุบายนี้.
ปัจจัยที่ได้ใน อนุโลมปัจจนียะ เท่านั้น ตั้งอยู่โดยเป็นปัจจนียะ.
สหชาตปัจจัยเป็นต้น ที่คลุมไปถึงอรูปธรรมทั้งหมดใน ปัจจนียานุโลม ย่อม
ตั้งอยู่โดยอนุโลมเท่านั้น ไม่ตั้งอยู่โดยความเป็นปัจจนียะ แต่อธิปติของอเหตุก-
จิตตุปบาทไม่มี เพราะฉะนั้นอธิปติปัจจัย จึงไม่ตั้งอยู่โดยความเป็นอนุโลม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 69
ก็ในปฏิจจวาระเป็นต้น ปัจฉาชาตปัจจัยย่อมไม่มีได้เลย ฉะนั้น
จึงขาดไป. อนึ่ง ในอธิการนี้ ปัจจัยเหล่าใดมีได้โดยเป็นอนุโลม ปัจจัยเหล่า
นั้น ท่านประกอบอธิบายหมุนเวียนไปกับปัจจัยที่ได้อยู่โดยเป็นปัจจนียะ. ใน
ปัจจัยเหล่านั้นมีกำหนดวาระ ๓ เท่านั้นคือ ๓-๒ -๑ ผู้ศึกษาพึงกำหนดตาม
ความเหมาะสม และพึงทราบปัจจัยเหล่านั้นในที่ทุกสถาน ก็นัยแห่งวรรณนานี้ใด
ตรัสแล้วในปฏิจจวาระ นัยแห่งวรรณนานี้เองตรัสไว้ในสหชาตวาระเป็นต้นด้วย.
ก็คำว่า สมฺปยุตฺตกาน ขนฺธาน ในปัญหาวาระ คือขันธ์ทั้งหลาย
ที่สัมปยุตด้วยธรรมนั้น หรือด้วยเหตุทั้งหลายเหล่านั้นเอง หรือด้วยสุขเวทนา
เป็นต้น. บทว่า วิปฺปฏิสาริสฺส คือมีความเดือดร้อนในกุศลมีทานเป็นต้น
อย่างนี้ว่า ทำไมเราถึงทำกรรมนี้ กรรมชั่วเราไม่ทำเสียเลยดีกว่า แต่มีความ
เดือดร้อนเพราะฌานเสื่อมไปอย่างนี้ว่า ฌานของเราเสื่อมแล้ว เราเป็นผู้เสื่อม
ใหญ่หนอ. สองบทว่า โมโห อุปฺปชฺชติ ได้แก่ โมหะที่สัมปยุตด้วยโทสะ.
เท่านั้น. คำว่า โมห อารพฺภ ได้แก่ โมหะที่สัมปยุตด้วยโทสะ เหมือนกัน
คำว่า ภวังค์ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่
สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา ความว่า ภวังค์ดวงหลัง กล่าวคือ ตทา-
รัมมณะเป็นปัจจัยแก่ภวังค์ดวงเดิม. บทว่า วุฏฺานสฺส คือตทารัมมณะหรือ
ภวังค์. จริงอยู่ จิตทั้งสองนั้นท่านเรียกว่า วุฏฐานะ เพราะออกจากกุศล-
ชวนะหรืออกุศลชวนะ. แม้ในคำว่า กิริย วุฏฺานสฺส นี้ ก็นัยนี้เหมือน
กัน. สองบทว่า ผล วุฏฺานสฺส ได้แก่ ผลจิตเป็นปัจจัยแก่ภวังคจิต. จริงอยู่
ชื่อว่าการออกจากผลจิตย่อมมีด้วยภวังคจิต แม้ในอาคตสถานว่า วุฏฺาน ข้าง
หน้าก็นัยนี้เหมือนกัน.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 70
คำว่า ทุกฺขาย เวทนาย สมฺปยุตฺตา ขนฺธา ได้แก่ อกุศลขันธ์
ที่สัมปยุตด้วยโทมนัสเวทนา. คำว่า อทุกขมสุขาย เวทนาย สมฺปยุตตสฺส
วุฏฺานสฺส ได้แก่ อาคันตุกภวังค์ คือ ตทารัมมณะ หรือ มูลภวังค์ ที่
สัมปยุตด้วยอุเบกขา. ก็ถ้าจิตที่สหรคตด้วยโสมนัสเป็นมูลภวังค์ เหตุที่จะให้
เกิดตทารัมมณะย่อมไม่มี อกุศลวิบากที่เป็นอุเบกขาเวทนา ย่อมเกิดขึ้นใน
อารมณ์อื่นจากอารมณ์ของชวนะ. จริงอยู่ อกุศลวิบากแม้นั้น ท่านเรียกว่า
วุฏฐานะ เพราะออกจากชวนะ. นิทเทสแห่งสหชาตปัจจัยเป็นต้น มีใจความ
ตื้นทั้งนั้น เพราะว่าในอธิการนี้คำที่ไม่สามารถจะรู้ตามนัยที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้แล้ว
ในหนหลังไม่มี เพราะฉะนั้นผู้ศึกษาพึงกำหนดให้ดี.
วาระเหล่าใด ๆ ได้แล้วในปัจจัยใด ๆ บัดนี้เพื่อจะย่อแสดงปัจจัยและ
วาระเหล่านั้นทั้งหมดด้วยอำนาจแห่งการนับ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า
เหตุยา ตีณิ เป็นต้น. วิสัชนา ๓ วาระเหล่านั้นทั้งหมด ในคำว่า เหตุยา
ตีณิ ผู้ศึกษาพึงทราบด้วยอำนาจแห่งบทล้วน ๆ ๓ บท. วิสัชนา ๙ วาระใน
อารัมมณปัจจัย มีปัจจัยที่มีมูล ๑ มีมูลี ๑ เป็นที่สุด. ในอธิปติปัจจัย มี
วิสัชนา ๕ วาระคือ วิสัชนา ๓ ที่ไม่เจือกันด้วยอำนาจของสหชาตาธิปติปัจจัย
และวิสัชนา ๒ คือ ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุต
ด้วยสุขเวทนาด้วยอำนาจของอารัมมณาธิปติปัจจัย ธรรมที่สัมปยุตด้วยอุเบกขา
เวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนา ด้วยอำนาจของ
อารัมมณาธิปติปัจจัย. วิสัชนา ๒ เหล่านั้น ผู้ศึกษาไม่ควรนับ แต่ควรนับ
วิสัชนา ๒ เหล่านี้ คือ ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุต
ด้วยอุเบกขาเวทนา ธรรมที่สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนาเป็นปัจจัยแก่ธรรมที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา รวมเป็นวิสัชนา ๕ วาระ ด้วยประการฉะนี้.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 71
บทว่า สตฺต ในอนันตรและสมนันตรปัจจัย ได้แก่ วิสัชนา ๗
วาระอย่างนี้คือ สุขเวทนาเป็นปัจจัยแก่ธรรม ๒ อย่าง ทุกขเวทนาเป็นปัจจัย
แก่ธรรม ๒ อย่าง อุเบกขาเวทนาเป็นปัจจัยแก่ธรรมได้ทั้ง ๓ อย่าง.
สองบทว่า อุปนิสฺสเย นว ได้แก่ วิสัชนา ๙ วาระอย่างนี้คือ
ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา โดย
อุปนิสสยปัจจัยทั้ง ๓ อย่าง เป็นปกตูปนิสสยปัจจัยอย่างเดียวแก่ธรรมที่สัมปยุต
ด้วยทุกขเวทนา เป็นอุปนิสสยปัจจัยทั้ง ๓ อย่าง แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอุเบกขา-
เวทนา ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นอนันตรูปนิสสยและปกตูปนิสสย-
ปัจจัย แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา เป็นปกตูปนิสสยปัจจัยแก่ธรรมที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นอนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยปัจจัยทั้ง ๒ อย่าง
แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนา. ธรรมที่สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนา
เป็นอารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยปัจจัย แก่ธรรมที่
สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนาและสุขเวทนา เป็นอนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสย-
ปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา. ก็ในอธิการนี้ เมื่อว่าโดยความต่างกัน
แห่งปัจจัย ปกตูปนิสสยปัจจัยมี ๙ วาระ อนันตรูปนิสสยปัจจัยมี ๗ วาระ
อารัมมณูปนิสสยปัจจัยมี ๔ วาระ รวมเป็นอุปนิสสยปัจจัย ๒๐ ประเภท.
ก็ในอธิการนี้ ปุเรชาตปัจจัยและปัจฉาชาตปัจจัยขาดไป เพราะว่า
อรูปธรรมที่เกิดก่อนหรือเกิดทีหลังย่อมไม่เป็นปัจจัยแก่อรูปธรรม. สองบทว่า
กมฺเม อฏฺ ได้แก่วิสัชนา ๘ วาระ อย่างนี้คือ ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
เป็น กัมมปัจจัย ทั้ง ๒ อย่าง แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัย
โดยนานักขณิกกัมมปัจจัยอย่างเดียวแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา และแก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 72
ธรรมที่สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนา ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย ๒ อย่าง แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา ที่เป็น
ปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาไม่มี เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาเวทนาโดย
นานักขณิกกัมมปัจจัยอย่างเดียว ธรรมที่สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนาเป็นปัจจัย
โดยกัมมปัจจัยทั้ง ๒ อย่าง แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนา เป็นนานัก-
ขณิกกัมมปัจจัยอย่างเดียว แก่ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและทุกขเวทนานอก
นี้. ก็ในอธิการนี้ ว่าโดยความต่างกันแห่งปัจจัย นานักขณิกกัมมปัจจัยมี ๘
สหชาตกัมมปัจจัยมี ๓ รวมเป็นกัมมปัจจัย ๑๑ ประเภท. ก็ในนิทเทสแห่ง
กัมมปัจจัย นี้ วิปปยุตตปัจจัยย่อมขาดไปเหมือนปุเรชาตะ และปัจฉาชาต-
ปัจจัยฉะนั้น เพราะว่าอรูปธรรมทั้งหลายย่อมไม่เป็นวิปปยุตตปัจจัยแก่อรูป
ธรรมด้วยกัน.
วาระ ๗ ใน นัตถิและวิคตปัจจัย เหมือนกับในอนันตรปัจจัย
และสมนันตรปัจจัย. ในอธิการนี้มีการกำหนดวิธีนับ ๕ อย่าง คือวิสัชนา
๓-๕-๗-๘-๙ ด้วยประการฉะนี้. ในการรวมปัจจัยด้วยอำนาจการกำหนดวิธี
นับเหล่านั้น ผู้ศึกษาพึงนำปัจจัยที่เกินและที่ไม่ได้ออกไป ในการรวมกับปัจจัย
ทีมีวิธีนับได้น้อยกว่า แล้วทราบวิธีนับต่อไป ในการรวมกับเหตุปัจจัยย่อม
ไม่ได้อารัมมณปัจจัยและสมนันตรปัจจัยเป็นต้น.
สองบทว่า อธิปติยา เทฺว วิสัชนา ๒ วาระที่เหลือเว้นบทที่เกี่ยว
กับทุกขเวทนา. จริงอยู่ ชื่อว่าเหตุที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาที่เป็นอธิบดีมีไม่ได้
เพราะเหตุนั้นท่านจึงนำออกเสีย แม้ในสองวาระที่เหลือก็นัยนี้เหมือนกัน.
ในคำว่า เทฺว ใน เหตุมูลกนัย มีการกำหนดวิธีนับ ๒ วาระเท่า
นั้น ด้วยประการฉะนี้. ฆฏนา ๖ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ด้วยอำนาจการ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 73
กำหนดวิธีนับเหล่านั้น. บรรดาฆฏนา ๖ เหล่านั้น ฆฏนาที่ ๑ ตรัสไว้
ด้วยอำนาจธรรมที่ไม่มีอธิบดีที่ไม่ประกอบด้วยญาณซึ่งเป็นวิบาก.
ฆฏนาที่ ๒ ตรัสด้วยอำนาจธรรมเหล่านั้นเองซึ่งเป็นวิบาก.
ฆฏนาที่ ๓ และ ฆฏนาที่ ๔ ตรัสด้วยอำนาจธรรมเหล่านั้นอีก แต่
เป็นญาณสัมปยุต.
ฆฏนาที่ ๕ ตรัสด้วยอำนาจอโมหะที่เป็นอธิบดีที่เป็นอวิปาก.
ฆฏนาที่ ๖ ตรัสด้วยอำนาจอโมหะที่เป็นอธิบดีที่เป็นวิบาก.
อีกอย่างหนึ่ง ฆฏนาที่ ๑ ตรัสด้วยอำนาจเหตุทั้งหมด.
ฆฏนาที่ ๒ ตรัสด้วยอำนาจวิบากเหตุทั้งหมด.
ฆฏนาที่ ๓ ตรัสด้วยอำนาจอโมหะเหตุทั้งหมด.
ฆฏนาที่ ๔ ตรัสด้วยอำนาจอโมหะเหตุที่เป็นวิบากทั้งหมด.
ฆฏนาที่ ๕ ตรัสด้วยอำนาจอโมหะที่เป็นอธิบดีทั้งหมด.
ฆฏนาที่ ๖ ตรัสด้วยอำนาจอโมหะที่เป็นวิบากมีอธิบดีทั้งหมด.
ในอารัมมณมูลกนัย สองบทว่า อธิปติยา จตฺตาริ ความว่า ใน
อธิปติปัจจัยมีฆฏนา ๔ วาระอย่างนี้คือ สุขเป็นปัจจัยแก่สุข แก่อุเบกขา ด้วย
อำนาจของอารัมมณาธิปติปัจจัย อุเบกขาเป็นปัจจัยแก่อุเบกขา แก่สุข ด้วย
อำนาจของอารัมมณาธิปติปัจจัย.
แม้ในอุปนิสสยปัจจัย พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสวาระไว้ ๔ วาระ ด้วย
อำนาจอารัมมณูปนิสสยปัจจัย. ก็ในอุปนิสสยปัจจัยมีฆฏนา ๑ เท่านั้น. แม้ใน
นัยที่มี อธิปติปัจจัย เป็นต้น ฆฏนาใดมีได้และไม่ได้ ตามนัยที่กล่าวแล้ว
ในหนหลัง ผู้ศึกษากำหนดฆฏนานั้นทั้งหมดแล้วพึงทราบจำนวนฆฏนาที่เทียบ
เคียงกัน.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 74
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยกปัจจัยทั้งหลายขึ้นโกยอนุโลมตามนัยที่ตรัสไว้
ในกุสลติกะในปัจจนียนัย แล้วทรงแสดงวาระ ๙ ในปัจจัยทั้งปวงว่า นเหตุยา
นว เป็นต้น ด้วยอำนาจการนับโดยปัจจนียะ เกี่ยวกับวาระที่ได้ในปัจจัยเหล่า
นั้น วาระเหล่านั้นผู้ศึกษาพึงยกบาลีขึ้นแสดงโดยนัยว่า บุคคลถวายทานด้วยจิต
ที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่
สัมปยุตด้วยสุขเวทนา โดยนเหตุปัจจัย ดังนี้ เป็นต้น ด้วยอำนาจแห่งวิสัชนา ๙
วาระ อันมีปัจจัยที่มีมูละ ๑ และมีมูลี ๑ เป็นที่สุด.
ก็ในการรวมปัจจัยในอธิการนี้ คำว่า นเหตุปจฺจยา ฯเปฯ นอุป-
นิสฺสเย อฏฺ ผู้ศึกษาพึงทราบวาระด้วยอำนาจนานักขณิกกัมมปัจจัย จริงอยู่
กรรมที่มีกำลังทรามย่อมไม่เป็นอุปนิสสยปัจจัย แต่เป็นปัจจัยโดยนานักขณิก-
กัมมปัจจัยอย่างเดียวเท่านั้น ก็ฆฏนาที่เหลือทั้งในอนุโลมปัจจนียะและปัจจนียา-
นุโลมในอธิการนี้ ผู้ศึกษาสามารถนับได้โดยนัยที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้แล้วในหนหลัง
ด้วยอำนาจแห่งวาระที่ได้แล้วในการประกอบแห่งปัจจัยนั้น ๆ เพราะฉะนั้นจึง
ไม่อธิบายอย่างพิสดาร แล.
อรรถกถาวรรณนาเนื้อความแห่งเวทนาติกปัฏฐาน จบแล้ว
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 75
๓. วิปากติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย
[๑๒๓๘] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุ
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์
๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์
๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์ทั้งหลายเกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยวิบากขันธ์ทั้งหลายเกิดขึ้น.
๓. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 76
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๓๙] ๔. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น
๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมม-
ธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น.
๖. วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมม-
ธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๔๐] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 77
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัย
มหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหา
ภูตรูปเกิดขึ้น.
๘. วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๙. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น, กฏัตตารูป
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๔๑] ๑๐. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๑๑. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม
และเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น. ใน
ปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
๑๒. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
อาศัยวิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 78
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัย
วิบากขันธ์ และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๔๒] ๑๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมม-
ธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป
เกิดขึ้น.
อารัมมณปัจจัย
[๑๒๔๓] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์
๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๔๔] ๒. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 79
[๑๒๔๕] ๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๔. วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
[๑๒๔๖] ๕. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย.
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทย-
วัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
อธิปติปัจจัย
[๑๒๔๗] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อธิปติปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม
เกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย.
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 80
๓. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัย
วิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ที่อาศัย วิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น มี ๓* วาระ.
[๑๒๔๘] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๔๙] ๘. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม
และเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย.
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๕๐] ๙. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมม-
ธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย.
๑. คือวาระที่ ๔-๕-๖ (ซึ่งย่อไว้ไม่แสดง) วาระต่อไปจึงเป็นวาระที่ ๗
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 81
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป
เกิดขึ้น.
[๑๒๕๑] ๑๐. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะ
อนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะสมนันตรปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับอารัมมณปัจจัย
เพราะสหชาตปัจจัย ฯลฯ สหชาตปัจจัยทั้งหมด เหมือนเหตุปัจจัย
(คือมี ๑๓ วาระ)
[๑๒๕๒] ๑๑. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย.
คือ พาหิรรูป. . . อาหารสมุฏฐานรูป. .. อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ
นี้เป็นข้อแตกต่างกันในสหชาตปัจจัย.
อัญญมัญญปัจจัย
[๑๒๕๓] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะ-
อัญญมัญญปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์
๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 82
๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม
เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย.
คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยวิบากขันธ์เกิดขึ้น.
๓. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัย
วิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย.
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
วิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๕๔] ๔. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น
เพราะอัญญมัญญปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์
๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๕๕] ๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ฯลฯ
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป. . . อาหารสมุฏฐานรูป. . .
อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
๖. วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิด
ขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 83
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น
[๑๒๕๖] ๗. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย.
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
[๑๒๕๗] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะนิสสย๑-
ปัจจัย ฯลฯ เพราะอุปนิสสยปัจจัย๒ เพราะปุเรชาตปัจจัย๓
อาเสวนปัจจัย
[๑๒๕๘] ๑. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น
เพราะอาเสวนปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์
๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๕๙] ๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๑. มี ๑๓ วาระ ๒. มี ๕ วาระ ๓. มี ๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 84
[๑๒๖๐] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะกัมม๑-
ปัจจัย ฯลฯ
วิปากปัจจัย
วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
[๑๒๖๑] ๔. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย.
คือ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
๕. วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย.
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น
๖. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อา-
ศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย.
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น, กฏัตตารูป
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๖๒] ๗. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย ฯลฯ.
๑. มี ๑๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 85
๘. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ฯลฯ เกิดขึ้น เพราะ
วิปากปัจจัย ฯลฯ.
๙. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ฯลฯ
เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย.
อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๑๒๖๓] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะอาหาร
ปัจจัย ฯลฯ เพราะอินทริยปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย
เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะ
นัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๑๒๖๔] ในเหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอันนตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๕ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๓ วาระ ใน
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี
๑๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
สัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 86
มี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอวิคต-
ปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
เหตุมูลกนัย
[๑๒๖๕] เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ
ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ. พึงนับเหมือนการนับในกุสลติกะ.
อาเสวนมูลกนัย
[๑๒๖๖] เพราะอาเสวนปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ . . . ใน
อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒
วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ใน
อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ใน
อาหารปัจจัย มี ๒ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๒ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๒
วาระในมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิคต-
ปัจจัย มี ๒ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
วิปากมูลกนัย
[๑๒๖๗] เพราะวิปากปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ...ในอารัมมณ-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญ-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 87
ปัจจัย มี ๖ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙
วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย
มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ใน
อัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
การนับวาระในอนุโลม จบ
ปัจจนียนัย
นเหตุปัจจัย
[๑๒๖๘] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะ-
นเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น,
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น, ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม
เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอเหตุกวิบากเกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยวิบากขันธ์เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 88
๓. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกวิบาก
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
วิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๖๙] ๔. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เกิดขึ้น.
[๑๒๗๐] ๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปาก
นวิปากธัมมธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัย
มหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 89
พาหิรรูป . . . อาหารสมุฏฐานรูป . . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ
กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
๖. วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๗. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น,
กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๗๑] ๘. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและ
หทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๙. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม
และเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอเหตุกวิบาก และมหาภูตรูป
เกิดขึ้น. ในอเหตุปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์ และมหาภูตรูป
เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 90
๑๐. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
อาศัยวิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะ-
นเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและ
หทยวัตถุเกิดขึ้น, ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น, กฏัตตารูป
อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
นอารัมมณปัจจัย
[๑๒๗๒] ๑. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์เกิดขึ้น.
[๑๒๗๓] ๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมม-
ธรรมเกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น.
[๑๒๗๔] ๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 91
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เกิดขึ้น, มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัต-
ตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น, พาหิรรูป . . . อาหารสมุฏฐานรูป
. . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น
ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๗๕] ๔. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม
และเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น ..
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๗๖] ๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมม-
ธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูปเกิดขึ้น
นอธิปติปัจจัย
[๑๒๗๗] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะ-
นอธิปติปัจจัย
ย่อเหมือนสหชาตปัจจัย ที่เป็นอนุโลม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 92
นอนันตร - นสมนันตร - นอัญญมัญญปัจจัย
[๑๒๗๘] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น
เพราะนอนนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญมัญญ-
ปัจจัย.
คือ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น, พาหิรรูป . . . อาหารสมุฏฐานรูป . . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป
ทั้งหลายเกิดขึ้น.
นี้เป็นความต่างกันสำหรับธรรมที่เกิดขึ้น เพราะนอัญญมัญญปัจจัย
เพราะนอุปนิสสยปัจจัย.
นปุเรชาตปัจจัย
[๑๒๗๙] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะ-
นปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์
๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ
๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม
เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๓. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัย
วิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 93
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
วิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๘๐] ๔. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น
เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรม
เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น.
[๑๒๘๑] ๖. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมม-
ธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์
ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ พาหิรรูป . . . จิตตสมุฏ-
ฐานรูป . . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ.
๗. วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 94
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๘. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัย
เนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูป
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๘๒] ๙. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๑๐. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมและ
เนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
๑๑. วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนปุ-
เรชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยวิบาก-
ขันธ์ และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 95
[๑๒๘๓] ๑๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมม-
ธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป
เกิดขึ้น.
นปัจฉาชาต - นอาเสวนปัจจัย
วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย
ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย.
นกัมมปัจจัย
๑. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น
เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม
เกิดขึ้น.
[๑๒๘๔] ๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิ-
ปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นเนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น.
พาหิรรูป . . . อาหารสมุฏฐานรูป. . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป
๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 96
นวิปากปัจจัย
[๑๒๘๕] ๑. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น
เพราะนวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมม-
ธรรมเกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น.
๓. วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมม-
ธรรมเกิดขึ้น, ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๘๖] ๔. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่
เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 97
พาหิรรูป. . . อาหารสมุฏฐานรูป. . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ
กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๘๗] ๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมม-
ธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป
เกิดขึ้น.
นอาหารปัจจัย
[๑๒๘๘] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปาก-
ธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนอาหารปัจจัย
คือ พาหิรรูป. . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น
ฯลฯ. กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
นอินทริยปัจจัย
[๑๒๘๙] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปาก-
ธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนอินทริยปัจจัย
คือ พาหิรรูป . . . อาหารสมุฏฐานรูป . . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหา-
ภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 98
นฌานปัจจัย
[๑๒๙๐] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะ
นฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๙๑] ๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิ-
ปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย
คือ พาหิรรูป. . . อาหารสมุฏฐานรูป . . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ
นมัคคปัจจัย
[๑๒๙๒] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะ-
นมัคคปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกวิบากเกิดขึ้น มี ๓ วาระ๑
[๑๒๙๓] ๔. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ซึ่งเป็น
อเหตุกะเกิดขึ้น มี ๓ วาระ๒.
[๑๒๙๔] ๗. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย
๑. บาลีแสดงวาระเดียว อีก ๒ วาระย่อไว้ เพราะฉะนั้น ในข้อ (๑๒๙๓) จึงเป็น ข้อ ๔.
๒. ย่อไว้นัยเดียวกับข้อ (๑๒๙๒)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 99
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและ
หทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ มี ๓ วาระ.
[๑๒๙๕] ๑. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม
เกิดขึ้น เพราะนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
๔. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมม-
ธรรมเกิดขึ้น เพราะนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ.
๕. อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น มี ๑ วาระ.
นวิปปยุตตปัจจัย
[๑๒๙๖] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น, ขันธ์
๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น, ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๙๗] ๒. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๒๙๘] ๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิ-
ปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวนิปากนวิปากธัมม-
ธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 100
พาหิรรูป. . . อาหารสมุฏฐานรูป . . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น
ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๒๙๙] เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น
เพราะโนนัตถิปัจจัย . . . เพราะโนวิคตปัจจัย . . .
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
สุทธมูลกนัย
[๑๓๐๐] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี
๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน
นฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี
๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ใน
โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
นเหตุมูลกนัย
[๑๓๐๑] เพราะนเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ. . . ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย
มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 101
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในน-
อาเสวนปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี
๒ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ใน
นฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี
๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ
ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๓๐๒] เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย
มี ๓ วาระ . . . ในนอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ
ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
นเหตุมูลกนัย จบ
แม้ในวิปากติกะนี้ พึงนับวาระเหมือนที่นับไว้แล้ว โดยวิธีสาธยายใน
กุสลติกะ.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๓๐๓] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ. . .ใน-
นอธิปติปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญนัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕
วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 102
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
ในโนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
[๑๓๐๔] เพราะเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี
๕ วาระ. . . ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ. ในนวิปากปัจจัย
มี ๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๓๐๕] เพราะเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย อธิปติปัจจัย ใน
นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ . . . ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๓๐๖] เพราะเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย อธิปติปัจจัย อนันตร-
ปัจจัย ฯลฯ ปุเรชาตปัจจัย ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ. . .ในนอาเสวน-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
พึงนับเหมือนอนุโลมปัจจนียะ ในกุสลติกะ.
อนุโลมปัจจนียะ จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๓๐๗] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ. . .ใน
อนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในสหชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 103
มี ๑๐ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ
ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย
มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหาร-
ปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๐ วาระ
ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย
มี ๑๐ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ ใน
วิคตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ.
[๑๓๐๘] เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ในสหชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ . . . ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓
วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
[๑๓๐๙] เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย
นอนันตรปัจจัย นสมนันตรปัจจัย นอัญญมัญญปัจจัย ในสหชาตปัจจัย มี
๓ วาระ. . . ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปากปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
ฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓
วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับเหมือนนเหตุมูลกนัย ในกุสลติกะ.
พึงแจกวิปากติกะให้พิสดาร เหมือนที่แจกปัจจนียานุโลมปัฏฐาน ใน
กุสลติกะ.
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 104
สหชาตวาระ
อนุโลมนัย
[๑๓๑๐] วิปากธรรม เกิดร่วมกับวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ เกิดร่วมกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ เกิดร่วม
กับขันธ์ ๓ เกิดขึ้น, ขันธ์ ๒ เกิดร่วมกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ฯลฯ
ในเหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ . . . ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
ปัจจนียนัย
ในนเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ ฯลฯ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
อนุโลมปัจจนียนัย
เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ. . . ฯลฯ ใน
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ
ปัจจนียานุโลม
เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ . . . ฯลฯ ในอวิคต-
ปัจจัย มี ๑๓ วาระ
สหชาตวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 105
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๓๑๑] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุ
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์
๓ เกิดขึ้น, ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิด
ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยวิบากขันธ์เกิดขึ้น.
๓. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัย
วิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๓๑๒] ๔. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 106
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์
๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมม-
ธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น.
๖. วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น. เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ทั้งเป็นวิปากธัมมธรรม
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๓๑๓] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัย เนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เละจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิด
ขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป
ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๘. วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์
อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 107
๙. วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมม-
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๑๐. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัย
เนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหา-
ภูตรูป เกิดขึ้น. ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูป
อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
๑๑. วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย.
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น. จิตตสมุฏฐาน-
รูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๓๑๔] ๑๒. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์
๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น. ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๑๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม
และเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 108
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
๑๔. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัย
วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์
และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ
เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูป อาศัยวิบาก
ขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๓๑๕] ๑๕. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและ
เนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุ เกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๑๖. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมม-
ธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์เป็นวิปากธัมมธรรมและมหา-
ภูตรูปเกิดขึ้น.
๑๗. วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 109
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุ เกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๓๑๖] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะ
อารมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๓๑๗] ๒. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๓๑๘] ๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น, เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัย
หทยวัตถุเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 110
๔. วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะเกิดขึ้น, โสตวิญญาณ อาศัย
โสตายตนะเกิดขึ้น. ฆานวิญญาณ อาศัยฆานายตนะเกิดขึ้น, ชิวหาวิญญาณ
อาศัย ชิวหายตนะเกิดขึ้น, กายวิญญาณ อาศัยกายายตนะ เกิดขึ้น, วิบากขันธ์
อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น, ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๕. วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
[๑๓๑๙] ๖. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณและจักขายตนะ
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และจักขายตนะเกิดขึ้น โสตายตนะ ฯลฯ
ฆานายตนะ ฯลฯ ชิวหายตนะ ฯลฯ กายายตนะเกิดขึ้น ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นวิบากขันธ์และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทย-
วัตถุเกิดขึ้น. ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัทถุเกิดขึ้น.
[๑๓๒๐] ๗. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและ
เนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 111
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุ เกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
อธิปติปัจจัย
[๑๓๒๑] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะ
อธิปติปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น มี ๓ วาระ.
อธิปติปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ไม่มี.
อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๓๒๒] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น. ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
[๑๓๒๓] ๘. วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 112
๙. วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมม.
ธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๑๐. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหา-
ภูตรูปเกิดขึ้น.
๑๑. วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐาน-
รูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๓๒๔] ๑๒. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๑๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม
และเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิบากขันธ์และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 113
๑๔. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติ-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยวิบากขันธ์
และมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๓๒๕] ๑๕. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและ
เนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุเกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๑๖. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมม-
ธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป
เกิดขึ้น.
๑๗. วิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะ
อธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์
ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 114
๔. อนันตรปัจจัย ๕. สมนันตรปัจจัย
[๑๓๒๖] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะ
อนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะสมนันตรปัจจัย ฯลฯ
เหมือนอารัมมณปัจจัย.
๕. สหชาตปัจจัย ฯลฯ ๗. อัญญมัญญปัจจัย
[๑๓๒๗] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะ
สหชาตปัจจัย. . . เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์
๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรม
เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยวิบากขันธ์เกิดขึ้น.
๓. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๓๒๘] ๔. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น
เพราะอัญญมัญญปัจจัย
๑. มี ๑๗ วาระ ๒. มี ๙ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 115
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๒ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์
๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๓๒๙] ๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก-
นวิปากธัมนธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ
พาหิรรูป. . . อาหารสมุฏฐานรูป. . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น
ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น.
ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมอาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๖. วิปากธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัย
กายายตนะเกิดขึ้น, วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๗. วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมม-
ธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 116
[๑๓๓๐] ๘. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ มี่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขาย-
ตนะเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และจักขายตนะเกิดขึ้น ฯลฯ โสตาย-
ตนะ ฯลฯ ฆานายตน ฯลฯ ชิวหายตนะ ฯลฯ กายายตนะเกิดขึ้น ขันธ์ ๓
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒
และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุเกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
[๑๓๓๑] ๙. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุเกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๘. นิสสยปัจจัย
[๑๓๓๒] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะนิสสย-
ปัจจัย
เหมือนสหชาตปัจจัย.
๙. อุปนิสสยปัจจัย ๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
. . .ฯลฯ เพราะอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เพราะปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 117
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์
๒ เกิดขึ้น. ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย.
เหมือนอนันตรปัจจัย ฯลฯ
๑๑. อาเสวนปัจจัย
[๑๓๓๓] ๑. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น
เพราะอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น, ขันธ์ ๑
อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น. ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๓๓๔] ๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๓. วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมม-
ธรรมเกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
[๑๓๓๕] ๔. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและ
เนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 118
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและหทยวัตถุเกิดขึ้น
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ และหทยวัตถุเกิดขึ้น. ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทย-
วัตถุเกิดขึ้น.
๑๒. กัมมปัจจัย
[๑๓๓๖] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะกัมม-
ปัจจัย มี ๓ วาระ
เหมือนสหชาตปัจจัย (คือมี ๑๗ วาระ)
๑๓. วิปากปัจจัย
[๑๓๓๗] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะ
วิปากปัจจัย มี ๓ วาระ
๔. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย
คือ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒
อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น.
จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
วิปากและธรรมทั้ง ๒ อาศัย มี ๓ วาระ.
อาศัยวิปากธรรมและเนววิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 119
๑๔. อาหารปัจจัย ถึง ๒๓. อวิคตปัจจัย
เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทริยปัจจัย เพราะฌานปัจจัย
เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะ
อัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๑๓๓๘] ในเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๗ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๔ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ ใน
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี
๑๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ ใน
สัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย
มี ๑๗ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัยมี ๗ วาระ ในอวิคต-
ปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
เหตุมูลกนัย
[๑๓๓๙] เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ. . . ใน
อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ... ฯลฯ... ในอวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ.
ในกุสลติกะ นับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น
อนุโลมนัย จบ
๑. ดูการนับจำนวนวาระของปัจจัยเหล่านี้ จากข้อ ๑๓๓๘.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 120
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๓๔๐] ๑. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะ
นเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ซึ่งเป็นอเหตุกะเกิดขึ้น. มี
๓ วาระ.
๔. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น.
๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปาก
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ซึ่งเป็น
อเหตุกะเกิดขึ้น.
๖. วิปากธรรมอาศัยเนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิด
ขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือจักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะเกิดขึ้น ฯลฯ
๗. วิปากธัมมธรรม อาศัยเนววิปากนวิปากธัมม-
ธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยหทย-
วัตถุเกิดขึ้น
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 121
๘. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัย
เนววิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ วิบากขันธ์ ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐาน-
รูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น. ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ. ฯลฯ
๙. วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมและเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย ฯลฯ
๑๐. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม. . .เกิดขึ้น ฯลฯ
๑๑. วิปากธรรมและเนววิปากธัมมธรรม...เกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย
๑๒. วิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธัมมธรรมและเนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๒. นอารัมมณปัจจัย
เนววิปากนวิปากธัมมธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะ
นอารัมมณปัจจัย ฯลฯ
พึงแจกให้พิสดาร ทุกบท.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
สุทธมูลกนัย
[๑๓๔๑] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕
วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ใน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 122
นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี
๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ใน
นวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี
๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในน-
สัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย
มี ๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
นเหตุมูลกนัย
[๑๓๔๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ... ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๑๒ วาระ ฯลฯ. . . ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับเหมือนการนับในปัจจนียะ ในกุสลติกะ.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนีนัย
[๑๓๔๓] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ. . .
ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ ฯลฯ ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับเหมือนการนับในอนุโลมปัจจนียะ ในกุสลติกะ.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 123
ปัจจนียานุโลมนัย
[๑๓๔๔] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ. . .
ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ. . . ฯลฯ มี
อวิคตปัจจัย มี ๑๒ วาระ.
เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ . . . ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
พึงนับเหมือนการนับในปัจจนียานุโลม ในกุสลติกะ.
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
ปัจจยวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 124
นิสสยวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย
[๑๓๔๕] วิปากธรรม อาศัยวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุ-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ.
การนับจำนวนวาระในนิสสยวาระ
[๑๓๔๖] ในเหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ ฯลฯ
ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ. . . ในโนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ. . . ในนวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ.
เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ. . . ในอวิคต-
ปัจจัย มี ๑๒ วาระ.
นิสสยวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 125
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย
[๑๓๔๗] วิปากธรรม เจือกับวิปากธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุ
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ฯลฯ
ทุกบท พึงแจกให้พิสดาร.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๓๔๘] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
นิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๓
วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับจำนวนวาระ เหมือนในกุสลติกะ.
อนุโลมนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 126
ปัจจนียนัย
[๑๓๔๙] วิปากธรรม เจือกับวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ซึ่งเป็นอเหตุกะเกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พึงแจกทุกบท.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๓๕๐] ในนเหตุปัจจัยมี ๓ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัยมี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ
ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปปยุคคปัจจัย
มี ๓ วาระ.
พึงนับเหมือนในปัจจนียะ ในกุสลติกะ
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
[๑๓๕๑] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ. . .ฯลฯ
ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พึงนับเหมือนในอนุโลมปัจจนียะ ในกุสลติกะ
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 127
ปัจจนียานุโลม
[๑๓๕๒] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ. . .ฯลฯ
ในมัคคปัจจัยมี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ
พึงนับเหมือนในปัจจนียานุโลม ในกุสลติกะ
ปัจจนียานุโลมนัย จบ
สังสัฏฐวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 128
สัมปยุตตวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย
[๑๓๕๓] วิปากธรรม ประกอบกับวิปากธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ประกอบกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากขันธ์ เกิดขึ้น.
การนับจำนวนวาระในสัมปยุตตวาระ
ในเหตุปัจจัยมี ๓ วาระ ฯลฯ.
ในนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ.
เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ.
เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.
สัมปยุตตวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 129
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๓๕๔] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจ
ของเหตุปัจจัย
คือ วิปากเหตุ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ วิปากเหตุ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจ
ของเหตุปัจจัย.
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม-
ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ วิปากเหตุ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุ
ปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ วิปากเหตุ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของ
เหตุปัจจัย.
๓. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรมและเนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
คือ วิปากเหตุ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วย
อำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ วิปากเหตุ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 130
[๑๓๕๕] ๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วย
อำนาจของเหตุปัจจัย.
๕. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปาก
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วย
อำนาจของเหตุปัจจัย.
๖. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๓๕๖] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๓๕๗] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 131
คือ บุคคลพิจารณาเห็นวิบากขันธ์ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็น
ทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภวิบากขันธ์นั้น
ราคะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศล อกุศล-
ดับแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระเสกขบุคคล พิจารณาผล, พิจารณาเห็นวิบากขันธ์ โดย
ความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง
เพราะปรารภวิบากขันธ์นั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น, ย่อมรู้จิตของ
บุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยวิปากจิต ด้วยเจโตปริยญาณ.
วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๓. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอรหันต์ พิจารณาผล พิจารณาเห็นวิบากขันธ์ โดยความเป็น
ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, ย่อมรู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียง
ด้วยวิปากจิต ด้วยเจโตปริยญาณ.
วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 132
[๑๓๕๘] ๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ แล้วพิจารณากุศลนั้น,
พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ในกาลก่อน, ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน, พระ-
เสกขบุคคลพิจารณาโคตรภู, พิจารณาโวทาน.
พระเสกขบุคคลออกจากมรรคพิจารณามรรค.
พระเสกขบุคคลพิจารณากิเลสที่ละแล้ว, พิจารณากิเลสที่ข่มไว้แล้ว,
รู้กิเลสที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน, พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม
โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, ย่อมเพลินเพลินยิ่ง เพราะ
ปรารภขันธ์นั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น, ย่อมรู้จิตของบุคคลผู้มี
ความพร้อมเพรียงด้วยวิปากธัมมธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนกุศล ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย.
อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนกุศล
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริย-
ญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๕. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 133
คือ บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม โดยความเป็น
ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ
ปรารภขันธ์นั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศล อกุศลดับแล้ว
ตทารัมมณจิต อันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนวิบาก ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย.
อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๖. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจยัแก่เนววิปากนวิปาก-
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอรหันต์ ออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณากุศลธรรม
ที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน พระอรหันต์พิจารเนากิเลสที่ละแล้ว รู้กิเลสที่
เคยเกิดแล้วในกาลก่อน พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม โดยความ
เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียง
ด้วยวิปากธัมมธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนกิริยา ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย.
อากิญจญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยา
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพ-
นิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 134
[๑๓๕๙] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอรหันต์พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอรหันต์พิจารณาเห็นจักษุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง
กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ รู้จิต
ของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยเจโต-
ปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนกิริยา เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนกิริยา ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย.
อากิญจัญญายตนกิริยา เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยา
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่
เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนา-
คตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๘. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ นิพพานเป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 135
พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส เกิดขึ้น, เมื่อ
กุศลและอกุศล ดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น พระเสกขะ
หรือปุถุชน พิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง กลิ่น รส
โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม โดยความเป็น
ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ
ปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศล
ดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๙. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
คือ พระเสกขะ พิจารณานิพพาน. นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู. แก่
โวทาน แก่มรรค ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น
ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นเนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อม
ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ
รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วย
เจโตปริยญาณ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 136
ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่
เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๓๖๐] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจ
ของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิบาก
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระเสกขะ กระทำผลให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำวิบากขันธ์ให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำวิบากขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
ราคะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
๓. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์ กระทำผลให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 137
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๔. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม และ
เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิบาก
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๓๖๑] ๕. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษา
อุโบสถแล้ว กระทำกุศลนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา กระทำ
กุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้วในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจาร-
ณา, ออกจากฌานแล้ว กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
พระเสกขะกระทำโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา,
กระทำโวทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
พระเสกขะออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
แล้ว พิจารณา.
ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก-
แน่นแล้ว ราคะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 138
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิปากธรรม เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตขันธ์ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๖. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปาก-
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์ออกจากมรรค กระทำ
มรรคให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นวิปากธัมมธรรม
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๗. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็น
วิปากธัมมธรรมเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจ
ของอธิปติปัจจัย.
[๑๓๖๒] ๘. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอรหันต์กระทำนิพพานให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 139
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นเนววิปากนวิปาก-
ธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของ
อธิปติปัจจัย.
๙. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัย
แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๑๐. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระเสกขะกระทำ
นิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน แก่มรรค ด้วยอำนาจ
ของอธิปติปัจจัย.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โสตะ ฯ ล ฯ
ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมม-
ธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำโสตะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
๕. อนันตรปัจจัย
[๑๓๖๓] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 140
คือ วิบากขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ที่เกิดหลัง ๆ
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ปัญจวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่มโนธาตุที่เป็นวิบาก ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
มโนธาตุที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบาก ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ภวังค์ เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
มโนวิญญาณธาตุที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นกิริยา
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๓๖๔] ๓. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิปากธัมมธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน.
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค.
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 141
๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจ
ของอนันตรปัจจัย.
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล.
อนุโลมของพระเสกขะ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ.
เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลของพระอริยบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็น
ปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๓๖๕] ๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิ-
ปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
๖. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ปัญจวิญญาณ ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 142
อนุโลมของพระอรหันต์ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ.
เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาของพระอรหันต์ ผู้ออกจากนิโรธ เป็น
ปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจ
ของอนันตรปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย
[๑๓๖๖] วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจ
ของสมนันตรปัจจัย ฯลฯ
เหมือนอนันตรปัจจัย.
๖. สหชาตปัจจัย
๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย ฯลฯ มี ๓ วาระ.
[๑๓๖๗] ๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 143
๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ฯลฯ
มหาภูตรูป . . .พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
[๑๓๖๘] ๘. เนววิปากวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย.
[๑๓๖๙] ๙. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็น
ปัจจัยแก่วิปาก ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ.
๑๐. วิปากธรรมและเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 144
[๑๓๗๐] ๑๑. วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมและมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
๗. อัญญมัญญปัจจัย
[๑๓๗๑] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปาก ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม
ธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วย
อำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
๓. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรมและเนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๑๓๗๒] ๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 145
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
๖. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก
ธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ ด้วยอำนาจ
ของอัญญมัญญปัจจัย.
[๑๓๗๓] ๗. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก และหทยวัตถุ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ.
ปัญหาวาระ มี ๗ วาระ.
นิสสยปัจจัย
[๑๓๗๔] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วย
อำนาจของนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 146
๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
มี ๓ วาระ.
๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ฯลฯ
๘. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธรรม
คือ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของนิสสย-
ปัจจัย ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่
วิบากขันธ์.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์.
๙. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม.
[๑๓๗๕] ๑๐. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ และจักขายตนะ ฯลฯ และ
กายายตนะ ฯลฯ
ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากและหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปาก และหทยวัตถุ ฯลฯ.
๑๑. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 147
คือ ขันธ์ที่เป็นวิบาก และมหาภูตรูป ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๑๒. วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมม-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม และหทยวัตถุ ฯลฯ.
๑๓. วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมม
ธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของ
นิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
มี ๑๓ วาระ.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๑๓๗๖] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ กายิกสุข เป็นปัจจัยแก่กายิกสุ แก่
กายิกทุกข์ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, กายิกทุกข์ เป็น
ปัจจัยแก่กายิกสุข แก่กายิกทุกข์ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,
ผลสมาบัติ เป็นปัจจัยแก่กายิกสุข ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 148
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่บุคคลอาศัยกายิกสุข ให้ทาน สมาทาน-
ศีล ฯลฯ ทำลายสงฆ์, อาศัยกายิกทุกข์ ให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ ทำลายสงฆ์
กายิกสุข ฯลฯ กายิกทุกข์ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๓. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอรหันต์ อาศัยกายิกสุข ทำ
กิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น, เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว, พิจารณาเห็น
สังขาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, อาศัยกายิกทุกข์
ทำกิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว.
[๑๓๗๗] ๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธา ให้ทาน ฯลฯ
ถือมานะ ทิฏฐิ, อาศัยศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ให้ทาน ฯลฯ ถือมานะ ทิฏฐิ,
อาศัยราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา ให้ทาน ฯลฯ ทำ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 149
สมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ ความ
ปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ ศรัทธา ศีล ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
บริกรรมแห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ฯลฯ บริกรรมแห่ง
เนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.
ปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัย
แก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ฯลฯ บริกรรมแห่ง
จตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค.
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค, ทุติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ตติย-
มรรค, ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระเสขบุคคลอาศัยมรรค ทำกุศลสมาบัติ ที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น ฯลฯ
มรรค เป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทาของพระเสขบุคคล ฯลฯ แก่ความ
เป็นผู้ฉลาดในฐานะและอฐานะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ปาณาติบาต เป็นปัจจัยแก่ปาณาติบาต ฯลฯ แก่มิจฉาทิฏฐิ ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ มิจฉาทิฏฐิ เป็นปัจจัยแก่มิจฉาทิฏฐิ ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย, ฯลฯ พยาบาท เป็นปัจจัยแก่พยาบาท ด้วยอำนาจของอุป-
นิสสยปัจจัย, มาตุฆาตกรรม เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ แก่นิยตมิจฉาทิฏฐิ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, นิยต-
มิจฉาทิฏฐิ เป็นปัจจัยแก่นิยตมิจฉาทิฏฐิ แก่สังฆเภทกรรม ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 150
[๑๓๗๘] ๕. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ.
ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธา ทำคนให้เดือดร้อน
ให้เร่าร้อน, เสวยทุกข์ที่มีการแสวงหาเป็นมูล, ฯลฯ อาศัยความปรารถนา ทำ
ตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัย
แก่ กายิกสุข แก่กายิกทุกข์ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
กุศลและอกุศลกรรม เป็นปัจจัยแก่กรรมวิบาก ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๖. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปาก-
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ.
ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอรหันต์อาศัยมรรค ทำกิริยาสมาบัติ
ที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว พิจารณาเห็นสังขารโดยความ
เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ มรรค เป็นปัจจัยแก่อัตถ-
ปฏิสัมภิทา แก่ธัมมปฏิสัมภิทา แก่นิรุตติปฏิสัมภิทา แก่ปฏิภาณปฏิสัมภิทา
ของพระอรหันต์ แก่ความเป็นผู้ฉลาดในฐานะและอฐานะ ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
[๑๓๗๙] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 151
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ.
ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอรหันต์อาศัยอุตุ ฯลฯ โภชนะฯลฯ
เสนาสนะ ทำกิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิดขึ้นให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว.
๘. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ.
ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายิกสุข แก่กายิกทุกข์ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
๙. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ.
ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยอุตุ ให้ทาน ฯลฯ ทำ
ลายสงฆ์, อาศัยโภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์, อุตุ ฯลฯ
โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๑๓๘๐] ๑. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 152
ที่เป็นอารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ พระอรหันต์เห็นจักษุ ฯลฯ กายะ
โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯ ล ฯ เห็นรูป ฯลฯ
โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯ ล ฯ เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ
ฯลฯ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ ฯลฯ.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็น
เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๒. เนววัปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก
ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.
ที่เป็นอารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณา
เห็นจักษุโดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อม
เพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น เมื่อ
กุศลและอกุศลดับแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น. พิจารณา
เห็นโสตะ ฯ ล ฯ หทยวัตถุโดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ตทารัมมณจิต
อันเป็นวิบากย่อมเกิดขึ้น.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็นวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ
ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบาก-
ขันธ์ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 153
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณา
เห็นจักษุ ฯ ล ฯ เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น
พิจารณาเห็นโสตะ ฯ ล ฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ
โทมนัส ฯ ล ฯ เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯ ล ฯ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
ที่เป็นวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๓๘๑] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม-
ธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ วิบากขันธ์ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วย
อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๓๘๒] ๒. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปาก-
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๑๓๘๓] ๑. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 154
คือ ขันธ์ที่เป็นวิปากธรรมที่เกิดขึ้นก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิปากธัมมธรรมที่เกิดขึ้นหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน, โคตรภู
เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๑๓๘๔] ๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ที่เกิดก่อน ๆ ฯ ล ฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๑๓๘๕] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรมด้วยอำนาจ
ของกัมมปัจจัย
คือ วิปากเจตนาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตขันธ์ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ วิปากเจตนา ฯลฯ.
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม-
ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ วิปากเจตนา เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย. ในปฏิสนธิขณะ วิปากเจตนา เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจ
ของกัมมปัจจัย, เจตนา เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๓. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม และเนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 155
คือ วิปากเจตนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ วิปากเจตนา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๓๘๖] ๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตขันธ์ ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย.
๕. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม
เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๖. วิปากกัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปาก
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๗. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรมและ
เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 156
มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๘. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๓๘๗] ๙. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๑๔. วิปากปัจจัย
[๑๓๘๘] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วย
อำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของวิปาก
ปัจจัย. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปาก-
ปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 157
ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจ
ของวิปากปัจจัย, ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ฯลฯ
๓. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม และเนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ
๑๕. อาหารปัจจัย
๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำ-
นาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารที่เป็นวิตก เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ มี ๓ วาระ.
แม้ในปฏิสนธิขณะ พึงแจกให้ได้ ๓ วาระ
๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๓๘๙๑] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
กพฬีการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๑. เลขข้อควรวางไว้หน้า ข้อ ๑. ของอาหารปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 158
๑๖. อินทริยปัจจัย
[๑๓๙๐] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำ-
นาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ.
ในปฏิสนธิขณะ ก็พึงแจก.
๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๓๙๑] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์และจิตตสมุฏฐาน ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๘. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริย-
ปัจจัย ฯลฯ กายินทรีย์ ฯลฯ
[๑๓๙๒] ๙. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็น
ปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ จักขุนทรีย์และจักขุวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วย
จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 159
กายินทรีย์และกายวิญญาณ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วย
กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๑๗. ฌานปัจจัย
[๑๓๙๓] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่ปากธรรม ด้วยอำ-
นาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.
๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี ๓ วาระ.
๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย
คือ องค์ฌานที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัม-
ปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
๑๘. มัคคปัจจัย
[๑๓๙๔] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วย
อำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.
๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ.
๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 160
คือ องค์มรรคที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่สัม-
ปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.
๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
[๑๓๙๕] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำ-
นาจของสัมปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๓๙๖] ๒. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย
๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย
คือ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
[๑๓๙๗] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 161
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ วิบากขันธ์ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูป. ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ วิบากขันธ์ที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๓๙๘] ๒. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปาก-
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดพร้อมกัน
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดภายหลัง
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๓๙๙] ๓. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรมที่
เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุที่เกิดก่อนเป็นปัจจัยแก่เนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 162
๔. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุที่เกิดพร้อมกัน
เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่
จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายาตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ. หทยวัทถุ เป็นปัจจัย
แก่วิบากขันธ์ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๕. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุที่เกิดก่อน เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๑๔๐๐] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ ฯลฯ
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 163
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ วิบากขันธ์ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ วิบากขันธ์ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๓. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม และ
เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๑๔๐๑] ๔. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๕. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปาก-
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดพร้อมกัน
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิด
ภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 164
๖. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.
[๑๔๐๒] ๗. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
มี ๕ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย, ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย. มหาภูตรูป ๑ ฯ ล ฯ.
มหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป แก่กฏัตตารูป ที่เป็น
อุปาทารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พาหิรรูป. . . อาหารสมุฏฐานรูป. . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ พระอรหันต์ พิจารณาเห็นจักษุ โสตะ
ฯ ล ฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯ ล เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ
ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ ฯ ล ฯ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นเนววิปาก-
นวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 165
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กพฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๘. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่
วิบากขันธ์ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุ
โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดีเพลิดเพลิน. เพราะปรารภจักษุนั้น
ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับแล้ว
ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบากย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ ย่อมพิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ
หทยวัตถุ ฯลฯ ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบากย่อมเกิดขึ้น.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักษุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ. หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๙. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณา
เห็นจักษุ โสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯ ล ฯ ย่อม
ยินดี ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 166
เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิปาก-
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๔๐๓] ๑๐. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เป็นปัจจัย แก่วิปากธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี อย่างเดียว คือ ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ.
ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณที่เกิดพร้อมกัน และ
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯ ล ฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ
ฯลฯ, ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ ฯลฯ
๑๑. วิปากธรรม และเนวิปากนวิปากธัมมธรรม
เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ วิบากขันธ์และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูป. ในปฏิสนธิขณะ วิบากขันธ์และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูป.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่ วิบากขันธ์เกิด
ภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนะ
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่ วิบากขันธ์ที่เกิด
ภายหลังและรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป.
[๑๔๐๔] ๑๒. วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
ธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 167
มี อย่างเดียว คือ ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ.
ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดพร้อมกันและหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ.
๑๓. วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปากธัมมธรรมที่เกิดพร้อมกัน
และมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปาก-
ธัมมธรรมที่เกิดภายหลังและกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นวิปาก-
ธัมมธรรมที่เกิดมาภายหลังและรูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป.
๒๒. นัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย
วิปากธัมมธรรม ฯ ล ฯ.
นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย เหมือนอนันตรปัจจัย.
อวิคตปัจจัย เหมือนอัตถิปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๑๔๐๕] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ. ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 168
มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี
มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ใน
มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย
มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคต-
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
[๑๔๐๖] เพราะเหตุปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ. . .ในสหชาต-
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๗
วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย
มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
การนับวาระในอนุโลมแห่งปัญหาวาระ ในกุสลติกะท่านนับไว้อย่างไร
พึงนับอย่างนั้น.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๑๔๐๗] ๑. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 169
๒. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย- ปัจจัย.
๓. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๔. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม และเนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๔๐๘] ๕. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๖. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๗. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปาก
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 170
๘. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรมและ
เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๙. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๔๐๙] ๑๐. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตะปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหาร
ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๑๑. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก.
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๑๒. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๔๑๐] ๑๓. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เป็นปัจจัยแก่วิปากธรรม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 171
มี ๑ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ (สหชาตะ+
ปุเรชาตะ)
๑๔. วิปากธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉชาตะ รวมกับ อาหาระ และ
รวมกับ อินทริยะ (คือปัจฉาชาตาหารและปัจฉาชาตินทริยะ)
[๑๔๑๑] ๑๕. วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมม-
ธรรมเป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
มี ๑ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
๑๖. วิปากธัมมธรรม และเนววิปากนวิปากธัมมธรรม
เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมมธรรม
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับอินทริยะ (คือปัจฉาชาตาหารและปัจฉาชาตินทริยะ)
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
สุทธมูลกนัย
[๑๔๑๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๖
วาระ ในนอธิปติปัจจัยมี ๑๖ วาระ ในนอนันตรปัจจัยมี ๑๖ วาระ ในน-
สมนันตรปัจจัยมี ๑๖ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนอัญญมัญญ-
ปัจจัยมี ๑๒ วาระ ในนนิสสยปัจจัยมี ๑๒ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัยมี ๑๖
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 172
วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๖ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๕ วาระ ในนวิปาก-
ปัจจัย มี ๑๘ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑๖
วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนมัคคปัจจัยมี ๑๖ วาระ ในนสัมปยุตต-
ปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๑๐
วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในโน-
อวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ.
[๑๔๑๓] เพราะนเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๖ วาระ. . .
ในโนอวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ.
พึงนับให้พิสดารเหมือนที่นับปัจจนียะ ในกุสลติกะ.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนัยนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๑๔๑๔] เพราะนเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๗ วาระ โนนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสย-
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี
๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในน-
วิปากปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอินทริยปัจจัย
มี ๗ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในน-
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย
มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 173
[๑๔๑๕] ปัจจัย ๕ คือ เหตุปัจจัย สหชาตปัจจัย นิสสยปัจจัย
อัตถิปัจจัย อวิคตปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ . . . ฯลฯ . . . ใน
โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
พึงนับให้พิสดารเหมือนที่นับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ ใน
กุสลติกะ. ผู้มีปัญญาพึงจำแนกวิธีสาธยาย เช่นนี้.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๔๑๖] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ . . .
ในอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
ในกัมมปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี
๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคค-
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี
๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย
มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
[๑๔๑๗] เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี
๗ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 174
พึงนับให้พิสดารเหมือนการนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ ใน
กุสลติกะ.
ปัจจนียานุโลม จบ
วิปากติกะที่ ๓ จบ
อรรถกถาพรรณนาเนื้อความแห่งวิปากติกปัฏฐาน
พึงทราบวินิจฉัยใน วิปากติกะ ต่อไป วาระ ๑๓ เหล่าใดที่พระผู้-
มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในเหตุปัจจัยว่า วิปาก ธมฺม ปฏิจฺจ วิปาโก ธมฺโม
อุปฺปชฺชติ เหตุปจฺจยา เพื่อจะย่อแสดงวาระเหล่านั้น ด้วยการนับ พระผู้มี-
พระภาคเจ้าจึงตรัสว่า เหตุยา เตรส แม้ในคำว่า อารมฺมเณ ปญฺจ เป็น
ต้น ก็นัยนี้เหมือนกัน. ในอธิการนี้มีการกำหนดวิธีนับ ๖ อย่างคือ ๑๓-๕-
๙-๗-๓-๒ ด้วยประการฉะนี้ ในการรวมปัจจัยด้วยอำนาจแห่งวิธีนั้นเหล่านั้น
ผู้ศึกษาพึงทราบวิธีคำนวณโดยนัยที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้แล้วในหนหลัง.
จริงอยู่ ในปัจจนียนัย พระผู้มีพระภาคเจ้าเพื่อจะย่อแสดงวาระ ๑๐
ที่ตรัสไว้ใน นเหตุปัจจัย ว่า วิปาก ธมฺม ปฏิจฺจ วิปาโก ธมฺโม
อุปฺปชฺชติ นเหตุปจฺจยา โดยการคำนวน จึงตรัสว่า น เหตุยา ทส แม้
ในคำว่า น อารมฺมเณ ปญฺจ เป็นต้น ก็นัยนี้เหมือนกัน ในอธิการนี้มีการ
กำหนดวิธีนับ ๘ อย่างคือ ๑๐-๕-๑๓-๑๒-๒-๑-๙-๓ ด้วยประการฉะนี้
ในการรวมปัจจัยด้วยอำนาจการกำหนดวิธีนับเหล่านั้น ผู้ศึกษาพึงทราบการ
กำหนดโดยพิสดาร ตามนัยที่ข้าพเจ้ากล่าวแล้วในหนหลัง ส่วนบาลีพระผู้มี-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 175
พระภาคเจ้าทรงย่อไว้ ก็ผู้ศึกษาพึงเทียบเคียงด้วยอำนาจการกำหนดที่มีได้เหล่า
นี้เอง แล้วทราบอนุโสมปัจจนียนัย และปัจจนียานุโลนัยเถิด.
สหชาตวาระ มีคติอย่างเดียวกับ ปัจจยวาระ นิสสยวาระ สัง-
สัฏฐวาระ และสัมปยุตตวาระ ย่อมกำหนดตามบาลีนั่นเอง.
พึงทราบวินิจฉัยใน ปัญหาวาระ ต่อไป. สองบทว่า กุสลากุสเล
นิรุทฺเธ ความว่า เมื่อกุศลอันเป็นไปด้วยอำนาจวิปัสสนา และเมื่ออกุศล
อันเป็นไปด้วยอำนาจความกำหนัดเป็นต้นนี้ดับไปแล้ว. คำว่า วิปาโก ตทา-
รมฺมณตา อุปฺปชฺชติ ความว่า กามาวจรวิบากย่อมเกิดขึ้นโดยเป็นตทารัมมณะ
ส่วนอาจารย์เหล่าใดกล่าวว่า ในที่สุดแห่งวิปัสสนาชวนะ และ
วิจิกิจฉาสัมปยุตตจิต อุทธัจจสัมปยุตตจิตไม่มีตทารัมมณะ อาจารย์
เหล่านั้นพึงถูกคัดค้านด้วยพระบาลีนี้. คำว่า อากาสานญฺจายนกุสล
วิญฺญาณญฺจายตนกิริยสฺส อารมฺมณปจฺจเยน ปจฺจโย นี้ ท่านกล่าว
ไว้ด้วยอำนาจแห่งบุคคลผู้บรรลุพระอรหัต แล้วเข้าสมาบัติที่ไม่เคยเข้าโดย
ปฏิโลม. ในวิสัชนาทั้งปวง ผู้ศึกษาพิจารณาบาลีให้ดีแล้ว พึงทราบเนื้อความ
โดยอุบายนี้.
แม้ในคำว่า เหตุยา สตฺต อารมฺมเณ นว อธิปติยา ทส เป็น
ต้น ผู้ศึกษาพึงทราบด้วยอำนาจแห่งสหชาตาธิปติปัจจัย อารัมมณาธิปติปัจจัย
สหชาตนิสสยปัจจัย ปุเรชาตนิสสยปัจจัย อนันตรูปนิสสยปัจจัย อารัมมณู-
ปนิสสยปัจจัย ปกตูปนิสสยปัจจัย สหชาตวิปปยุตตปัจจัย และปุเรชาตวิปป-
ยุตตปัจจัย เพราะฉะนั้นในปัจจัยใด ๆ ได้วิสัชนาจำนวนเท่าใด โดยประการ
ใด ๆ ผู้ศึกษาพึงกำหนดวิสัชนาเหล่านั้นทั้งหมดในปัจจัยนั้น ๆ โดยประการ
นั้น ๆ. อนึ่ง วิธีทั้งหมดคือการยกวาระด้วยอำนาจอนุโลมในปัจจนียนัยเป็น
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 176
ต้น การนับคือการรวมปัจจัยที่มีวาระอันได้โดยอนุโลมโดยเป็นปัจจนียะ การ
มีได้การมีไม่ได้แห่งปัจจัยซึ่งมีวาระและการนับที่มีไม่ได้ ในเหตุมูลกนัยเป็น
ต้น ล้วน ๆ ในอนุโลมปัจจยนียะ และปัจจนียานุโลม และที่เป็นไปด้วย
อำนาจการรวม (ปัจจัย) ผู้ศึกษาพึงทราบด้วยอำนาจแห่งนัยที่ข้าพเจ้ากล่าวใน
หนหลัง ก็แม้ในติกะและทุกะนอกจากนี้ก็พึงทราบเหมือนในอธิการนี้.
จริงอยู่ ปัฏฐานปกรณ์ว่าโดยบาลีแล้ว มีปริมาณไม่สิ้นสุด
แม้บุคคลมีอายุยืนยิ่ง ปฏิบัติด้วยคิดว่า จักพรรณนาเนื้อความแห่ง
ปัฏฐานนั้นตามลำดับบท อายุย่อมไม่เพียงพอ ก็เมื่อท่านพรรณนา
ส่วนหนึ่งแห่งปัฏฐานแล้ว แสดงส่วนที่เหลือไปตามนัย (นั้น) ผู้ศึกษาไม่
สามารถทราบเนื้อความได้ก็หาไม่ เพราะฉะนั้นต่อจากนี้ไป ข้าพเจ้าจะไม่กล่าว
คำมีประมาณเท่านี้ก่อน จักกล่าวเฉพาะคำที่จำเป็นต้องกล่าวเท่านั้น เพราะมี
ประการที่พระผู้มีพระภาคเจ้ายังไม่ได้ตรัสในหนหลัง ในติกะและทุกะที่เหลือ
ก็คำที่ข้าพเจ้าไม่ได้กล่าวถึง ผ่านไปเสีย ผู้ศึกษาพึงทราบตามนัยแห่งพระบาลี
แล.
อรรถกถาพรรณนาเนื้อความแห่งวิปากติกปัฏฐาน จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 177
๔. อุปาทินนติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๔๑๘] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมเกิด
ขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น. กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทา-
รูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทิน-
นุปาทานิยธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมเกิดขึ้น.
๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 178
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น.
[๑๔๑๙] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิด
ขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น.
[๑๔๒๐] ๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินน-
อนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุ-
ปาทานิยธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
เกิดขึ้น.
๗. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุ-
ปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 179
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปา-
ทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๔๒๑] ๘. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุ-
ปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ
ปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
[๑๔๒๒] ๙. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมและ
มหาภูตรูป เกิดขึ้น.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๔๒๓] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 180
๓. อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.
เพราะอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๔๒๔] ๑. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปา-
ทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.
ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัย
มหาภูตรูป เกิดขึ้น.
๒. อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม มี ๓ วาระ.
๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๖. สหชาตปัจจัย
[๑๔๒๕] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะสมนันตรปัจจัย
ฯลฯ เพราะสหชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 181
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น. กฏัตตารูป ที่เป็น
อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น
ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น มี ๓ วาระ.
๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปา-
ทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทา-
รูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น, พาหิรรูป. . . อาหารสมุฏฐานรูป. . .
อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
๕. อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรมเกิดขึ้น มี ๓ วาระ.
๘. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรมและอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.
๙. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปา-
ทานิยธรรมและอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.
๗. อัญญมัญญปัจจัย
[๑๔๒๖] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 182
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ใน
ปฏิสนธิขณะ. ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ อาศัยขันธ์ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย
อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น.
สำหรับอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ เกิดขึ้น.
๒. อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
คือ พาหิรรูป ฯลฯ อาหารสมุฏฐานรูป ฯลฯ อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
๓. อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.
๘. นิสสยปัจจัย ๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๑๔๒๗] ฯลฯ อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ เกิดขึ้น
เพราะนิสสยปัจจัย. มี ๙ วาระ.
ฯลฯ เพราะอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๑๔๒๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะปุเรชาตปัจจัย. มี ๓ วาระ
๑๑. อาเสวนปัจจัย
[๑๔๒๙] ๑. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 183
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.
๒. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินน-
อนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอาเสวนปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.
๑๒. กัมมปัจจัย
[๑๔๓๐] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะกัมมปัจจัย. มี ๙ วาระ เหมือนเหตุปัจจัย.
๑๓. วิปากปัจจัย
[๑๔๓๑] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ.
๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุ
ปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็น
อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินน-
อนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิด
ขึ้น มี ๙ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 184
๑๔. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๓. อวิคตปัจจัย
[๑๔๓๒] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอาหารปัจจัย ฯลฯ เพราะอินทริยปัจจัย เพราะ
ฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตปัจจัย เพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะ
อวิคตปัจจัย.
พึงนับให้พิสดารเหมือนปฏิจจวาระ แห่งกุสลติกะ ที่ให้พิสดารแล้ว
โดยวิธีสาธยาย
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๑๔๓๓] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๙ วาระ ใน
วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๙ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๙
วาระ ในฌานปัจจัย มี ๙ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ใน
นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙
วาระ.
เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ . . . ในอวิคตปัจจัย
มี ๙ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 185
พึงนับเหมือนการนับในปฏิจจวาระในกุสลติกะ ที่นับไว้แล้วโดยวิธี
สาธยาย.
อนุโลม จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๔๓๔] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็น
อเหตุกะ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกัฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น. หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น. ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็น
อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น
ฯลฯ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 186
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมซึ่ง
เป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น.
๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ที่เป็นอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๔๓๕] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทา
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น. ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม
เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูต
รูป ๑ ฯลฯ อุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป.
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เกิดขึ้น.
[๑๔๓๖] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา
นิยธรรมและอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็น
อเหตุกะและมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 187
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๑๔๓๗] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิด
ขึ้น. หทยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น. มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิด
ขึ้น.
๓. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปา-
ทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิด
ขึ้น ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป . . .อุตุสมุฏ-
ฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินน-
อนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 188
๕. อนุปาทานิยธรรมอาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม
และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณ-
ปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมและ
มหาภูตรูป เกิดขึ้น.
๓. นอธิปติปัจจัย
[๑๔๓๘] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
พึงกระทำปติสนธิให้บริบูรณ์. มี ๓ วาระ.
๔. ฯลฯ อาศัยธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม
เกิดขึ้น มี ๑ วาระ.
๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินน-
อนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็น
อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 189
๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมเกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมและ
มหาภูตรูปเกิดขึ้น.
๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๑๐. นอาเสวนปัจจัย
[๑๔๓๙] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอนันตรปัจจัย ฯลฯ เพราะนสมนันตรปัจจัย
เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาต-
ปัจจัย เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย
อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมซึ่งเป็น
วิบาก เกิดขึ้น ฯลฯ
๑๑. นกัมมปัจจัย
[๑๔๔๐] ๑. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.
พาหิรรูป. . . อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูต
รูป ๑ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 190
[๑๔๔๑] ๒. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินน-
อนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาทีเป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุ-
ปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นกุศล เกิดขึ้น.
๑๒. นวิปากปัจจัย
[๑๔๔๒] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตา-
รูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นัยธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
มี ๑ วาระ.
๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรมเกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมซึ่งเป็น
กุศล เกิดขึ้น.
มี ๓ วาระ.
๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นวิปากปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 191
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
ซึ่งเป็นกุศล และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
๑๓. นอาหารปัจจัย
[๑๔๔๓] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาหารปัจจัย
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
พาหิรรูป . . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
๑๔. นอินทริยปัจจัย
[๑๔๔๔] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอินทริยปัจจัย
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
[๑๔๔๕] ๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอินทริยปัจจัย
พาหิรรูป . . . อาหารสมุฏฐานรูป . . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูต
รูป ๑ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 192
๑๕. นฌานปัจจัย
[๑๔๔๖] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย
พาหิรรูป. . . อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูต.
รูป ๑ ฯลฯ
๑๖. นมัคคปัจจัย
[๑๔๔๗] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนมัคคปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็น
อเหตุกะ เกิดขึ้น ฯลฯ
มี ๕ วาระ.
๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย
[๑๔๔๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนสัมปยุตตปัจจัย
เหมือนกับนอารัมมณปัจจัย. (คือ มี ๖ วาระ)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 193
๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย
[๑๔๔๙] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม
เกิดขึ้น ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรมเกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ.
พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภูต
รูป ๑ ฯลฯ
๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินน-
อนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย
[๑๔๕๐] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะโนนัตถิปัจจัย ฯลฯ เพราะในวิคตปัจจัย
พึงนับเหมือนปัจจนียะ ในกุสลติกะ ที่ให้พิสดารไว้แล้ว.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 194
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
ในนเหตุปัจจัยมี ๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอธิปติ
ปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๖
วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๖ วาระ ในน-
ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย
มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ ในน-
อาหารปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๒ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๒
วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ ในน-
วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๖
วาระ.
เพราะนเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัยมี ๘ วาระ ฯลฯ ในโนวิคต-
ปัจจัย มี ๔ วาระ.
พึงนับจำนวนวาระเหมือนในกุสลติกะ.
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
[๑๔๕๒] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ
ในโนวิคตปัจจัย มี ๖ วาระ.
พึงนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ เหมือนในกุสลติกะ.
อนุโลมปัจจนียนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 195
ปัจจนียานุโลมนัย
[๑๔๕๓] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
พึงนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม เหมือนในกุสลติกะ.
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาระ จบ
สหชาติวาระ
[๑๔๕๔] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดร่วมกับอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
ปฏิจจวาระก็ดี สหชาตวาระก็ดี เหมือนกัน.
สหชาตวาระ จบ
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๔๕๕] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์
ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 196
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็น
อุปาทารูปอาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น. ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนิปาทานิยธรรม
อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมเกิด
ขึ้น ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๔. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทา.
นิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.
๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปา-
ทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
มี ๑ วาระ
๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินน-
อนุปานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
มี ๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 197
๙. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปา-
ทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และ
หทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๑๐. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปา-
ทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ
ปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
๑๑. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และ
มหาภูตรูป เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม
และหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๔๕๖] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 198
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ เกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณอาศัย
กายายตนะเกิดขึ้น.
ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปา-
ทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทนน-
อนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 199
[๑๔๕๗] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และ
หทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๗. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทย-
วัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๔๕๘] ๑. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัย หทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๒. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๓. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปา-
ทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
มี ๑ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 200
๔. ฯลฯ อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
มี ๓ วาระ.
๗. ฯลฯ อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปา-
ทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
๘. ฯลฯ อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุ-
ปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
๙. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรมและอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทย-
วัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๔. อนันตรปัจจัย
[๑๔๕๙] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอนันตรปัจจัย
ปัจจัย ๒๔ พึงให้พิสดาร.
ฯลฯ เพราะอวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๑๔๖๐] ในเหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ใน
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๗
วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ ในนิสสย-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 201
ปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ
ในอาเสวนปัจจัย มี ๖ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑๑
วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในฌาน-
ปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ
ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗
วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๑ วาระ.
[๑๔๖๑] เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ ใน
อวิคตปัจจัย มี ๑๑ วาระ. พึงนับจำนวนวาระเหมือนในกุสลติกะ.
อนุโลม จบ
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๑๔๖๒] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ
เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ เกิดขึ้น.
จักขุวิญญาณ อาศัยจักขายตนะ เกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณ อาศัย
กายายตนะเกิดขึ้น.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัย
หทยวัตถุเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 202
๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา
นัยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่ง
เป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น, ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมซึ่งเป็นอเหตุกะ อาศัย
หทยวัตถุ เกิดขึ้น. โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัย
หทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น.
๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปา-
ทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น ฯลฯ
พาหิรรูป . . . อาหารสมุฏฐานรูป. . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป
๑ อาศัยมหาภูตรูป ๓ ฯลฯ อุปาทารูปอาศัยมหาภูตรูป.
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เกิดขึ้น.
๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ-
นเหตุปัจจัย .
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 203
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่ง
เป็นอเหตุกะ และมหาภูตรูป เกิดขึ้น, ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย
ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๒. นอารัมมณปัจจัย ๓.นอธิปติปัจจัย
[๑๔๖๓] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย ฯลฯ
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิด
ขึ้น, ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น.
๔. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 204
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
๕. ฯลฯ อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น มี
๑ วาระ.
๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินน-
อนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็น
อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น.
[๑๔๖๔] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ-
นอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็น
อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๘. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และ
มหาภูตรูป เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม
และหทยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
[๑๔๖๕] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอนันตรปัจจัย. . . เพราะนสมนันตรปัจจัย
เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาต-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 205
ปัจจัย เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย๑.
๑๑. นกัมมปัจจัย
[๑๔๖๖] ๑. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๒. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นกุศล อาศัย
หทยวัตถุเกิดขึ้น.
๓. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น. พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป
ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น.
๔. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินน-
อนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็น
อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นกุศล เกิดขึ้น.
๑. ดูจำนวนการนับวาระ ในข้อ ๑๔๖๙
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 206
๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นกัมมปัจจัย
คือ เจตนาซึ่งเป็นกุศลที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์
ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นกุศลและหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๑๒. นวิปากปัจจัย
[๑๔๖๗] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น.
๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา
นิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นกุศล อาศัย
หทยวัตถุเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 207
๔. ฯลฯ อาศัยอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ เกิดขึ้น
มี ๑ วาระ.
๕. ฯลฯ อาศัยอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ฯลฯ
เกิดขึ้น
มี ๓ วาระ.
๘. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นวิปากปัจจัย ฯลฯ
๙. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปาก-
ปัจจัย ฯลฯ
๑๐. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปาก-
ปัจจัย ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทย-
วัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๑๓. นอาหารปัจจัย ฯลฯ ๒๐. โนวิคตปัจจัย
[๑๔๖๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอาหารปัจจัย. . .เพราะนอินทริยปัจจัย เพราะ
นฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนสัมปยุตตปัจจัย เพราะ
นวิปปยุตตปัจจัย เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 208
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
สุทธมูลกนัย
[๑๔๖๙] ในนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๘ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๖ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๖
วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในน-
อาเสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๖ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี
๑๐ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๒ วาระ ใน-
นฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๖
วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในโน-
วิคตปัจจัย มี ๖ วาระ. พึงนับโดยพิสดาร.
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ ในโนวิคต-
ปัจจัย มี ๖ วาระ. พึงนับโดยพิสดาร.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ ฯลฯ ในอวิคต
ปัจจัย มี ๕ วาระ.
ปัจจยวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 209
นิสสยวาระ
[๑๔๗๐] อุปาทินนุปาทานิยธรรม อาศัยอุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๓ ฯลฯ
ปัจจัยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี เหมือนกัน.
นิสสยวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 210
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย
[๑๔๗๑] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เจือกับอุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น,
ขันธ์ ๑ เจือกับขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับ ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เจือกับอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมเจือกับอนุปาทินน-
อนุปาทานิยธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 211
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๑๔๗๒] ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ ในอธิปติปัจจัย มี ๒ วาระ
ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย
มี ๓ วาระ. ในกุสลติกะนับอย่างไร พึงนับอย่างนั้น.
อนุโลม จบ
ปัจจนียนัย
[๑๔๗๓] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เจือกับอุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทานิยธรรมซึ่งเป็นอเหตุกะ
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในอเหตุกะ ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เจือกับอนุปาทินนุปาทานิยธรรม
เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็น
อเหตุกะ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น. โมหะที่สหรคตด้วย
วิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เจือกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 212
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ใน-
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
[๑๔๗๔] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ
ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจนียานุโลมนัย
เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ . . . ใน-
อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
สังสัฏฐวาระ จบ
สัมปยุตตวาระ
[๑๔๗๕] อุปาทินนุปาทานิยธรรม สัมปยุตกับอุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย.
ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ. . . ฯลฯ. . . ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกัน.
สัมปยุตตวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 213
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๔๗๖] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๔๗๗] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๔๗๘] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของเหตุ-
ปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 214
[๑๔๗๙] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๔๘๐] ๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๔๘๑] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ-
ฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๔๘๒] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 215
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๔๘๓] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุโดยความเป็นของไม่
เที่ยง เป็นทุกข์เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุ
นั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น โทมนัสย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว
ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป
เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ
และขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็น
ทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้น
นั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น โทมนัสย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว
ตทารัมมณจิต อันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
รูปายตนะที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ
คันธายตนะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏ-
ฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๔๘๔] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะย่อม
เกิดขึ้น โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 216
บุคคลพิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส
โผฏฐัพพะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตุถุ และขันธ์ทั้งหลายที่
เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น
โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยทิพยจักษุ, รู้จิตของ
บุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยเจโตปริย-
ญาณ.
ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่
เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๔๘๕] ๓. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม แล้วพิจารณากุศล
นั้น, พิจารณากุศลที่สั่งสมดีแล้วในกาลก่อน, ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณาโคตรภู, พิจารณาโวทาน, พิจารณากิเลส
ที่ละแล้ว, พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้กิเลสที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน, พิจารณา
เห็นรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทินนุปานิยธรรม และ
ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 217
เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น
ราคะย่อมเกิดขึ้น โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.
เห็นรูปที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วย
ทิพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจ
ของอารัมมณปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่
เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังส-
ญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๔๘๖] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นรูปที่เป็นอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม . . . เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม
และขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น
ราคะย่อมเกิดขึ้น โทมนัสย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทา-
รัมมณจิตอันเป็นวิบากย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 218
อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนวิบาก ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย.
อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
รูปายตนะที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๔๘๗] ๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย.
[๑๔๘๘] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลาย ออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค, พิจารณา
ผล, พิจารณานิพพาน, นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่
อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอริยะทั้งหลาย รู้จิตของบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยจิตที่เป็นอนุปาทินน-
อนุปาทานิยธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ
แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 219
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๔๘๙] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะการทำจักษุให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะย่อม
เกิดขึ้น ทิฏฐิย่อมเกิดขึ้น. บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำ
โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ
ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำโสตะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว ราคะย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิย่อมเกิดขึ้น.
๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม แล้วกระทำกุศล
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
กระทำกุศลที่สั่งสมไว้ดีแล้วในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
แล้วพิจารณา.
ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 220
พระเสกขะทั้งหลายกระทำโคตรภู ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
พิจารณา กระทำโวทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำรูป เสียง กลิ่น รส
โผฏฐัพพะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ครั้นกระทำรูปเป็นต้นนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนุปานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตสมุฏฐานรูปด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๔๙๐] ๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค, แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนานุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๔๙๑] ๔. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 221
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น แล้วพิจารณา, กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว
พิจารณา, กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๔๙๒] ๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
๔. อนันตรปัจจัย
[๑๔๙๓] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 222
ปัญจวิญญาณเป็นปัจจัยแก่มโนธาตุ ที่เป็นวิบาก ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
มโนธาตุที่เป็นวิบากเป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุ ที่เป็นวิบาก ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๔๙๔] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ภวังคจิต เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิต. มโนวิญญาณธาตุที่เป็น
วิบาก เป็นปัจจัยแก่มโนวิญญาณธาตุที่เป็นกิริยา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๔๙๕] ๓. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน.
อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 223
[๑๔๙๖] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ปัญจวิญญาณ ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๔๙๗] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค
โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ
เนวสัญญานาสัญญายตนะของผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๔๙๘] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล ผลเป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 224
[๑๔๙๙] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย
๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย
เหมือนอนันตรปัจจัย.
๖. สหชาตปัจจัย
[๑๕๐๐] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป.
ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุหทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย.
มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓, มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัยแก่
มหาภูตรูป ๑, มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒, มหาภูตรูปทั้งหลาย
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 225
[๑๕๐๑] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทา-
นิยธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
รูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๕๐๒] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๕๐๓] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
มหาภูตรูป ๑ ที่เป็นอนุปาทาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ มหาภูตรูป
ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ฯลฯ
พาหิรรูป. . . อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูต
รูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่อุปาทายรูป ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 226
[๑๕๐๔] ๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๕๐๕] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ-
ฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๕๐๖] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๑๕๐๗] ๘. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุ-
ปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ.
ของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 227
[๑๕๐๘] ๙. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
๗. อัญญมัญญปัจจัย
[๑๕๐๙] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ ฯลฯ.
ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลาย.
มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ เป็น
ปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
[๑๕๑๐] ๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 228
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป
ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
[๑๕๑๑] ๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
๘. นิสสยปัจจัย
[๑๕๑๒] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
สำหรับอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม
ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
[๑๕๑๓] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 229
คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
รูป ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย. หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
[๑๕๑๔] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
[๑๕๑๕] ๔. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
นิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
[๑๕๑๖] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม มี ๑ วาระ.
อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม มี ๓ วาระ (วาระที่ ๖-๗-๘).
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 230
[๑๕๑๗] ๙. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปา-
ทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
[๑๕๑๘] ๑๐. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุ-
ปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
[๑๕๑๙] ๑๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
นิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมและหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 231
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๑๕๒๐] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
สุขทางกาย เป็นปัจจัย แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
ทุกข์ทางกาย เป็นปัจจัย แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย.
อุตุ เป็นปัจจัย แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย, โภชนะ เป็นปัจจัย
แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย, สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เป็น
ปัจจัยแก่สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๕๒๑] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทางกาย ให้ทาน
สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม ยังฌานให้เกิด ยังวิปัสสนาให้เกิด ยังอภิญญา
ให้เกิด ยังสมาบัติให้เกิด ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
เข้าไปอาศัยทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 232
สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โทสะ โมหะ
มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๕๒๒] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยสุขทาง
กาย ยังมรรคให้เกิด เข้าผลสมาบัติ.
บุคคลอาศัยทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ยังมรรคให้เกิด เข้าผลสมาบัติ.
สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล-
สมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๕๒๓] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็นอารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นอนุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม ให้ทาน สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม ยังฌานให้เกิด ยัง
วิปัสสนาให้เกิด ยังอภิญญาให้เกิด ยังสมาบัติให้เกิด ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลาย
สงฆ์ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 233
บุคคลอาศัยศีลที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม สุตะ จาคะ ปัญญา
ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา อุตุ โภชนะ เสนาสนะ
แล้วให้ทาน ยังสมาบัติให้เกิด ฆ่าสัตว์ ทำลายสงฆ์ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
ศรัทธาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ
โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา อุตุ โภชนะ เสนาสนะ เป็น
ปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
บริกรรมแห่งปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ฯลฯ บริกรรมแห่ง
เนวสัญญานาสัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.
ปฐมฌาน เป็นปัจจัยแก่ทุติยฌาน ฯลฯ อากิญจัญญายตนะ เป็น
ปัจจัย แก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.
ปาณาติบาต เป็นปัจจัยแก่ปาณาติบาต ฯลฯ นิยตมิจฉาทิฏฐิ เป็น
ปัจจัยแก่นิยตมิจฉาทิฏฐิ.
[๑๕๒๔] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่เป็นอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรมแล้ว ยังตนให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน เสวยทุกข์มีการแสวงหา
เป็นมูล.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 234
บุคคลอาศัยศีลที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ เสนาสนะ ยังตน
ให้เดือดร้อน ให้เร่าร้อน เสวยทุกข์มีการแสวงหาเป็นมูล.
ศรัทธาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่
สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
กุศลกรรมและอกุศลกรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก ด้วยอำนาจของอุป-
นิสสยปัจจัย.
[๑๕๒๕] ๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัย
แก่ปฐมมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
บริกรรมแห่งทุติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค
บริกรรมแห่งตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ตติยมรรค
บริกรรมแห่งจตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
[๑๕๒๖] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 235
ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ทุติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ตติยมรรค
ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค.
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๕๒๗] ๘. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ผลสมาบัติ เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๕๒๘] ๙. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายอาศัยมรรค ยังสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น เข้า
สมาบัติที่เกิดแล้ว พิจารณาสังขารโดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา.
มรรคเป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา ธรรมปฏิสัมภิทา นิรุตติปฏิสัมภิทา
ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ความฉลาดในฐานะและอฐานะ ของพระอริยะทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 236
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๑๕๒๙] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
พระเสกขะหรือปุถุชนพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา. ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น
ราคะย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว
ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบากย่อมเกิดขึ้น.
พระเสกขะหรือปุถุชนพิจารณา โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะที่เป็น
อุปาทินนุปาทานิยธรรม รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และหทยวัตถุ
โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง
เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น
เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบากย่อมเกิดขึ้น
รูปายตนะที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ,
คันธายตนะ. . .รสายตนะ. . .โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 237
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๕๓๐] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
พระเสกขะหรือปุถุชนพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น
ราคะย่อมเกิดขึ้น โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.
พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความ
เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง
เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.
พระเสกขะหรือปุถุชน เห็นรูปที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วย
ทิพยจักษุ.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 238
[๑๕๓๑] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น วัตถุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๕๓๒] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อม
ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปเป็นต้น นั้น ราคะย่อมเกิด ฯลฯ
โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.
เห็นรูปที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วย
ทิพโสตธาตุ.
[๑๕๓๓] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นรูป เสียง กลิ่น รส โผฎฐัพพะ ที่เป็นอนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 239
ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูปเป็นต้นนั้น ราคะย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ
โทมนัสย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้วตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก
ย่อมเกิดขึ้น.
รูปายตนะที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๕๓๔] ๖. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
ปุเรชาตปัจจัย
มี อย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ รวมกับ วัตถุ
ปุเรชาตะ ได้แก่
รูปายตนะ และจักขายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็น
ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะ และกายายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม
เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
รูปายตนะ และหทยวัตถุที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะ และหทยวัตถุ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 240
[๑๕๓๕] ๗. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
ปุเรชาตปัจจัย
มีอย่างเดียวคือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ รวมกับ วัตถุปุเรชาตะ
คือ รูปายตนะ และหทยวัตถุที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัยฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะ และหทยวัตถุที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๕๓๖] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๕๓๗] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-
ปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 241
[๑๕๓๘] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-
ทินนุปาทานิยธรรมและอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดก่อน
ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๕๓๙] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-
ปัจจัย.
[๑๕๔๐] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๕๔๑] ๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 242
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ทีเป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมและอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อน
ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๕๔๒] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-
ปัจจัย.
[๑๕๔๓] ๘. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-
ปัจจัย.
[๑๕๔๔] ๙. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิด
ก่อนด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 243
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๑๕๔๕] ๑. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดหลังๆด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย,
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๑๕๔๖] ๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๑๕๔๗] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย,
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย,
เจตนาเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 244
[๑๕๒๘] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน
รูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมม-
ปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๕๔๙] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๕๕๐] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 245
[๑๕๕๑] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่ กุศลเจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทา-
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๕๕๒] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ-
ฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๕๕๓] ๘. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 246
๑๔. วิปากปัจจัย
[๑๕๕๔] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็น
วิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
[๑๕๕๕] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
[๑๕๕๖] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
วิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 247
[๑๕๕๗] ๔. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบากเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒
ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
[๑๕๕๘] ๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
[๑๕๕๙] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของวิปากปัจจัย.
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์
๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
๑๕. อาหารปัจจัย
[๑๕๖๐] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 248
คือ อาหารที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ อาหารที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็น
อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
[๑๕๖๑] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
รูป ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่
เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
[๑๕๖๒] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหาร
ปัจจัย
คือ อาหารที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็น
อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหาร-
ปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 249
[๑๕๖๓] ๘. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
กวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย
ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
[๑๕๖๔] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ กวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
[๑๕๖๕] ๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
อาหารปัจจัย
คือ กวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของอาหารปัจจัย
[๒๕๖๖ ] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 250
คือ อาหารที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
[๑๕๖๗] ๘. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ-
ฐานรูป ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
[๑๕๖๘] ๙. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วย-
อำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
[๑๕๖๙] ๑๐. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
อาหารปัจจัย
คือ กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
อาหารปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 251
[๑๕๗๐] ๑๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
อาหารปัจจัย
คือ กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของอาหารปัจจัย.
[๑๕๗๑] ๑๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปา-
ทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
๑๖. อินทริยปัจจัย
[๑๕๗๒] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ
ปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ อินทรีย์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 252
จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๑๕๗๓] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
รูป ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๑๕๗๔] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
อินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๑๕๗๕] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๑๕๗๖] ๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 253
คือ อินทรีย์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๑๕๗๗] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๑๕๗๘] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๑๗. ฌานปัจจัย
[๑๕๗๙] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย
คือ องค์ฌานที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ องค์ฌานที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 254
[๑๕๘๐] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย
คือ องค์ฌานที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
[๑๕๘๑] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
ฌานปัจจัย
คือ องค์ฌานที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมป-
ยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
[๑๕๘๒] ๔. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย
คือ องค์ฌานที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
[๑๕๘๓] ๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย
คือ องค์ฌานที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 255
[๑๕๘๔] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย
คือ องค์ฌานที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
[๑๕๘๕] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของฌานปัจจัย
คือ องค์ฌานที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
๑๘. มัคคปัจจัย
[๑๕๘๖] ๑. อุปาทินนุปาทาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย
คือ องค์มรรคที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๕๘๗] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย
คือ องค์มรรคที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 256
[๑๕๘๘] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย
คือ องค์มรรคที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.
[๑๕๘๙] ๔. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย
คือ องค์มรรคที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมป-
ยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.
[๑๕๙๐] ๕. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย
คือ องค์มรรคที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.
[๑๕๙๑] ๖. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย
คือ องค์มรรคที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 257
[๑๕๙๒] ๗. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของมัคคปัจจัย
คือ องค์มรรคที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.
๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
[๑๕๙๓] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๑๕๙๔] ๒. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
[๑๕๙๕] ๓. อนุปาทินนอนุปาทานิบธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๓ ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 258
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
[๑๕๙๖] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปา-
ทานิยธรรมที่เกิดพร้อม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่จักขุ-
วิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ กายายตนะที่เกิดก่อน เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิด
ภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๕๙๗] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิด
พร้อมเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 259
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ที่เกิด
ภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๕๙๘] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุที่เกิดก่อนเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๕๙๙] ๘. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
วิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม
และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๖๐๐] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 260
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิด
พร้อม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่
เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๖๐๑] ๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม
ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๖๐๒] ๗. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
วิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม
และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๖๐๓] ๘. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 261
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินน-
อนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม
ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๖๐๔] ๙. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่
เกิดพร้อม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน
ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๖๐๕] ๑๐. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
วิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินน-
อนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม
และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 262
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๑๖๐๖] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่
เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย. ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัย
แก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย,
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ที่
เป็นอุปาทารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ฯลฯ มหาภูตรูป เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุ
ที่เกิดก่อน โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อม
เพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อกุศล
และอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 263
พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป
เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ
โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลิน
ยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่อ
กุศลและอกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
รูปายตนะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ
คันธายตนะ ฯลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่
เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดก่อน ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่
เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๖๐๗] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 264
มี๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิด
พร้อม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุที่
เกิดก่อน โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อม
เพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณาโสตะ ฆานะ ฯลฯ ชิวหา ฯลฯ
กายะ ฯลฯ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม รูป กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เป็น
อุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น
ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
เห็นรูปที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยทิพยจักษุ, หทยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม
ที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่
เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 265
[๑๖๐๘] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๖๐๙] ๔. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรมด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิด
ภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปา-
ทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๖๑๐] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ
อาหาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 266
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ มหาภูตรูป เป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พาหิรรูป...อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นรูป เสียง กลิ่น รส
โผฏฐัพพะที่เกิดก่อน ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่
เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูป
เป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
เห็นรูปที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพ
โสตธาตุ.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่อนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิด
ภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น อาหาระ ได้แก่กวฬีกาาราหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ
ปัจจัย.
[๑๖๐๑] ๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 267
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ บุกคลพิจารณาเห็นรูป เสียง กลิ่น รส
โผฏฐัพพะที่เกิดก่อน ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่
เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูป
เป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น. เมื่อกุศลและอกุศลดับไปแล้ว
ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
รูปายตนะที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม
ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น อาหาระ ได้แก่กวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ
ปัจจัย.
[๑๖๑๒] ๗. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 268
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่
เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น อาหาระ ได้แก่ กวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๖๑๓] ๘. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย.
[๑๖๑๔] ๙. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุ-
ปาทานิยธรรม ที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม
ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๖๑๕] ๑๐. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 269
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ที่
เกิดพร้อมเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
ที่เกิดภายหลังเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๖๑๖] ๑๑. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย
มี อย่างเดียว คือ ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ที่เกิดพร้อมเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๖๑๗] ๑๒. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย
มี ๒อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปัจฉาชาตะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 270
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
ที่เกิดพร้อมเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิ
ปัจจัย. ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุ-
ปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดพร้อมเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกายนี้ที่เป็นอนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อนด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๑ และกายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๖๑๘] ๑๓. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทา-
นิยธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และ
อนุปาทินนุปาทานิยธรรมนี้ ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
[๑๖๑๙] ๑๔. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อุปาทินนุปาทานิยธรรม อนุปาทินนุปาทานิยธรรมและอนุปาทินน-
อนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ ปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 271
มีอย่างเดียว คือ สหชาตะ รวมกับ ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดพร้อมเป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และกายนี้ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑
และกายนี้ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่ง
เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกาย
นี้ ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๖๒๐] ๑๕. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุ-
ปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิติน-
ทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๖๒๐] ๑๖. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุ-
ปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 272
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ที่เกิดพร้อม และ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๓ และหทย-
วัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๖๒๒] ๑๗. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุ-
ปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง และกวฬีกา-
ราหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปา-
ทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๖๒๓] ๑๘. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุ-
ปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมและ
มหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 273
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินน-
อนุปาทานิยธรรม ที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทา
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ
ปัจจัย.
[๑๖๒๔] ๑๙. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุ-
ปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม ที่เกิดภายหลัง และกวฬีกา-
ราหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอุปาทินนุปา-
ทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๖๒๕] ๒๐. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม และจักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 274
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และกายายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
รูปายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และจักขุวัตถุ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ ที่เป็นอนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม และกายวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม และกวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย
แก่กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, กวฬีการา-
หารที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัย
แก่กาย ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย.
[๑๖๒๖] ๒๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย
มี ๔ อย่าง คือที่เป็น สหชตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ และ อาหาระ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิด
พร้อม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 275
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ รูปายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม
และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ฯลฯ โผฏฐัพ-
พายตนะ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอุปาทิน-
ทินนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิย-
ธรรมเป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๖๒๗] ๒๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปา-
ทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อาหาระ ได้แก่ กวฬีการาหาร ที่เป็นอุปาทิน
นุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เป็น
อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย.
[๑๖๒๘] ๒๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม อนุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปา-
ทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 276
มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และ อินทริยะ
ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรมที่เกิดภายหลัง และ
กวฬิการาหาร ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๒๒. อัตถิปัจจัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปัจจัย
[๑๖๒๙] อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปา-
ทานิยธรรม ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ
วิคตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๑๖๓๐] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๗ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
ในกัมมปัจจัย มี ๘ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๒
วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย
มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
ในอัตถิปัจจัย มี ๒๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗
วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๒๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 277
[๑๖๓๑] เพราะเหตุปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ . . . ใน
สหาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย
มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ใน
มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี
๔ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย ๗ วาระ.
การนับกุสลติกะ ได้นับแล้วโดยวิธีสาธยาย ฉันใด พึงนับฉันนั้น.
การนับวาระในอุปาทินนติกะลึกซึ้งและสุขุมกว่าการนับวาระในกุสลติกะ
ผู้มีปัญญาพึงนับโดยทำอย่างนี้.
อนุโลม จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๑๖๓๒] ๑. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัยฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจ-
ฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๑๖๓๓] ๒. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 278
อำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
[๑๖๓๔] ๓. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ
[๑๖๓๕] ๔. อุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุ-
ปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็น
ปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
[๑๖๓๖] ๕. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วย
อำนาจของ สหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
[๑๖๓๗] ๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 279
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาต-
ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
[๑๖๓๘] ๗. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๖๓๙] ๘. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
[๑๖๔๐] ๙. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนอนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็น
ปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๖๔๑] ๑๐. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็น
ปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๖๔๒] ๑๑. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุ-
ปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 280
[๑๖๔๓] ๑๒. อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่
อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปัจฉาชาตะ
[๑๖๔๔] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปา-
ทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปัจฉาตะ
[๑๖๔๕] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉา-
ชาตปัจจัย
[๑๖๔๖] อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปา-
ทานิยธรรม
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปัจฉาชาตะ
[๑๖๔๗] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทา-
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ
[๑๖๔๘] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทา-
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 281
[๑๖๔๙] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทา-
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
[๑๖๕๐] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทา-
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
[๑๖๕๑] อนุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนอนุปาทา-
นิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปา-
ทานิยธรรม
มีอย่างเดียว คือที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
[๑๖๕๒] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และ
รวมกับ อินทริยะ
[๑๖๕๓] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อนุปาทินนุปาทานิยธรรม
มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ รวมกับ
อาหาระ
[๑๖๕๔] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทา-
นิยธรรม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 282
มีอย่างเดียว คือ อาหาระ
[๑๖๕๕] อุปาทินนุปาทานิยธรรม และอนุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม และอนุปาทินนอนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทินนุปา-
ทานิยธรรม
มี ๑ อย่าง คือ ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ รวมกับ อินทริยะ
(คือปัจฉาชาตะ + อาหาระ + อินทริยะ)
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
สุทธมูลกนัย
[๑๖๕๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒๔ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๒๐ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี
๒๐ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๒๐ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๓ วาระ ใน
นปุเรชาตปัจจัย มี ๒๓วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย
มี ๒๔ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒๔ วาระ
ในนอาหารปัจจัย มี ๒๐ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๒๒ วาระ ในนฌานปัจจัย
มี ๒๔ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒๐ วาระ
ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย
มี ๒๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๒๔ วาระ ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ
[๑๖๕๗] เพราะนเหตุปัจจัยในนอารัมมณปัจจัย มี ๒๔ วาระ ฯลฯ
การนับปัจจนียะในกุสลติกะให้พิสดารแล้ว ฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้น.
ปัจจนียะ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 283
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๑๖๕๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ...ในน
อธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย
มี ๗ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๔ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอาเสวน
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ ใน
นอาหารปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๗
วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ ในนวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
ปัจจัย ๕ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ อวิคตปัจจัย ในนอารัมมณ-
ปัจจัย มี ๗ วาระ...ในนอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ.
การนับวาระในอนุโลมปัจจนียะ จำแนกไว้แล้วในกุสลติกะฉันใด พึง
นับฉันนั้น.
อนุโลมปัจจนียะ จบ
ปัจจนียานุโลม
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๑๖๕๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ. . . ใน
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี
๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 284
นิสสยปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๗
วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒วาระ ในกัมมปัจจัย
มี ๘ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๖ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในอินทริย-
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ใน
สัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี
๒๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย
มี ๒๓ วาระ.
ฯลฯ
การนับวาระในปัจจนียานุโลม จำแนกไว้แล้วในกุสลติกะ ฉันใด
พึงนับฉันนั้น
อุปาทินนติกะ ที่ ๔ จบ
อรรถกถาพรรณนาเนื้อความแห่งอุปาทินนติกปัฏฐาน
ในปัญหาวาระแห่ง อุปาทินนุปาทานิยติกะ พระผู้มีพระภาคเจ้า
ตรัสหมายถึงปวัตติกาลว่า วัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุปาทินนุปาทา-
นิยะ โดยปุเรชาตปัจจัยเท่านั้น แต่ในปฏิสนธิกาล วัตถุนั้นหาเป็นปุเรชาต-
ปัจจัยไม่. ในคำนี้ว่า กพฬีการาหารที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ เป็นปัจจัยแก่
กายที่เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ โดยอาหารปัจจัย ดังนี้ความว่า ชื่อว่ากพฬี-
การาหารี เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ ได้แก่ โอชาที่อยู่ในภายในแห่งรูปที่มีกรรม
เป็นสมุฏฐาน. สองบทว่า อุปาทินฺนุปาทานิยสฺส กายสฺส ความว่าเป็น
ปัจจัยแก่กาย คือรูปที่มีกรรมเป็นสมุฏฐานนั่นเอง โดยอาหารปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 285
อาหารเป็นปัจจัย ด้วยอำนาจการเลี้ยงรักษาและค้ำจุนแก่
กัมมชรูป เหมือนรูปชีวิตินทรีย์ ไม่ได้เป็นปัจจัยด้วยอำนาจการยังรูป
ให้เกิดขึ้น.
ส่วนคำใดที่อาจารย์บางพวกกล่าวว่า โอชาในตัวกบเป็นต้นที่ยังเป็นอยู่
เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัยแก่ตัวงูที่กลืนกบเป็นต้น เข้าไป คำนั้นไม่พึงถือเอา
เพราะว่า โอชาในตัวสัตว์ที่ยังเป็นอยู่ ย่อมไม่ให้สำเร็จความเป็นอาหารปัจจัย
แก่ร่างกายของผู้อื่น. ก็ในคำนี้ว่า อนุปาทินนุปาทานิยสฺส กายสฺส ย่อม
ได้ความเป็นปัจจัยด้วยอำนาจการให้เกิดขึ้น. ในคำนี้ว่า อุปาทินนุปาทา-
นิยสฺส จ อนุปาทินนุปาทานิยสฺส จ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอาหาร
ปัจจัยด้วยอำนาจเป็นธรรมค้ำจุนแก่กายอย่างหนึ่ง ด้วยอำนาจทำให้เกิดแก่กาย
อย่างหนึ่ง หรือด้วยอำนาจเป็นธรรมค้ำจุนเท่านั้น แก่กายที่เป็นอุปาทินนุ-
ปาทานิยะ และที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ. ก็อาหาร ๒ เมื่อเป็นปัจจัยร่วมกัน
ย่อมเป็นอุปัตถัมภกสัตติคือค้ำจุนเท่านั้น ไม่เป็นชนกสัตติคือทำให้เกิด. คำที่
เหลือในอธิการนี้ ผู้ศึกษาพึงตรวจบาลีให้ดีแล้วทราบเถิด.
อรรถกถาพรรณนาเนื้อความแห่งอุปาทินนติกปัฏฐาน จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 286
๕. สังกิลิฏฐติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย
[๑๖๖๐] ๑. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม อาศัยสังกิลิฏฐสังกิเล-
สิกธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๒. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม อาศัยสังกิลิฏฐสังกิ-
เลสิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมเกิดขึ้น.
๓. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิ-
เลสิกธรรม อาศัยสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐสัง-
กิเลสิกธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๑๖๖๑] ๔. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐสัง-
กิเลสิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฎฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 287
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
หทยวัตถุอาศัยขันธ์ทั้งหลายเกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป และ
กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
[๑๖๖๒] ๕. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐ-
อสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๖. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐอสัง-
กิเลสิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม
เกิดขึ้น.
๗. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสัง-
กิเลสิกธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐ-
อสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 288
[๑๖๖๓] ๘. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม
และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
[๑๖๖๔] ๙. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม อาศัยสังกิลิฏฐสังกิ-
เลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และ
มหาภูตรูป ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
สุทธมูลกนัย
[๑๖๖๘] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ
ฯลฯ ในวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ในกุสลติกะท่านจำแนกไว้อย่างไร พึงจำแนกอย่างนั้น.
ปัจจนียนัย
[๑๖๖๖] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม อาศัยสังกิลิฏฐสังกิเลสิก-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 289
[๑๖๖๗] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม อาศัยอสังกิลิฏฐสังกิเล-
สิกธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐสัง-
กิเลสิกธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ในกุสลติกะ ท่านจำแนกไว้อย่างไร พึงจำแนกอย่างนั้น.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะเป็นต้น
ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในน-
อธิปติปัจจัย มี ๖ วาระ ฯลฯ
เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ
เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ
สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระ นิสสยวาระ สังสัฏฐวาระ และสัมปยุตต-
วาระก็ดี พึงให้พิสดาร.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 290
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๖๖๘] ๑. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
[๑๖๖๙] ๒. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๖๗๐] ๓. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุ
ปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๖๗๑] ๔. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 291
ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๖๗๒] ๕. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๖๗๓] ๖. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
รูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๖๗๘] ๗. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจ
ของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๖๗๕] ๑. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 292
คือ ๑. บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งราคะ เพราะปรารภราคะ
นั้น ราคะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น. บุคคลย่อมยินดีซึ่งทิฏฐิ
ฯลฯ เพราะปรารภวิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ฯลฯ
ในกุสลติกะ ท่านจำแนกไว้อย่างไร พึงจำแนกอย่างนั้น.
[๑๖๗๖] ๒. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ๑. พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว.
๒. พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว.
๓. รู้กิเลสที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน.
๔. พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยความ
เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.
๕. รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นสังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
๖. พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสัง-
กิเลสิกธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เมื่อกุศลดับ
ไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
๗. ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิก-
ธรรม โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น เมื่ออกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก
ย่อมเกิดขึ้น.
๘. ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริย-
ญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 293
[๑๖๗๗] ๓. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม แล้วพิจารณา
กุศลนั้น.
๒. บุคคลพิจารณากุศลที่สั่งสมไว้ในกาลก่อน.
๓. บุคคลออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน.
๔. พระอริยบุคคลพิจารณาโคตรภู พิจารณาโวทาน.
๕. พิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา พิจารณา โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
หทยวัตถุ และขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.
๖. เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ
๗. รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียง ด้วยจิตที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเล-
สิกธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
๘. อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ
๙. อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๑๐. รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจ
ของอารัมมณปัจจัย.
๑๑. ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ
แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่
อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 294
[๑๖๗๘] ๔. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมยินดี
ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่ง กุศลนั้น เมื่อปรารภกุศลนั้น ราคะ ทิฏฐิ โทมนัส
ย่อมเกิดขึ้น.
๒. บุคคลย่อมยินดีกุศลที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.
๓. ออกจากฌาน. ยินดีฌาน ยินดีจักษุ ฯลฯ ยินดีโผฏฐัพพายตนะ
ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เพราะปรารภกุศล
เป็นต้นนั้น ราคะ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๖๗๙] ๕. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๖๘๐] ๖. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ๑. พระอริยบุคคลออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค พิจารณา
ผล พิจารณานิพพาน.
๒. นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่อาวัชชนะ ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๓. พระอริยบุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็น
อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 295
๔. ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริย-
ญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๖๘๑] ๑. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
๑. บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำราคะนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
ราคะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
๒. บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำทิฏฐินั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นทำทิฏฐินั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ
ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๖๘๒] ๒. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่อธิปติธรรมที่เป็นสังกิ-
ลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 296
[๑๖๘๓] ๓. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของ
อธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็น
สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๖๘๔] ๔. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศล
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา.
๒. กระทำกุศลนั้นสั่งสมไว้ดีแล้วในกาลก่อนให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่น แล้วพิจารณา.
๓. ออกจากฌานแล้ว กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
แล้วพิจารณา.
๔. พระเสกขะ กระทำโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว
พิจารณา, กระทำโวทานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๖๘๕] ๕. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 297
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
๑. บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ย่อมยินดี ย่อม
เพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ
กุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
๒. บุคคลกระทำกุศลที่สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อนให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง.
๓. บุคคลออกจากฌานแล้ว กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่นแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง.
๔. บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิง เพราะกระทำจักษุให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิง เพราะกระทำโผฏฐัพพะ
ฯลฯ หทยวัตถุและขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำธรรมนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ
ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๖๘๖] ๖. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
ที่เป็น สทชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 298
[๑๖๘๗] ๗. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
๑. พระอริยบุคคลออกจากมรรค กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้ว พิจารณากระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา
กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา.
๒. นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน ด้วยอำนาจของอธิปติ-
ปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๖๘๘] ๘. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรมและอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจ
ของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 299
๔. อนันตรปัจจัย
[๑๖๘๙] ๑. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๖๙๐] ๒. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๖๙๑] ๓. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย,
อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน อาวัชชนะเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๖๙๒] ๔. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 300
คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๖๙๓] ๕. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค, โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค, อนุโลม
เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ, เนวสัญญานาสัญญายตนะของผู้ออกจากนิโรธ เป็น
ปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
[๑๖๙๔] ๖. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล ผลเป็นปัจจัยแก่ผล ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
[๑๖๙๕] ๗. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 301
๕. สมนันตรปัจจัย ฯลฯ ๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๑๖๙๖] ๑. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย๑ ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย๒ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย๓
ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย๔ ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย๕
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลอาศัยราคะ ย่อมฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์, อาศัยโทสะ ย่อมฆ่า
สัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์, ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ
แก่ความปรารถนาด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
ปาณาติบาตเป็นปัจจัยแก่ปาณาติบาต ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
ฯลฯ นิยตมิจฉาทิฏฐิเป็นปัจจัยแก่นิยตมิจฉาทิฏฐิด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๖๙๗] ๒. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะแล้วให้ทาน
สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม ยังฌาน วิปัสสนา อภิญญา สมาบัติ ให้เกิด
อาศัยความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด.
๑. มี ๗ วาระ, ๒. มี ๙ วาระ ๓. มี ๓ วาระ ๔. มี ๑๓ วาระ ๕. มี ๘ วาระ (ดูข้อ ๑๗๔๘
ข้างหน้า)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 302
ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา แก่ความสุขทางกาย
แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
บุกคลฆ่าสัตว์แล้ว ย่อมให้ทานสมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม ยังฌาน
วิปัสสนา อภิญญา และสมาบัติให้เกิด เพื่อลบล้างบาปกรรมนั้น ฯลฯ บุคคล
ทำลายสงฆ์แล้ว ย่อมให้ทาน สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม เพื่อต้องการลบล้าง
บาปกรรมนั้น.
อกุศลกรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๖๙๘] ๓. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. บุคคลอาศัยราคะแล้ว ยังมรรคให้เกิด เข้าผลสมาบัติ, อาศัยโทสะ
ฯลฯ ความปรารถนา ยังมรรคให้เกิด เข้าผลสมาบัติ.
๒. ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผลสมาบัติ
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๖๙๙] ๔. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ยังสมาบัติให้เกิด อาศัยศีล สุตะ
จาคะ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เสนาสนะ ย่อมให้
ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิด.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 303
๒. ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา สุขทางกา ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๓. กุศลกรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๔. บริกรรมแห่งปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน ฯลฯ อากิญจัญ-
ญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ
[๑๗๐๐] ๕. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว ก่อมานะ ถือทิฏฐิ, อาศัยศีล ฯลฯ
เสนาสนะ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
๒. ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ แก่ความ
ปรารถนาด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๓๐๑] ๖. อสังกิเลฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกรรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ.
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ฯลฯ ทุติยมรรค
ฯลฯ ตติยมรรค ฯลฯ จตุตถมรรค ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 304
[๑๗๐๒] ๗. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค
๒. ทุติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ตติยมรรค
๓. ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค
๔. มรรค๑ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๗๐๓] ๘. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
๑. พระอริยบุคคล อาศัยมรรค ยังสมาบัติที่ยังไม่เกิด ให้เกิด เข้า
สมาบัติที่เกิดแล้ว พิจารณาเห็นสังขาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา.
๒. มรรคเป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา ธัมมปฏิสัมภิทา นิรุตติ-
ปฏิสัมภิทา ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ความฉลาดในฐานะและอฐานะของพระอริยเจ้า
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๓. ผลสมาบัติ เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
๑. บาลีเป็น จตุตฺโถ มคฺโค, คำว่า จตุตฺโถ เกินมา ในทีนี้จึงแปลเฉพาะค่าว่า มคฺโค.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 305
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๑๗๐๔] ๑. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
๑. บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา พิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง กลิ่น รส
โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.
๒. เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ.
๓. ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
๔. รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
๑. จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๒. หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๗๐๕] ๒. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 306
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักษุ เพราะปรารภจักษุนั้น
ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น. ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งโสตะ ฯลฯ
โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส
ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๗๐๖] ๓. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๑๗๐๗] ๑. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 307
[๑๗๐๘] ๒. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๗๐๙] ๓. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๑๗๑๐] ๑. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐ-
สังเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๑๗๑๑] ๒. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ ฯลฯ อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู, อนุโลม
เป็นปัจจัยแก่โวทาน ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 308
[๑๗๑๒] ๓. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๑๗๑๓] ๑. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๗๑๔] ๒. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดพร้อม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมเป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และ
กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 309
[๑๗๑๕] ๓. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจ
ของกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๗๑๖] ๔. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิสิกธรรมเป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์ และ
กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๗๑๗] ๕. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 310
เจตนาที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็น
อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๗๑๘] ๖. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๑๗๑๙] ๗. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจ
ของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
๑๔. วิปากปัจจัย
[๑๗๒๐] ๑. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 311
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์๓ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๒.
ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
[๑๗๒๐] ๒. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
[๑๗๒๒] ๓. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
[๑๗๒๓] ๔. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจ
ของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 312
๑๕. อาหารปัจจัย
[๑๗๒๔] ๑. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ.
[๑๗๒๕] ๔. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย. ในปฏิสนธิขณะ๑ ฯลฯ
กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย ฯลฯ.
[๑๗๒๖] ๕. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ.
๑๖. อินทริยปัจจัย
[๑๗๒๗] ๑. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ.
๔. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๑. ฯลฯ ดูข้อ ๑๖๗๑
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 313
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย. รูปชีวิตินทรีย์ เป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
๕. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม มี ๓ วาระ.
๑๗. ฌานปัจจัย
๑๘. มัคคปัจจัย
๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
[๑๗๒๘] ๑. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจ
ของมัคคปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
[๑๗๒๙] ๑. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดพร้อม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
๑. ๒. มี ๗ วาระ, ๓. มี ๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 314
ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่
เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๗๓๐] ๒. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิด
พร้อม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้ง
หลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจ
ของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม
ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
[๑๗๓๑] ๓. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 315
มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๗๓๒] ๔. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๑๗๓๓] ๕. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรมที่เกิด
พร้อม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ทีเป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม
ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๑๗๓๔] ๑. สังกิลิฏิฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 316
[๑๗๓๕] ๒. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดพร้อม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่
เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๗๓๖] ๓. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๗๓๗] ๔. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 317
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา, พิจารณาเห็นโสตะฯลฯ กายะ รูป ฯลฯ โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ โดย
ความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.
เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ.
หทยวัตถุที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย
แก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๗๓๘] ๕. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 318
มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ เพราะปรารภจักษุนั้น
ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งหทยวัตถุ
ฯลฯ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย.
[๑๗๓๙] ๖. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๑๗๔๐] ๗. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.
[๑๗๔๑] ๘. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม
ที่เกิดพร้อมเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 319
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม
ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
[๑๗๔๒] ๙. อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.
[๑๗๔๓] ๑๐. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสัง-
กิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่างคือ ที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรมที่เกิด
พร้อมและมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรมที่เกิดภายหลังและกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็น
อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดภายหลังและรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 320
[๑๗๔๔] ๑๑. อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสัง-
กิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย.
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรมที่เกิดพร้อมและหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.
[๑๗๔๕] ๑๒. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสัง-
กิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดพร้อมและหทยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ ๒ ฯลฯ
[๑๗๔๖] ๑๓. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสัง-
กิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และ
รวมกับ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิด
พร้อม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 321
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่
เกิดภายหลัง และกวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิด
ภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
๒๒. นัตถิปัจจัย
[๑๗๔๗] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย๑ ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจ
ของวิคตปัจจัย๒ ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย๓.
สุทธมูลกนัย
[๑๗๔๘] ในเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๘ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ
ในกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ ในอาหารปัจจัย
มี ๗ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๗ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๗ วาระ ใน
มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี
๑. ๒. มี ๗ วาระ เหมือนอนันตรปัจจัย ๓. มี ๑๓ วาระ เหมืนอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 322
๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย
มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
เหตุสภาคะ
[๑๗๔๙] เพราะเหตุปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๔ วาระ . . . ใน
สหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย
มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๔ วาระ ใน
มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี
๓ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
เหตุฆฏนา
[๑๗๕๐] ปัจจัย ๕ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ และอวิคต-
ปัจจัย มี ๗ วาระ.
ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ อัตถิ และ
อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ สัมปยุตตะ
อัตถิและอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ.
ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ และอวิคต-
ปัจจัย มี ๔ วาระ.
ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ อัตถิ
และอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 323
ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ สัมปยุตตะ
อัตถิ และอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ
อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ.
ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาตะ อัญญมัญญะ นิสสยะ วิปากะ
วิปปยุตตะ อัตถิ และอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
ในกุสลติกะให้พิสดารแล้ว อย่างไร พึงให้พิสดารอย่างนั้น.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
กรยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ
[๑๗๕๑] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๑๗๕๒] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจ
ของกัมมปัจจัย.
[๑๗๕๓] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐ-
อสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 324
[๑๗๕๔] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย.
[๑๗๕๕] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจ
ของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย ฯลฯ เป็น
ปัจจัยด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอินทริย-
ปัจจัย.
[๑๗๕๖] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐ-
สังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ ด้วยเป็นปัจจัย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๗๕๗] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐ-
อสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๑๗๕๘] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 325
[๑๗๕๙] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๑๗๖๐] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสัง-
กิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย.
[๑๗๖๑] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสัง-
กิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ, ปัจจาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ
[๑๗๖๒] อสังกิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสัง-
กิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
[๑๗๖๓] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิก-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม
มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
[๑๗๖๔] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิก-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 326
มี ๓ อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ
และรวมกับ อินทริยะ.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
สุทธมูลกนัย
[๑๗๖๕] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๔ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย
มี ๑๐ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอา-
เสวนปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี
๑๔ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑๔ วาระ
ในนฌานปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในนสัมปยุตต-
ปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๘ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี
๘ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๑๔ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๑๔ วาระ ใน
โนอวิคตปัจจัย มี ๘ วาระ.
เพราะนเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๔ วาระ ฯลฯ การนับ
ปัจจยนียะ ในกุสลติกะอย่างไร ในสังกิลิฏฐติกะ ก็พึงนับอย่างนั้น.
ปัจจนียะ จบ
อนุโลมปัจจนียะ
[๑๗๖๖] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ. . . ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย
มี ๗ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย ในนปุเร-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 327
ชาตปัจจัย ฯลฯ ในนปัจฉาชาตปัจจัย ในนอาเสวนปัจจัย ในนกัมมปัจจัย
ในนวิปากปัจจัย ในนอาหารปัจจัย ในนอินทริยปัจจัย ในนฌานปัจจัย (แต่
ละปัจจัย) มี ๗ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี
๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ
ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
เพราะปัจจัย ๕ คือ เหตุ สหชาตะ นิสสยะ อัตถิ อวิคตปัจจัย
ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ.
การนับวาระในอนุโลมปัจจนียะ ในกุสลติกะได้จำแนกไว้แล้วอย่างไร
ในติกะนี้ ก็พึงจำแนกอย่างนั้น
อนุโลมปัจจนียะ จบ
ปัจจนียานุโลม
[๑๗๖๗] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๖ วาระ...ใน
อธิปติปัจจัย มี ๘ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๗ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๘ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ วาระในปุจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๔ วาระ ในอาหารปัจจัย อินทริย
ปัจจัย ฌานปัจจัย มัคคปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย
มี ๓วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ ในนัตถิ
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 328
เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ในอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ
ฯลฯ.
การนับวาระในปัจจนียานุโลม ในกุสลติกะ ได้จำแนกไว้แล้วอย่างไร
ในที่นี้ก็พึงจำแนกอย่างนั้น.
ปัจจนียานุโลม จบ
สังกิลิฏฐติกะที่ ๕ จบ
อนุโลมติกปัฏฐาน ตอนต้น จบ๑
อรรถกถาสังกิลิฏฐติกะ
คำทั้งหมดใน สังกิลิฏฐสังกิเลสติกะ ผู้ศึกษาพึงทราบตามแนว
แห่งนัยที่กล่าวแล้วในกุสลติกะ.
อรรถกถาสังกิลิฏฐติกะ จบ
๑. จบบาลีเล่ม ๔๐ เพียงติกะที่ ๕
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 329
๖. วิตักกติกะ๑
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิด
ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น, ขันธ์
๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๒. อวิตักกวจารมัตตธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ วิตก อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ วิตก อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น.
๓. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิด
ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
เกิดขึ้น.
๑. บาลีเล่มที่ ๔๑
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 330
[๒] ๔. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม อาศัย
สวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจาร
ธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๕. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ วิตก และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ วิตกและกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรมเกิดขึ้น.
๖. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และวิตก อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และวิตก อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๓] ๗. สวิตักกสวิจารธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ
ปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 331
คือ ขันธ์ ๓ วิตก และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ วิตก และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ วิตก และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ วิตก และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์
๒ เกิดขึ้น.
[๔] ๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรมเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๙. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยวิตก เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยวิตก เกิดขึ้น.
๑๐. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ วิจารและจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันที่เป็นอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรมเกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตก เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 332
ในปฏิสนธิขณะ วิจารและกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิตก เกิดขึ้น.
[๕] ๑๑. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม อาศัย
อวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตก
เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และกฏัตตารูป อาศัย
วิตก เกิดขึ้น.
๑๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือขันธ์ ๓ วิจารและจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ วิจารและจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ วิจารและกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อวิตักกวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ วิจาร และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น.
[๖] ๑๓. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 333
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจาร-
ธรรมเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น, จิตต-
สมุฏฐานรูป อาศัยวิจาร เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักก-
อวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิจาร เกิดขึ้น, หทยวัตถุ อาศัย
ขันธ์ทั้งหลายเกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น หทยวัตถ อาศัย
วิจารเกิดขึ้น, วิจารอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูปเกิด ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
และกฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย เกิดขึ้น.
๑๔. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น.
๑๕. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยวิจาร เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยวิจาร เกิด
ขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 334
ในปฏิสนธิขณะ วิตก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
[๗] ๑๖. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม อาศัย
อวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น, กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
๑๗. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย
วิจารเกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และกฏัตตารูป
อาศัยวิจาร เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น, กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ วิตก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น กฏัตตารูป อาศัย
มหาภูตรูปเกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร อาศัย
หทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๑๘. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกอวิจารธรรม และวิตก อาศัย
หทยวัตถุ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 335
[๘] ๑๙. สวิตักกสวิจารธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ-
ปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก อาศัย
หทยวัตถุ เกิดขึ้น, กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
[๙] ๒๐. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯสฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๒๑. อวิตักกวิจารมัตตธรร อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิตก อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
หทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๒๒. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัย สวิตักกสวิจารธรรม และ
อวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
มหาภูตรูป เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
มหาภูตรูป เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 336
[๑๐] ๒๓. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัย วิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
๒๔. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิตก อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
หทยวัตถุ เกิดขึ้น กฏัตตารูป อาศัยขันธ์เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และมหา-
ภูตรูป เกิดขึ้น.
๒๕. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และวิตก อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก อาศัยขันธ์ ๒
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
[๑๑] ๒๖. สวิตักกวิจารธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจาร
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 337
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และวิตก อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก อาศัยขันธ์ ๒
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
มหาภูตรูป เกิดขึ้น.
[๑๒] ๒๗. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยวิตกและ
หทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๒๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมและวิจาร เกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิจาร เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิจาร เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิจาร เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๒๙. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 338
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
วิจาร เกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
มหาภูตรูป เกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตกและมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิจาร เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิตกและมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ วิจาร อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมและ
หทยวัตถุ เกิดขึ้น.
[๑๓] ๓๐. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้นเพราะ
เหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยวิตก
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น, กฏัตตารูป อาศัยวิตกและมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
๓๑. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 339
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และวิจาร เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์
๒ และวิจาร เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และวิจาร เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์
๒ และวิจาร เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และวิจาร อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจาร อาศัยขันธ์ ๒
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
[๑๔] ๓๒. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เกิด
ขึ้น. ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิตก เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
วิตก เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิตก เกิดขึ้น.
๓๓. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก
เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกวิจารธรรม และ
วิตก เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 340
[๑๕] ๓๔. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรมและวิตก เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ และ
วิตก เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และวิตก เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒
และวิตก เกิดขึ้น.
[๑๖] ๓๕. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัย สวิตักกสวิจารธรรม
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย.
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ วิตกและหทยวัตถุ เกิดขึ้น
๓๖. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกวิจารธรรม
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม วิตกและ
มหาภูตรูป เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 341
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
วิตก และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
[๑๗] ๓๗. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักก-
อวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
วิตกและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ วิตก และหทยวัตถุ เกิด
ขึ้น, ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ วิตก และหทยวัตถุ เกิดขึ้น. กฏัตตารูป อาศัย
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม วิตก และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๘] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิด
ขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัย สวิตักกสวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ วิตก อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 342
[๑๙] ๓. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และวิตก อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๒๐] ๔. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๕. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัย อวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยวิตก เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๖. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ วิจาร อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๒๑] ๗. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 343
คือ ขันธ์ ๓ และวิจาร อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น ฯสฯ ขันธ์ ๒ และวิจาร อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๒๒] ๘. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัย อวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น, วิจาร อาศัย
หทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๙. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น.
๑๐. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยวิจาร เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยวิจารเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 344
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ วิตก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
[๒๓] ๑๑. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร
อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๑๒. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก อาศัย
หทยวัตถุ เกิดขึ้น.
[๒๔] ๑๓. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุเกิดขึ้น.
๑๔. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิตก อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
หทยวัตถุ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 345
[๒๕] ๑๕. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
อาศัย สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และวิตก อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก อาศัยขันธ์ ๒
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
[๒๖] ๑๖. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารสมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยวิตก และ
หทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๑๗. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม และ อวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิจาร เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิจาร เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิจาร เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๑๘ อวิตักกวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 346
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิจาร อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัคคธรรม
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
[๒๗] ๑๙. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และวิจาร อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจาร อาศัย
ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
[๒๘] ๒๐. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิตก เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒๑. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
วิตก และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ วิตกและหทยวัตถุ
เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 347
ปัจจัย ๒ จำแนกแล้ว โดยวิธีสาธยาย ปัจจัย ๒๐ ที่เหลือ พึงจำแนก
โดยวิธีนั้น.
วิปปยุตตปัจจัย
[๒๙] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมเกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัย สวิตักกสวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ วิตก อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้ง
หลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๓. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น,
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 348
[๓๐] ๔. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๕. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ วิตกและจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
เกิดขึ้น วิตก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย, จิตตสมุฏฐาน-
รูปอาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๖. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และวิตก อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เกิด
ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทย-
วัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 349
[๓๑] ๗. สวิตักกสวิจารธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ วิตก และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม เกิดขึ้น, ฯลฯ ขันธ์ ๒ วิตก และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒
เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลาย และวิตก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๓๒] ๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๙. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยวิตก เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย
อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 350
๑๐. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ วิจาร และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม เกิดขึ้น, วิจาร อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย, จิตต-
สมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปยุตตปัจจัย, จิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยวิตก เกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตก เกิดขึ้น, วิตก เกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๓๓] ๑๑. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตก
เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย, จิตต-
สมุฏฐานรูป อาศัยวิตก เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๑๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ วิจาร และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ วิจาร และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น. ขันธ์ทั้งหลาย และวิจาร อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น จิตต-
สมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 351
[๓๔] ๑๓. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจาร-
ธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทย-
วัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย
เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิจาร เกิดขึ้น จิตต-
สมุฏฐานรูป อาศัยวิจาร เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กฏัตตารูป อาศัยวิจาร เกิดขึ้น, กฏัตตารูป
อาศัยวิจาร เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย, หทยวัตถุ
อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
หทยวัตถุ อาศัยวิจาร เกิดขึ้น, วิจาร อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น,
วิจารอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย, หทยวัตถุ อาศัยวิจาร
เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป
กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๑๔. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 352
๑๕. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยวิจาร เกิดขึ้น, ขันธ์
ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น. เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยวิจาร เกิด
ขึ้น, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ วิตก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น, วิตก อาศัยหทย-
วัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
[๓๕] ๑๖. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น, กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย, กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย.
๑๗. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย
วิจาร เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิจาร เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และกฏัตตารูป
อาศัยวิจาร เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย, กฏัตตารูป อาศัยวิจาร เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 353
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมิตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น, เพราะวิปปยุตตปัจจัย, กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ วิตก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น, กฏัตตารูป อาศัย
มหาภูตรูป เกิดขึ้น, วิตก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร อาศัย
หทยวัตถุ เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย.
๑๘. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก อาศัย
หทยวัตถุ เกิดขึ้น, ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
[๓๖] ๑๙. สวิตักกสวิจารธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก อาศัย
หทยวัตถุ เกิดขึ้น, กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลาย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 354
และวิตก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย กฏัตตารูป อาศัย
ขันธ์ทั้งหลายเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
[๓๗] ๒๐. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย.
๒๑. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิตก อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
หทยวัตถุ เกิดขึ้น วิตก อาศัยหทยวัทถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๒๒. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
มหาภูตรูป เกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๓๘] ๒๓. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 355
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น,
กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และมหาภูตรูป เกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๒๔. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิตก อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
หทยวัตถุ เกิดขึ้น กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
มหาภูตรูป เกิดขึ้น, วิตก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น กฏัตตารูป อาศัยขันธ์
ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๒๕. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และวิตก อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักก-
วิจารธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก อาศัยขันธ์ ๒
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลาย และวิตก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 356
[๓๙] ๒๖. สวิตักกสวิจารธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจาร-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และวิตก อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก อาศัยขันธ์ ๒
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น, กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรม และมหาภูตรูป เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลายและวิตก อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย. กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย.
[๔๐] ๒๗. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยวิตก และ
หทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย.
๒๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 357
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิจาร เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทย-
วัตถุเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุ. ขันธ์ทั้งหลาย
อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๒๙. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
วิจารเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายและ-
วิจาร เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และมหาภูตรูปเกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์
ทั้งหลายเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตกและมหาภูต
รูป เกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตก เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และวิจาร เกิดขึ้น, กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย และวิจาร
เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และมหาภูตรูป เกิดขึ้น กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิตก และมหาภูตรูป เกิดขึ้น,
กฏัตตารูป อาศัยวิตก เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 358
ในปฏิสนธิขณะ วิจาร อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
หทยวัตถุ เกิดขึ้น, วิจาร อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
[๔๑] ๓๐. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัย อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยวิตก และ
หทยวัตถุ เกิดขึ้น. กฏัตตารูป อาศัยวิตก และมหาภูตรูป เกิดขึ้น, ขันธ์
ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น กฏัตตารูป อาศัยวิตก เกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย.
๓๑. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรมเกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และวิจาร เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย และวิจาร เกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และวิจาร เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิด
ขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย และวิจาร
เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 359
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น, ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ ฯลฯ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และมหาภูตรูป เกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลายอาศัย หทยวัตถุ
เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย, กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย เกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และวิจาร อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรมและ หทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจารอาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
หทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
[๔๒] ๓๒. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เกิดขึ้น
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิตก เกิดขึ้น ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย.
๓๓. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก
เกิดขึ้น, จิตตสมุฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายและวิตกเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตต-
ปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายและวิตกเกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 360
[๔๓] ๓๔. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรม และวิตกเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัย
หทยวัตถุเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย
และวิตก เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายและวิตก เกิดขึ้น เพราะวิปป-
ยุตตปัจจัย.
[๔๔] ๓๕. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
วิตก และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ทั้งหลาย
อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
๓๖. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกวิจารธรรม
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกวิจารธรรม วิตก และ
มหาภูตรูป เกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลาย และวิตก เกิดขึ้น
เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายและวิตก เกิด
ขึ้น เพราะวิปปยุตตเป็นปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 361
[๔๕] ๓๗. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักก-
อวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
วิตก และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ กฏัตตารูป
อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม วิตก และมหาภูตรูป เกิดขึ้น, ขันธ์
ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย, กฏัตตารูป อาศัยขันธ์
ทั้งหลายและวิตกเกิดขึ้น เพราะวิปปยุตตปัจจัย.
[๔๖] สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น
เพราะอัตถิปัจจัย ฯลฯ เพราะนัตถิปัจจัย ฯลฯ เพราะวิคตปัจจัย ฯลฯ
เพราะอวิคตปัจจัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมแห่งปฏิจจวาระ
สุทธมูลกนัย
[๔๗] ในเหตุปัจจัย มี ๓๗ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๒๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในสมนันตร-
ปัจจัย มี ๒ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓๗ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี
๒๘ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓๗ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ใน
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในกัมมปัจจัย
มี ๓๗ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๓๗ วาระ ในอาหารปัจจัย ในอินทริยปัจจัย
ในฌานปัจจัย ในมัคคปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๓๗ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 362
๒๐ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓๗ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓๗ วาระ ใน
นัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓๗
วาระ.
เพราะเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ ฯลฯ
ในกุสลติกะท่านนับไว้อย่างไร ในติกะนี้ พึงนับอย่างนั้น.
อนุโลมนัย จบ
ปัจจนียนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๔๘] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัย วิตักกสวิจารธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ๑ ฯลฯ
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เกิดขึ้น.
๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ วิตก อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิด
ขึ้น
ข้อความต่อจากนี้ขาดไป ข้อความเต็มเป็น ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่
เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น, ขันธ์ ๒
อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น. (ดูข้อความเต็มทำนองนี้จากข้อ ๖๒)
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 363
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๓. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ซึ่งเป็น
อเหตุกะ เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๔๙] ๔. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม อาศัย
สวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย
ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๕. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ วิตก และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๖. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 364
คือ ขันธ์ ๓ และวิตก อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ซึ่ง
เป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๕๐] ๗. สวิตักกสวิจารธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุ-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ วิตก และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น ฯลฯ
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๕๑] ๘. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยวิตก ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิด
ขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยวิตก
เกิดขึ้น.
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยวิตก ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เกิดขึ้น.
๙. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 365
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตก ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิตก เกิดขึ้น.
[๕๒] ๑๐. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตก
ซึ่งเป็นอเหตุกะ เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และกฏัตตา-
รูป อาศัยวิตก เกิดขึ้น.
[๕๓] ๑๑. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ
เกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น, ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป
กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น พาหิรรูป . . .อาหาร-
สมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ กฏัตตา-
รูปที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
๑๒. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 366
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัย
หทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๑๓. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ วิตก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
[๕๔] ๑๔. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัย
หทยวัตถุ เกิดขึ้น, กฏัตตารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
[๕๕] ๑๕. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารว้จารธรรม
อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ วิตก อาศัย หทยวัตถุ เกิดขึ้น, กฏัตตารูป
อาศัมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
๑๖. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก
อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 367
[๕๖] ๑๗. สวิตักกสวิจารธรรม อวิตักกอวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก
อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น. กฎัตตารูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
[๕๗] ๑๘. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ
เกิดขึ้น.
๑๙. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ วิตก อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๒๐. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ซึ่งเป็น
อเหตุกะ และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรม และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 368
[๕๘] ๒๑. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ
เกิดขึ้น, กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และมหาภูตรูป เกิด
ขึ้น.
๒๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ วิตก อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
และหทัยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๒๓. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
อาศัยสวิตักกวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และวิตก อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ วิตก อาศัยขันธ์
๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
[๕๙] ๒๔. สวิตักกสวิจารธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจาร-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 369
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และวิตก อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น, ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก อาศัย
ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น, กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรม และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
[๖๐] ๒๕. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัย
วิตก และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๒๖. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตก ซึ่งเป็นอเหตุกะ และมหาภูตรูป
เกิดขึ้น, ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิตก และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
[๖๑] ๒๗. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัย อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัย
วิตก และหทยวัตถุ เกิดขึ้น, กฏัตตารูป อาศัยวิตก และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 370
[๖๒] ๒๘. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัย สวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ
และ วิตก เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิตก เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรม และวิตก เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิตก เกิดขึ้น.
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และวิตก เกิดขึ้น.
๒๙. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ซึ่งเป็น
อเหตุกะและวิตก เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๖๓] ๓๐. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรมซึ่งเป็นอเหตุกะ และวิตก เกิดขึ้น, ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐาน-
รูป อาศัยขันธ์ ๒ และวิตก เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 371
[๖๔] ๓๑. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม วิตก และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ วิตก
และ หทยวัตถุ เกิดขึ้น.
๓๒. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรมเกิดขึ้น เพราะนเหตุ
ปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ซึ่งเป็น
อเหตุกะ วิตก และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๖๕] ๓๓. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรมและอวิตักกอวิจาร-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม วิตก และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ วิตก
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น, กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม วิตก
และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 372
๒. นอารัมมณปัจจัย
[๖๖] ๑. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
เกิดขึ้น.
[๖๗] ๒. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิด
ขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตก เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยวิตก เกิดขึ้น.
[๖๘] ๓. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิจาร เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น กฏัตตารูป อาศัยวิจาร เกิดขึ้น, หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย
เกิดขึ้น, หทยวัตถุ อาศัยวิจาร เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 373
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ.
พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป . . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ (มหาภูตรูป ๓) อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
[๖๙] ๔. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และ
อวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และมหา-
ภูตรูป เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
มหาภูตรูป เกิดขึ้น.
[๗๐] ๕. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และ อวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
วิจารเกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารธรรม และ
มหาภูตรูปเกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตก และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิจาร ฯลฯ.
[๗๑] ๖. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และ
อวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 374
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก
เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๗๒] ๗. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม วิตก
และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป ฯลฯ.
๓. นอธิปติปัจจัย
[๗๓] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย ฯลฯ มี๗ วาระ.
[๗๔] ๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตต
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น, ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เกิดขึ้น ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 375
๙. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยวิตก เกิดขึ้น
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๑๐. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ วิจาร และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เกิดขึ้น.
๑๑. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตก
เกิดขึ้น.
๑๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ วิจาร และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เกิดขึ้น.
[๗๕] ๑๓. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักก-
อวิจารธรรม เกิดขึ้น, ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ซึ่ง
เป็นวิบาก เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 376
๑๔. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น.
๑๕. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยวิจาร เกิดขึ้น
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยวิจาร ซึ่งเป็นวิบาก เกิดขึ้น.
อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม มี ๗ วาระ.
[๗๖] ๑๖. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ มี ๗ วาระ.
๑๗. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
๑๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัย ฯลฯ เกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เกิดขึ้น, ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และวิจาร ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 377
๔. นอนันตรปัจจัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปัจจัย
[๗๗] อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญ-
มัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย ฯลฯ เหมือนกับนอารัมมณปัจจัย.
๘. นปุเราชาตปัจจัย
[๗๘] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ.
[๗๙] ๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ
๙. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยวิตก เกิดขึ้น
ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๑๐. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ วิจาร อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิด
ขึ้น. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น.
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตก เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 378
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๑๑. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และกฏัตตารูป
อาศัยวิตก เกิดขึ้น.
๑๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกอวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ และวิจาร อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๘๐] ๑๓. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม
ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น, จิตต-
สมุฏฐานรูป อาศัยวิจาร เกิดขึ้น ฯลฯ. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๑๔. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น.
๑๕. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 379
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยวิจาร เกิด
ขึ้น, ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๘๑] ๑๖. อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจาร-
ธรรม ฯลฯ มี ๗ วาระ (วาระที่ ๑๖-๒๒)
๒๓. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิจาร เกิดขึ้น ฯลฯ. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๒๔. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ในที่มีนปุเรชาตปัจจัยเป็นมูล ที่เป็นสุทธิกอรูปภูมิ
กระทำอย่างไร อรูปภูมิทั้งหลาย พึงกระทำอย่างนั้น.
๙. นปัจฉาชาตปัจจัย ๑๐. นอาเสวนปัจจัย
[๘๒] อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ
[๘๓] อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 380
๑๑. นกัมมปัจจัย
[๘๔] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรมเกิด
ขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรม เกิดขึ้น.
[๘๕] ๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น.
๓. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัย อวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยวิตก เกิดขึ้น.
[๘๖] ๔. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัย อวิตักกอวิจารธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจาร-
ธรรม เกิดขึ้น. พาหิรรูป . . . อาหารสมุฏฐานรูป . . . อุตุสมุฏฐาน ฯลฯ อาศัย
มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 381
๕. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยวิจาร เกิดขึ้น.
[๘๗] ๖. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรมและอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และวิจาร เกิดขึ้น.
[๘๘] ๗. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรม และวิตก เกิดขึ้น.
๑๒. นวิปากปัจจัย ฯลฯ ๑๗. นสัมปยุตตปัจจัย
[๘๙] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะนวิปากปัจจัย ฯลฯ เพราะนอาหารปัจจัย ฯลฯ
คือ พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
เพราะนอินทริยปัจจัย ฯลฯ
คือ พาหิรรูป. . . อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป. ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 382
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น ฯลฯ
เพราะนฌานปัจจัย ฯลฯ
คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณ ฯลฯ พาหิรรูป. . .
อาหารสมุฏฐานรูป . . . อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ
(ในหมวด นอาเสวนปัจจัย เป็นมูล พึงทำให้เหมือนกับ นปุเรชาต-
ปัจจัย โดยประกอบอวิตักกวิจารมัตตธรรมเข้ากับวิบาก อีกประการหนึ่ง พึง
แสดงวิบาก โดยประกอบอวิตักกวิจารมัตตธรรม กับอวิตักกวิจารมัตตธรรม)
เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ.
๑๘. นวิปปยุตตปัจจัย
[๙๐] ๑. ฯลฯ เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ฯลฯ
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ วิตก อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น.
๓. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
อาศัยสวิตักกวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ และวิตก อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 383
[๙๑] ๔. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
๕. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยวิตก เกิดขึ้น.
๖. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ วิจาร อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น.
๗. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ และวิจาร อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจาร อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
[๙๒] ๘. อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น.
พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 384
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
๙. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยวิจาร
เกิดขึ้น.
[๙๓] ๑๐. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรมและอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิจาร เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิจาร เกิดขึ้น.
[๙๔] ๑๑. สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
และอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย
คือ ในอรูปภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
และวิตก เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิตก เกิดขึ้น.
๑๙. โนนัตถิปัจจัย ๒๐. โนวิคตปัจจัย
[๙๕] อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิด
ขึ้น เพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๙๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๓๓ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๓๗ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ ในนสมนันตร-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 385
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
มี ๗ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓๗ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓๗ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๒๐ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ
ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๓๗ วาระ ในนสัมปยุตต-
ปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗
วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
พึงนับจำนวนวาระเหมือนอย่างการนับในปัจจนียนัย ในกุสลติกะ
ปัจจนียนัย จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
[๙๗] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ.
พึงนับเหมือนอย่างการนับในอนุโลมปัจจนียนัย ในกุสลติกะ.
ปัจจนียานุโลมนัย
[๙๘] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑๔ ฯลฯ
พึงนับเหมือนอย่างการนับในปัจจนียานุโลมนัย ในกุสลติกะ.
ปฏิจจวาระ จบ
แม้สหชาตวาระ ก็พึงแจกเช่นเดียวกับปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 386
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย
[๙๙] สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ฯลฯ มี ๗ วาระ.
ฯลฯ อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น มี ๕ วาระเหมือน
กับปฏิจจวาระ.
[๑๐๐] อวิตักกอวิจารธรรม อาศัย อวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจาร-
ธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูปอาศัย
วิจารเกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิด
ขึ้น. วิจาร อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 387
คือ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยวิจาร เกิดขึ้น, ขันธ์ที่
เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น, วิตก อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๑๐๑] สวิตักกสวิจารธรรม และอวิติกกอวิจารธรรม อาศัย
อวิกกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น. จิตต-
สมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิติกกอวิจารธรรม อาศัยอวิ-
ตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย
วิจารเกิดขึ้น, ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น,
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น, วิตก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น,
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัย
อวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 388
สวิตักกสวิจารธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักก-
อวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๑๐๒] สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และ
อวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และหทยวัตถุ
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
อวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และ
อวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น
คือ ในปฏิสนธิขณะ อันเป็นไปแล้วในอุทาหรณ์ต้น พึงกระทำให้
ได้ ๗ วาระ.
[๑๐๓] สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยวิตก และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
อวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ อาศัย อวิตักกวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และหทยวัตถุ
เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 389
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิจาร เกิดขึ้น ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ.
อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิ-
ตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
วิจาร เกิดขึ้น. จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และมหาภูตรูป เกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตก และมหาภูตรูป เกิด
ขึ้น, วิจารอาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ มี ๔ วาระ เหมือนอย่างนี้.
[๑๐๔] สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม อาศัย
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยวิตก และหทยวัตถุ เกิด
ขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิตก และมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม อาศัย
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และวิจาร เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจาร-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 390
มัตตธรรมและหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็น
อวิตักกวิจารธรรมและมหาภูตรูป เกิดขึ้น, ขันธ์ ๓ และวิจาร อาศัยขันธ์
๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ฯลฯ
ในกลุ่มแห่งปัจจัยทั้งสองที่เหลือ พึงแจกปวัตติและปฏิสนธิให้พิสดาร.
เหตุปัจจัย จบ
ผู้ที่เข้าใจเหตุปัจจัย พึงแจกปัจจัยวาระให้พิสดาร.
พึงนับจำนวนวาระเหมือนอย่างการนับจำนวนวาระในปฏิจจวาระ.
ในอธิปติปัจจัย มี ๓๗ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย และในอาเสวนปัจจัย
มี ๒๑ วาระ.
นี้เป็นความแปลกกัน ในปัจจัยวาระนี้.
ปัจจนียนัย
[๑๐๕] ในปัจจนียะ ในนเหตุปัจจัย มี ๓๓ วาระ, โมหะทั้ง ๗
ในฐานะทั้ง ๗ พึงยกขึ้นแสดงเฉพาะในบทที่เป็นมูล.
ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ พึงยกจิตตสมุฏฐานรูป ขึ้นแสดง.
วาระทั้ง ๗ มีสวิตักกสวิจารธรรม เป็นมูล พึงแจกกับนอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 391
[๑๐๖] อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรมที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น, ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
ซึ่งเป็นวิบาก เกิดขึ้น ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ฯลฯ อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ
พึงกระทำทั้ง ๕ วาระ เหมือนอย่างในปฏิจจวาระ.
[๑๐๗] อวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย
คือ อธิปติธรรม ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักก-
อวิจารธรรม เกิดขึ้น, ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
อวิตักกอวิจารธรรม ซึ่งเป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยวิจาร
ซึ่งเป็นวิบาก เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ อธิปติธรรมที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม อาศัยหทย-
วัตถุ เกิดขึ้น, ขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และวิจาร
อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ
สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 392
อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ
อธิปติธรรม ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยวิจาร เกิดขึ้น,
อธิปติธรรม ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น ขันธ์ที่
เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยวิจาร ซึ่งเป็นวิบาก เกิดขึ้น, ขันธ์ที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม อาศัยอวิตักก-
อวิจารธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น, จิตต-
สมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม อาศัย
อวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย
วิจาร ซึ่งเป็นวิบาก เกิดขึ้น, ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมซึ่งเป็นวิบาก
และวิจาร อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูป เกิด
ขึ้น, วิตก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูป
เกิดขึ้น, ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และวิจาร อาศัย
หทยวัตถุ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 393
สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัย
อวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก อาศัยหทยวัตถุ เกิด
ขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
กลุ่มแห่งปัจจัยที่ ๑ นี้ พึงแจกให้สมบูรณ์เป็น ๗ วาระ.
[๑๐๘] สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยวิตก และหทยวัตถุ เกิด
ขึ้น, ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
อวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
อธิปติธรรมที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และวิจาร เกิดขึ้น, อธิปติธรรมที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น, ขันธ์ ๓ อาศัย
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และวิจาร เกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และหทย-
วัตถุ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พึงแจกปัญหาวาระทั้ง ๕.
อวิตักกวิจารมัตตธรรม ย่อมมาถึงในที่ใด พึงแจกวิบากในที่นั้น
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 394
ในนอธิปติปัจจัย เป็นมูล พึงแจกวาระ ๓๗ วาระ.
นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
ในนอนันตรปัจจัยก็ดี ในนสมนันตรปัจจัยก็ดี ในนอัญญมัญญปัจจัย
ก็ดี ในนอุปนิสสยปัจจัยก็ดี มี ๗ วาระ พึงได้เฉพาะรูปเท่านั้น.
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓๗ วาระ เช่นเดียวกับปัจจนียะในปฏิจจวาระ.
ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓๗ วาระ แม้ในนอาเสวนปัจจัยก็เช่นเดียวกัน.
แม้อวิตักกวิจารมัตตธรรม ย่อมมาในที่ใด พึงแจกวิบากในที่นั้น.
นกัมมปัจจัย
[๑๐๙] สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม เกิด
ขึ้น เพราะนกัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรม เกิดขึ้น.
ฯลฯ อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ
คือ เจตนาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมอาศัย ฯลฯ
คือ เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมอาศัย ฯลฯ
อาศัยอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ
คือ เจตนาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ พึงแจกให้บริบูรณ์.
สวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ
คือ เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น ฯลฯ
อวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 395
คือ เจตนาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยวิจาร เกิดขึ้น, เจตนา
ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
[๑๑๐] สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และ
อวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรม และหทยวัตถุ ที่เกิดขึ้น.
สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
อวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ
คือ เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยวิตก และหทยวัตถุ เกิด
ขึ้น.
อวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยอวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
อวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ
คือ เจตนาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และวิจาร เกิดขึ้น, เจตนาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
อาศัยขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ฯลฯ
คือ เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรม เกิดขึ้น.
[๑๑๑] สวิตักกสวิจารธรรม อาศัยสวิตักกสวิจารธรรม
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 396
คือ เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรม วิตก และหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
[๑๑๒] ในนวิปากปัจจัย พึงแจกปัญหาวาระ ๓๗ วาระ.
เพราะนอาหารปัจจัย นอินทริยปัจจัย นฌานปัจจัย นมัคคปัจจัย นสัม-
ปยุตตปัจจัย นวิปปยุตตปัจจัย โนนคัตถิปัจจัย โนวิคตปัจจัย พึงแจกให้พิสดาร.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะเป็นต้นในปัจจยวาระ
[๑๑๓] ในนเหตุปัจจัย มี ๓๓ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ
ในนอธิปติปัจจัย มี ๓๗ วาระ.
ในนอนันตรปัจจัย ในนสมนันตรปัจจัย ในนอัญญมัญญปัจจัย ใน
นอุปนิสสยปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๗ วาระ.
ในนปุเรชาตปัจจัย ในนปัจฉาชาตปัจจัย ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓๗
วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓๗ วาระ ในนอาหาร
ปัจจัย มี ๑ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
ในนมัคคปัจจัย มี ๓๓ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี๗ วาระ ฯลฯ ในโนวิคตปัจจัย
มี ๗ วาระ.
แม้นิสสยวาระ ก็ไม่ต่างกัน (แสดงเหมือนปัจจยวาระ)
ปัจจยวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 397
สังสัฏฐวาระ
อนุโลมนัย
[๑๑๔] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เจือกับสวิตักกสวิจารธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เจือกับสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ
คือ วิตก เจือกับขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๓. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม เจือกับ
สวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และวิตกเจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๑๑๕] ๔. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เจือกับอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 398
๕. สวิตักกสวิจารธรรม เจือกับอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เจือกับวิตก เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๖. อวิตักกอวิจารธรรม เจือกับอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ
คือ วิจาร เจือกับขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม.
ในปฏิสนธิขณะ วิจาร เจือกับขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ
๗. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม เจือกับ
อวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ ๓ และวิจาร เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๘. อวิตักกอวิจารธรรม เจือกับอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๒ เกิดขึ้น. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๙. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เจือกับอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เจือกับวิจาร.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เจือกับวิจาร.
๑๐. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เจือกับอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 399
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น
ฯลฯ ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๑๑. สวิตักกสวิจารธรรม เจือกับสวิตักกสวิจารธรรม และ
อวิตักกวิจารมัตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และวิตก เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
ผู้ที่เข้าใจเหตุปัจจัย พึงแจกปัจจัยทั้งปวงให้พิศดาร.
การนับจำนวนวาระในอนุโลมในสังสัฏฐวาระ
[๑๑๖] ในเหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอารัมมณปัจจัย ในอธิปติปัจจัย
ในอนันตรปัจจัย ในสมนันตรปัจจัย ในสหชาตปัจจัย ในอัญญมัญญปัจจัย ใน
นิสสยปัจจัย ในอุปนิสสยปัจจัย ในปุเรชาตปัจจัย ในอาเสวนปัจจัย ในกัมม-
ปัจจัย ในวิปากปัจจัย ในอาหารปัจจัย ในอินทริยปัจจัย ในฌานปัจจัย ใน
มัคคปัจจัย ในสัมปยุตตปัจจัย ในวิปปยุตตปัจจัย ในอัคถิปัจจัย ในนัตถิปัจจัย
ในอวิคตปัจจัย ในทุกปัจจัย (ที่กล่าวมานี้) แต่ละปัจจัย มี ๑๑ วาระ.
อนุโลมนัย จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 400
ปัจจนียนัย
ผู้มีปัญญา พึงแจกปัจจนียะ.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะในสังสัฏฐวาระ
[๑๑๗] ในนเหตุปัจจัย มี ๖ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๑ วาระ
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนอา-
เสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี
๑๑ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๖ วาระ ใน
นวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ.
ปัจจนียนัย จบ
วาระแม้ทั้งสอง นอกนี้ (อนุโลมปัจจนียะ และปัจจนียานุโลม) ก็
พึงแจกให้พิสดาร.
แม้สัมปยุตตวาระ ก็พึงแจกให้พิสดาร.
สังสัฏฐวาระ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 401
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๑๑๘] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ด้วย
อำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๑๑๙] ๒. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัคคธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก ด้วยอำนาจ
ของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๑๒๐] ๓. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตา-
รูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 402
[๑๒๑] ๔. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๒๒] ๕. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก และจิตตสมุฏ-
ฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก
และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๒๓] ๖. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ
วิตก ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และวิตก ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 403
[๑๒๔] ๗. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม อวิตักกสวิจารมัตตธรรมและอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจ
ของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ วิตก
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ วิตก และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๒๕] ๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๒๖] ๙. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิจาร และจิตต-
สมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิจาร
และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 404
[๑๒๗] ๑๐. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
วิจารและจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ วิจาร แสะกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๑๒๘] ๑๑. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัม-
ปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
๒. อารัมมณปัจจัย
[๑๒๙] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ครั้นกระทำแล้ว
ย่อมพิจารณากุศลกรรมนั้น บุคคลพิจารณากุศลกรรมที่ตนสั่งสมไว้ในกาลก่อน.
บุคคลออกจากฌานที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมออกจากมรรค ฯลฯ ออก
จากผล แล้วพิจารณาผล.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 405
พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว, พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว,
รู้กิเลสที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง
เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น เพราะปรารภขันธ์ที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๓๐] ๒. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม แล้วพิจารณา
กุศลกรรมนั้น เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น วิตก ย่อมเกิดขึ้น, พิจารณากุศล
กรรมที่ตน ได้สั่งสมไว้ในกาลก่อน ฯลฯ.
บุคคลออกจากฌานที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค
ฯลฯ ออกจากผล แล้วพิจารณาผล เพราะปรารภกุศลนั้น วิตก ย่อมเกิดขึ้น
พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว,
รู้กิเลสที่เคยเกิดแล้วในก่อน, พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลิน
ยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น วิตก ย่อมเกิดขึ้น, เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นสวิ-
ตักกสวิจารธรรม วิตก ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๓๑] ๓. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 406
คือ บุคคลย่อมรู้จิต ของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพ-
เพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจ
ของอารัมมณปัจจัย.
เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจาร-
ธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๓๒] ๔. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบถสกรรม แล้วพิจารณา
กุศลกรรมนั้น เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
วิตก ย่อมเกิดขึ้น, พิจารณากุศลกรรมที่ตนสั่งสมไว้ในก่อน, ออกจากฌานที่
เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค ฯลฯ ออกจากผล แล้วพิจารณาผล,
เพราะปรารภกุศลนั้น ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว. พิจารณากิเลสที่ข่ม
แล้ว, รู้กิเลสที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน, พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, ย่อมยินดี ย่อม
เพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ย่อม
เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 407
เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิ-
จารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๓๓] ๕. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลออกจากฌาน ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ออก
จากมรรค ฯลฯ ออกจากผล พิจารณาผล เพราะปรารภฌานเป็นต้นนั้น วิตก
ย่อมเกิดขึ้น.
พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิตก โดยความ
เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะ
ปรารภขันธ์นั้น วิตก ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิตก วิตกย่อม
เกิดขึ้น.
[๑๓๔] ๖. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลออกจากฌาน ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ออก
จากมรรค ฯลฯ ออกจากผล พิจารณาผล, เพราะปรารภฌานเป็นต้นนั้น ขันธ์
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น, พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และวิตก โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อม
ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อม
เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 408
เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิตก ขันธ์ที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ.
[๑๓๕] ๗. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
อวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยจิตที่ไม่มีวิตก มี
เพียงวิจาร ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจ
ของอารัมมณปัจจัย.
เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิตก ขันธ์
ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น
[๑๓๖] ๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักก-
สวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย
คือ บุคคลออกจากฌาน ที่เป็นอวิตักกวิจารมัคคธรรม ฯลฯ ออก
จากมรรค ฯลฯ ออกจากผล แล้วพิจารณาผล เพราะปรารภฌานเป็นต้นนั้น
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 409
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิตก
โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลิน
ยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ย่อม
เกิดขึ้น.
เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิตก ขันธ์ที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๓๗] ๙. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม
และวิจาร ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคล
ผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 410
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโต-
ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร ขันธ์ที่เป็น
อวิตักกอวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๓๘] ๑๐. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากฌาน ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ
ออกจากมรรค ฯลฯ ออกจากผล พิจารณาผล, เพราะปรารภฌานเป็นต้นนั้น
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พระอริยะทั้งหลาย ย่อมพิจารณานิพพาน. นิพพานเป็นปัจจัยแก่
โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม แก่ผล แก่อาวัชชนะ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
บุคคลพิจารณาเห็นซึ่งจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ ฯลฯ
โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลพิจารณาเห็นซึ่งโสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง กลิ่น
รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร โดย
ความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง
เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 411
เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร ขันธ์ที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๓๙] ๑๑. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลายออกจากฌาน ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ
ออกจากมรรค ฯลฯ ออกจากผล พิจารณาผล, เพราะปรารภฌานเป็นต้นนั้น
วิตก ย่อมเกิดขึ้น.
พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพาน, นิพพานเป็นปัจจัย แก่ผลที่
เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
บุคคลพิจารณาเห็นซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่เป็นอวิตักก-
อวิจารธรรม และวิจาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น วิตก ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจารวิตกย่อมเกิดขึ้น.
[๑๔๐] ๑๒. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรมและวิจาร ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๔๑ ] ๑๓. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 412
คือ พระอริยะทั้งหลาย ออกจากฌาน ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม
ฯลฯ ออกจากมรรค ฯลฯ ออกจากผล ย่อมพิจารณาผล เพราะปรารภฌานเป็น
ต้นนั้น ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพาน. นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู
แก่โวทาน และวิตก ฯลฯ แก่มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก แก่ผล
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก แก่อาวัชชนะ และวิตก ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
บุคคลพิจารณาเห็นซึ่งจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา เพราะปรารภจักษุนั้น ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก
ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลพิจารณาเห็นซึ่งโสตะ ฯลฯ โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่
เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
วิตก ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๔๒] ๑๔. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร ขันธ์
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๔๓] ๑๕. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวัตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 413
คือ เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร วิตก
ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๔๔] ๑๖. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่เจโต-
ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร ขันธ์ที่เป็น
อวิตักกอวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๔๕] ๑๗. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร ขันธ์
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๔๖] ๑๘. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ขันธ์
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 414
[๑๔๗] ๑๙. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก วิตก
ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๔๘] ๒๐. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่เจโต-
ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ขันธ์ที่เป็น
อวิตักกอวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๔๙] ๒๑. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ขันธ์ที่
เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
๓. อธิปติปัจจัย
[๑๕๐] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 415
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศลกรรม
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา. กระทำกุศลกรรมที่ตนสั่งสม
ดีแล้วในกาลก่อนให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วย่อมพิจารณา.
ออกจากฌาน ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค ฯลฯ
ออกจากผลแล้ว กระทำผลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
บุคคล ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๕๑] ๒. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล การทำอุโบสถกรรมแล้ว การทำกุศลกรรม
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ครั้นกระทำกุศลกรรมนั้นให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว วิตก ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 416
บุคคลกระทำกุศลกรรมที่ตนสั่งสมไว้ดีแล้วในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา ออกจากฌานที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ
ออกจากมรรค ฯลฯ ออกจากผลแล้ว กระทำผลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่นแล้วพิจารณา ครั้นกระทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่นแล้ว วิตก ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคล ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว วิตก ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก ด้วยอำนาจ
ของอธิปติปัจจัย.
[๑๕๒] ๓. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
อย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
[๑๕๓] ๔. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 417
อธิปติธรรมที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๕๔] ๕. วิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก และจิตต-
สมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๕๕] ๖. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็นอารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลให้ทาน สมาทานศีล การทำอุโบสถกรรมแล้ว กระทำกุศลกรรม
นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ครั้นกระทำกุศลกรรมนั้นให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก
ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลกระทำกุศลกรรมที่ตนสั่งสมไว้ดีแล้วในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 418
บุคคลออกจากฌานที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค
ฯลฯ ออกจากผล กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ครั้น
กระทำฌานเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ขันธ์ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะการทำขันธ์ที่เป็นสวิตักก-
วิจารธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่นแล้ว ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และวิตก ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๕๖] ๗. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยและสวิตักกสวิจาร-
ธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจ
ของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
วิตก และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๕๗] ๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 419
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็นอารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลออกจากฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค
ฯลฯ ออกจากผล กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ครั้น
การทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว วิตก ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และวิตกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์และวิตกนั้น
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว วิตก ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๕๘] ๙. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลออกจากฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค
ฯลฯ ออกจากผล กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ครั้น
กระทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ขันธ์ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 420
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และวิตก ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์
และวิตกนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๕๙] ๑๐. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
อวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิจาร และ
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๖๐] ๑๑. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
วิจาร และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๖๑] ๑๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักก-
สวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 421
บุคคลออกจากฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค
ฯลฯ ออกจากผล กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้วพิจารณา ครั้น
กระทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ขันธ์ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และวิตก ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำขันธ์
และวิตกนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๖๒] ๑๓. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และ
วิจาร ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๖๓] ๑๔. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 422
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลายออกจากฌานที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ ออก
จากมรรค ฯลฯ ออกจากผล กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว
พิจารณา ครั้นการทำฌานเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พระอริยะทั้งหลาย การทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
แล้วพิจารณา.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่มรรค แก่ผล ที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำซึ่งจักษุให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
ราคะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะการทำซึ่งโสตะ ฆานะ
ชิวหา กายะ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ขันธ์ที่เป็น
อวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำ
โสตะเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๖๔] ๑๕. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 423
พระอริยะทั้งหลายออกจากฌานที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ ออก
จากมรรค ฯลฯ ออกจากผล กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว
พิจารณา ครั้นกระทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว วิตก
ย่อมเกิดขึ้น.
พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพาน กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์
อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิตก ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมและวิจาร ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น
กระทำโสตะเป็นต้น นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว วิตก ย่อมเกิดขึ้น
[๑๖๕] ๑๖. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิจาร ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๑๖๖] ๗. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 424
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอริยะทั้งหลาย ออกจากฌานที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ ออก
จากมรรค ฯลฯ ออกจากผล กระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว
พิจารณา ครั้นกระทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ขันธ์
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมและวิตก ย่อมเกิดขึ้น,
พระอริยะทั้งหลาย พิจารณานิพพาน การทำให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่น แล้วพิจารณา.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน และแก่วิตก แก่มรรคที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม และแก่วิตก แก่ผลที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และแก่
วิตก ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำซึ่งจักษุให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำซึ่งหทยวัตถุ ฯลฯ
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว
ครั้นกระทำโสตะเป็นต้นนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ขันธ์ที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
[๑๖๗] ๑๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม อวิตักกอวิจารธรรม เป็น
ปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 425
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น เพราะกระทำขันธ์ที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรมและวิจาร ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น.
[๑๖๘] ๑๙. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
วิตก เกิดขึ้น เพราะการทำขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
วิจาร ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น.
[๑๖๙] ๒๐. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น เพราะกระทำ
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น.
[๑๗๐] ๒๑. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ย่อมเกิดขึ้น เพราะกระทำขันธ์ที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 426
[๑๗๑] ๒๒. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
วิตก เกิดขึ้น เพราะกระทำขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น.
[๑๗๒] ๒๓. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เกิดขึ้น เพราะกระทำขันธ์
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตกให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น.
๔. อนันตรปัจจัย
[๑๗๓] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน.
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม.
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 427
มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นสวิตักกส-
วิจารธรรม.
ผลที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรม
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจ
ของอนันตรปัจจัย.
[๑๗๔] ๒. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่วิตก
ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
จุติจิต ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นอวิ-
ตักกวิจารมัตตธรรม.
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และวิตก.
บริกรรมแห่งฌาน ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ฌาน
ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม.
โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม.
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 428
[๑๗๕] ๓. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ปัญจวิญญาณ ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย
จุติจิต ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็น
อวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอวิตักก-
อวิจารธรรม และวิจาร.
บริกรรมแห่งทุติยฌาน เป็นปัจจัยแก่วิจารในทุติฌาน ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
บริกรรมแห่งตติยฌาน ฯลฯ บริกรรมแห่งจตุตถฌาน ฯลฯ บริกรรม
แห่งอากาสานัญจายตนะ ฯลฯ บริกรรมแห่งวิญญาณัญจายตนะ ฯลฯ บริกรรม-
แห่งอากิญจัญญายตนะ ฯลฯ บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ
บริกรรมแห่งทิพยจักษุ ฯลฯ บริกรรมแห่งทิพโสตธาตุ ฯลฯ บริกรรมแห่ง
อิทธิวิญญาณ ฯลฯ บริกรรมแห่งเจโตปริยญาณ ฯลฯ บริกรรมแห่งปุพเพ-
นิวาสานุสสติ แห่งยถากัมมูปคญาณ แห่งอนาคตังสญาณ ฯลฯ
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 429
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และ
วิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๗๖] ๘. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ จุติจิต ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิต ที่
เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
บริกรรมแห่งฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ฌานที่
เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร.
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
วิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๗๗] ๕. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยและสวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ที่เกิดหลัง ๆ และวิตก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 430
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู และวิตก.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน และวิตก.
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก.
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก.
มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรม และวิตก.
ผลที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรม และวิตก.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๗๘] ๖. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ วิตกที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่วิตกที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
มรรคที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม.
ผลที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 431
[๑๗๙] ๗. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ วิตกที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
จุติจิต ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิต ที่
เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ภวังค์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๘๐] ๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
อวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่วิจาร
ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
จุติจิต ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่อุป-
ปัตติจิต ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 432
[๑๘๑] ๙. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
มรรคที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ผลที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๘๒] ๑๐. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักก-
สวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย
คือ วิตกที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจาธรรมที่
เกิดหลัง ๆ และวิตก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
จุติจิต ที่เป็นวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ภวังคจิต ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ และ
วิตก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 433
[๑๘๓] ๑๑. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ วิจารที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่วิจารที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจ
ของอนันตรปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
อวิตักกอวิจารธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
มรรคที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นอวิตักกอวิจาร-
ธรรม.
ผลที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นอวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
เนวสัญญานาสัญญายตนะ แห่งพระอริยะผูออกจากนิโรธ เป็นปัจจัย
แก่ผลสมาบัติที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจารด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๘๔] ๑๒. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ จุติจิต ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่
อุปปัตติจิต ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ภวังคจิต ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่
อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 434
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่
เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของพระอริยะผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัย
แก่ผลสมาบัติ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๘๕] ๑๓. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ วิจารที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
จุติจิต ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิต
ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
เนวสัญญานาสัญญายตนะ แห่งพระอริยะผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัย
แก่ผลสมาบัติ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
[๑๘๖] ๑๔. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ จุติจิต ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่
เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 435
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของพระอริยะผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัย
แก่ผลสมาบัติ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
[๑๘๗] ๑๕. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักก-
สวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย
คือ จุติจิต ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่
อุปปัตติจิต ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
ภวังคจิต ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่
อาวัชชนะ และวิตก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่
เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของพระอริยะผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัย
แก่ผลสมาบัติ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
[๑๘๘] ๑๖. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 436
คือ จุติจิต ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่
อุปปัตติจิต ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ภวังคจิต ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่
อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๘๙] ๑๗. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดก่อน ๆ และวิจาร เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
มรรคที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ผลที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๙๐] ๑๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 437
คือ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดก่อน ๆ และวิจาร เป็น
ปัจจัยแก่วิจารที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาของอนันตรปัจจัย.
จุติจิต ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่
อุปปัตติจิตที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ
ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๙๑] ๑๙. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดก่อน ๆ และวิจาร เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดหลัง ๆ และวิจาร ด้วยอำนาจ
ของอนันตรปัจจัย.
มรรคที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ผลที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๙๒] ๒๐. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 438
คือ จุติจิต ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่
อุปปัตติจิต ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ภวังคจิต ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่
อาวัชชนะ และวิตก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่
เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๙๓] ๒๑. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดก่อนๆ และวิตก เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลมและวิตก เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลมและวิตก เป็นปัจจัยแก่โวทาน.
โคตรภูและวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม.
โวทานและวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ.
มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม.
ผลที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นสวิตักก-
วิจารธรรม.
อนุโลมและวิตก เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 439
[๑๙๔] ๒๒. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดก่อน ๆ และวิตก เป็นปัจจัย
แก่วิตกที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
จุติจิต ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่
เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ที่
เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
บริกรรมแห่งฌาน ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิตก เป็น
ปัจจัยแก่ฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
โคตรภูและวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม.
โวทานและวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
อนุโลมและวิตก เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๙๕] ๒๓. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ อาวัชชนะและวิตก เป็นปัจจัยแก่ปัญจวิญญาณ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 440
จุติจิต ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิต
ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่
เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
บริกรรมแห่งทุติยฌานและวิตก เป็นปัจจัยแก่ทุติฌานและวิจาร ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
บริกรรมแห่งตติยฌานและวิตก ฯลฯ.
บริกรรมแห่งจตุตถฌานและวิตก ฯลฯ.
บริกรรมแห่งอากาสานัญจายตนะและวิตก ฯลฯ.
บริกรรมแห่งวิญญาณัญจายตนะและวิตก ฯลฯ.
บริกรรมแห่งอากิญจัญญายตนะและวิตก ฯลฯ.
บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะและวิตก ฯลฯ.
บริกรรมแห่งทิพยจักษุและวิตก ฯลฯ.
บริกรรมแห่งทิพโสตธาตุและวิตก ฯลฯ.
บริกรรมแห่งอิทธิวิธญาณและวิตก ฯลฯ.
บริกรรมแห่งเจโตปริยญาณและวิตก ฯลฯ.
บริกรรมแห่งปุพเพนิวาสานุสสติญาณฯลฯ แห่งยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ
แห่งอนาคตังสญาณ และวิตก ฯลฯ.
โคตรภูและวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรค ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และ
วิจาร.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 441
โวทานและวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมและ
วิจาร.
อนุโลม และวิตก เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม
และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๙๖] ๒๔. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
จุติจิต ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิต
ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมและวิตก เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
บริกรรมแห่งฌาน ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิตก เป็นปัจจัย
แก่ฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
โคตรภูและวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
โวทานและวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิจาร.
อนุโลมและวิตก เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 442
[๑๙๗] ๒๕. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกสวิจารมัตตธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดก่อน ๆ และวิตก เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดหลัง ๆ และวิตก ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
อนุโลมและวิตก เป็นปัจจัยแก่โคตรภู และวิตก.
อนุโลมและวิตก เป็นปัจจัยแก่โวทาน และวิตก.
โคตรภูและวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมและวิตก.
โวทานและวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมและวิตก
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม และวิตก.
ผลที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และวิตก.
อนุโลมและวิตก เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
และวิตก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย
[๑๙๘] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย
อนันตรปัจจัยก็ดี สมนันตรปัจจัยก็ดี เหมือนกัน.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 443
๖. สหชาติปัจจัย
[๑๙๙] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย. ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย, ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
[๒๐๐] ๒. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๒๐๑] ๓. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 444
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตา-
รูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๒๐๒] ๔. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๒ และ จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๒๐๓] ๕. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตกและจิตตสมุฏ-
ฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๒๐๔] ๖. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
วิตก ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และ
วิตก ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 445
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๒๐๕] ๗. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ วิตก
และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๒ วิตก และจิตตสมุฏฐานรูป
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๒๐๖] ๘. อวิตักกสวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๒๐๗] ๙. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ วิตก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 446
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๒๐๘] ๑๐. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิจาร และจิตต-
สมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
วิตก เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๒๐๙] ๑๑. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักก-
สวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ วิตก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และจิตต
สมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ วิตก ฯลฯ.
[๒๑๐] ๑๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓,
วิจาร และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ วิจารและจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 447
[๒๑๑] ๑๓. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
วิจาร เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป, วิจาร
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป.
ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลาย.
วิจาร เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิจาร.
มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ.
มหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูป ที่เป็น
อุปาทารูป.
พาหิรรูป. . .อาหารสมุฏฐานรูป. . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ฯลฯ มหาภูตรูป เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๒๑๒] ๑๔. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักก-
สวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 448
คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๒๑๓] ๑๕. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิตก ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย.
[๒๑๔] ๑๖. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ วิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ วิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม และกฏัตตารูป.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 449
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๒๑๕] ๑๗. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรมและอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๒๑๖] ๑๘. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาติปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และหทย-
วัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๒๑๗] ๑๙. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิตก ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๒๑๘] ๒๐. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 450
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย.
[๒๑๙] ๒๑. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และหทย-
วัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิตก ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๒ และวิตก ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๒๒๐] ๒๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิตก และหทยวัทถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๒๒๑] ๒๓. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 451
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจารเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมและหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๒๒๒] ๒๔. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย, วิตกและมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ วิตก และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป
ทั้งหลาย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิจาร ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 452
[๒๒๓] ๒๕. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ขันธ์ ๓ และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ขันธ์ ๒ และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิจาร ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒
และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และวิจาร ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๒๒๘] ๒๖. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรมเป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๓ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 453
[๒๒๕] ๒๗. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรมเป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะฯลฯ
[๒๒๖] ๒๘. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒
และวิตก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๒๒๗] ๒๙. สวิตักกสวิจารธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม วิตก และ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒
วิตก และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 454
[๒๒๘] ๓๐. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม วิตก และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ. ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม วิตก และ
มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของสหชาต
ปัจจัย.
๗. อัญญมัญญปัจจัย
[๒๒๙] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วย
อำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒
ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๒๓๐] ๒. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 455
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก ด้วย
อำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๒๓๑] ๓. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็น
ปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๒๓๒] ๔. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๒๓๓] ๕. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็น
ปัจจัยแก่วิตก และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 456
[๒๓๔] ๖. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
วิตก ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และ
วิตก ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๒๓๕] ๗. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ วิตก และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ วิตก และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญ
ปัจจัย.
[๒๓๖] ๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจ
ของอัญญมัญญปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 457
[๒๓๗] ๙. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักก-
วิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ วิตก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๒๓๘] ๑๐. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
อวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิจาร
ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็น
ปัจจัย แก่วิจาร และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ วิตก เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญ-
มัญญปัจจัย.
[๒๓๙] ๑๑. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักก-
สวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญ-
ปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิตก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 458
[๒๔๐] ๑๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญ-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
วิจาร ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒
และวิจาร ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ วิจาร และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ วิจาร และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๒๔๑] ๑๓. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
อวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วย
อำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของ
อัญญมัญญปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลาย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 459
วิจารเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ, หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่วิจาร
มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ
พาหิรรูป...อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
[๒๔๒] ๑๔. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๒๔๓] ๑๕. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ วิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ วิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิตก ด้วยอำนาจของอัญญ-
มัญญปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 460
[๒๔๔] ๑๖. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๒๔๕] ๑๗. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัย แก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๒๔๖] ๑๘. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และหทย-
วัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒
ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๒๔๗] ๑๙. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิตก ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 461
[๒๔๘] ๒๐. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และหทย-
วัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิตก ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และวิตก ด้วยอำนาจของอัญญ-
มัญญปัจจัย.
[๒๔๙] ๒๑. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยและสวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ วิตก และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๒๕๐] ๒๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์๒ และวิจาร เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม, วิจาร และ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒, วิจาร และหทยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 462
[๒๕๑] ๒๓. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
วิจาร เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และหทย-
วัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิจาร ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๒๕๒] ๒๔. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
วิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๒ และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญ-
มัญญปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิจาร ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒
และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และวิจาร ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๒๕๓] ๒๕. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกสวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 463
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๒๕๘] ๒๖. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
วิตก เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๒๕๕] ๒๗. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ แลหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์
๒ และวิตกเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
[๒๕๖] ๒๘. สวิตักกสวิจารธรรม อวิตักกสวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของอัญญมัญญปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 464
คือ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม, วิตก และ
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒
วิตก และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.
๘. นิสสยปัจจัย
[๒๕๗] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ
มี ๗ วาระ.
๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ มี ๕ วาระ.
[๒๕๘] ๑๓. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ.
วิจาร เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสย-
ปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 465
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมเป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๓ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ.
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ. หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม
และวิจาร ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
[๒๕๙] ๑๔. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ ฯลฯ.
[๒๖๐] ๑๕. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ วิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิตก ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ วิจาร ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 466
[๒๖๑] ๑๖. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ วิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ วิจาร ฯลฯ.
[๒๖๒] ๑๗. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิ-
จารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
และวิตก ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ ฯลฯ.
[๒๖๓] ๑๘. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ปวัตติก็ดี ปฏิสนธิก็ดี พึงแสดง
[๒๖๔] ๑๙. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 467
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และหทยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่วิตก.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๒๖๕] ๒๐. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๒๖๖] ๒๑. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตรรม ด้วย
อำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และวิตก ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๒๖๗] ๒๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจาร-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 468
คือ วิตก และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิ-
จารธรรม.
[๒๖๘] ๒๓. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๒๖๙] ๒๔. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
วิตก และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย.
ขันธ์ทั้งหลายทั้งเป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัย
แก่วิจาร ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
ปฏิสนธิกะทั้งหลาย มี ๔ นัย ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 469
[๒๗๐] ๒๕. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของนิสสยปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย ฯลฯ ขันธ์
๒ และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ
ของนิสสยปัจจัย.
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และวิจาร ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัทถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และวิจาร
ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๒๗๑] ๒๖. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ.
๒๗. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ
๒๘. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิ-
ตักกอวิจารธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ.
[๒๗๒] ๒๙. สวิตักกสวิจารธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 470
๓๐. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อวิตักอวิจารธรรม ด้วยอำนาจ
ของนิสสยปัจจัย
วาระทั้ง ๒ พึงให้พิสดาร.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๒๗๓] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ
และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมแล้ว ให้ทาน สมา-
ทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ให้เกิดขึ้น
ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ย่อมก่อมานะ ถือ
ทิฏฐิ
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ สุตะ จาคะ ปัญญา
ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน สมาทาน
ศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌาน ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมให้เกิดขึ้น ยัง
วิปัสสนาให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติ ฯลฯ ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ
โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โทสะ โมหะ
มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 471
[๒๗๔] ๒. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมแล้ว ยังฌานที่
เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติ ฯลฯ อาศัยศีล
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ.
บุคคลเข้าไปอาศัยความปรารถนาแล้ว ยังฌานที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัคคธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติ ฯลฯ.
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา และวิตก
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๗๕] ๓. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็น
อวิตักกอวิจารธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้
เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 472
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ความปรารถนา
แล้ว ยังฌานที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา
ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา และวิจาร แก่
สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๗๖] ๔. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา และวิจาร
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๗๗] ๕. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 473
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา และวิตก ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๗๘] ๖. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมแล้ว ยังฌานที่
เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ สุตะ จาคะ
ปัญญา ฯลฯ วิตกแล้ว ยังฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค
ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
และวิตก เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ
ปัญญา และวิตก ด้วยอำนาขของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๗๙] ๗. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 474
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมแล้ว ให้ทาน
สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมให้เกิดขึ้น
ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ สุตะ จาคะ
ปัญญา ฯลฯ วิตกแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่
เป็นสวิตักกสวิจารธรรมให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนาให้เกิดขึ้น ยังมรรคให้เกิดขึ้น
ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ฯลฯ
และวิตก เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม แก่ความปรารถนา
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๘๐] ๘. สวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมให้เกิดขึ้น ยัง
มรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 475
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ สุตะ จาคะ
ปัญญา ฯลฯ วิตกแล้ว ยังฌานที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค
ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
ฯลฯ และวิตก เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม แก่ศีล สุตะ
จาคะ ปัญญา และวิจาร แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
[๒๘๑] ๙. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
ฯลฯ และวิตก เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม แก่ศีล สุตะ
จาคะ ปัญญา และวิจาร ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๘๒] ๑๐. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักก-
สวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 476
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญาฯลฯ
และวิตก เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม แก่ความปรารถนา
และวิตก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๘๓] ๑๑. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็น
อวิตักกอวิจารธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติให้
เกิดขึ้น
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ สุตะ จาคะ ปัญญา
วิจาร สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ยังฌานที่
เป็นอวิตักกอวิจารธรรมให้เกิดขึ้น ยังมรรค ฯลฯ ยังอภิญญา ฯลฯ ยังสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น.
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา วิจาร
สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่
เป็นอวิตักกอวิจารธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา วิจาร แก่สุขทางกาย
แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 477
[๒๘๔] ๑๒. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมแล้ว ให้ทาน สมา-
ทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นสวิตักกสวิจารให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา
ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ สุตะ จาคะ
ปัญญา วิจาร สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะแล้ว
ให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม
ให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯสฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ
ทำลายสงฆ์.
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม แก่ศีล ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
[๒๘๕] ๑๓. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 478
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมแล้ว ยังฌานที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรมให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติ
ให้เกิดขึ้น.
บุคคลเข้าไปอาศัย ศีลที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ เสนาสนะแล้ว
ยังฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค
ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา และวิตก ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๘๖] ๑๔. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา และวิจาร ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 479
[๒๘๗] ๑๕. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิ-
จารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม แก่ศีล แก่ความปรารถนา และวิตก ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๘๘] ๑๖. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัย แก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
ฯลฯ และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ แก่ปัญญา
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๘๙] ๑๗. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 480
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
ฯลฯ และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม แก่ศีล สุตะ
จาคะ ปัญญา และวิตก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๙๐] ๑๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสยะ และ ปกตูปนิสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ
ปัญญา และวิจาร แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๒๙๑] ๑๙. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 481
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม แก่ศีล สุตะ
จาคะ ปัญญา และวิจาร ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๙๒] ๒๐. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ
ปัญญา ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ แก่ความปรารถนา และวิตก
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๙๓] ๒๑. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจ้ย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 482
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา
ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา และวิตก เป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม แก่ศีล ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๙๔] ๒๒. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ศีล ฯลฯ ความปรารถนา
และวิตก เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม แก่ศีล สุตะ
จาคะ ปัญญา และวิตก ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๙๕] ๒๓. สวิตักกวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ฯลฯ
ความปรารถนา และวิตก เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม แก่
ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา และวิจาร แก่สุขทางกาย แก่ทุกข์ทางกาย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 483
[๒๙๖] ๒๔. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ฯลฯ
ความปรารถนา และวิตก เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา และวิจาร ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๒๙๗] ๒๕. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกสวิจารมัตต-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ศรัทธาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ
โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา และวิตก เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา และวิตก ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 484
๑๐. ปุเรชาตปัจจัย
[๒๙๘] ๑. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ. หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม
และวิจาร ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๒๙๙] ๒. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัย แก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 485
พิจารณาเห็นโผฏฐัพพะ ฯลฯ บุคคลพิจารณาเห็นหทยวัตถุ โดยความ
เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดยิ่ง เพราะ
ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๓๐๐] ๓. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเราชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตาแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น วิตก
ย่อมเกิดขึ้น ฯลฯ
บุคคลพิจารณาเห็นหทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตาแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภหทยวัตถุนั้น
วิตก ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
วิตก ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 486
[๓๐๑] ๔. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ วัตถุ ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
วิจาร ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๓๐๒] ๕. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และ อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตาแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
โสตะ ฯลฯ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ฯลฯ
บุคคลพิจารณาเห็นหทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัต-
ตาแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
วิตก ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 487
๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๓๐๓] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัย
แก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๓๐๔] ๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดภายหลัง และ
วิตก เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๓๐๕] ๓. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมที่เกิดภายหลัง และวิจาร
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๓๐๖] ๔. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดภายหลัง และ
วิจาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 488
[๓๐๗] ๕. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดภายหลัง และวิตก
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๓๐๘] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวน-
ปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน.
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม.
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของ
อาเสวนปัจจัย.
[๓๐๙] ๒. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่วิตกที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 489
บริกรรมแห่งฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ฌานที่
เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจ
ของอาเสวนปัจจัย.
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจ
ของอาเสวนปัจจัย.
[๓๑๐] ๓. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ บริกรรมแห่งทุติยฌาน เป็นปัจจัยแก่วิจารในทุติยฌาน ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย.
บริกรรมแห่งตติยฌาน เป็นปัจจัยแก่ตติยฌาน.
บริกรรมแห่งจตุตถฌาน เป็นปัจจัยแก่จตุตถฌาน.
บริกรรมแห่งอากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่อากาสานัญจายตนะ.
บริกรรมแห่งวิญญาณัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ.
บริกรรมแห่งอากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่อากิญจัญญายตนะ.
บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญาตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญ-
ญายตนะ.
บริกรรมแห่งทิพยจักษุ เป็นปัจจัยแก่ทิพยจักษุ.
บริกรรมแห่งทิพโสตธาตุ เป็นปัจจัยแก่ทิพโสตธาตุ
บริกรรมแห่งอิทธิวิธญาณ ฯลฯ บริกรรมแห่งเจโตปริยญาณ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 490
บริกรรมแห่งบุพเพนิวาสานุสสติญาณ เป็นปัจจัยแก่บุพเพนิวาสานุส-
สติญาณ ฯลฯ บริกรรมแห่งยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ.
บริกรรมแห่งอนาคตตังสญาณ ฯลฯ.
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร.
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และวิจาร
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๓๑๑] ๔. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ บริกรรมแห่งฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่
ฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๓๑๒] ๕. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดหลัง ๆ และวิตก ด้วยอำนาจ
ของอาเสวนปัจจัย.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู และวิตก.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน และวิตก.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 491
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก.
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๓๑๓] ๖. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ วิตกที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่วิตกที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อาเสวนปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อาเสวนปัจจัย.
[๓๑๔] ๗. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักก-
สวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ วิตกที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๓๑๕] ๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
อวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่วิจารที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 492
[๓๑๖] ๙. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดก่อนๆเป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดหลังๆและวิจาร ด้วยอำนาจ
ของอาเสวนปัจจัย.
[๓๑๗] ๑๐. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิ-
จารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ วิตกที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรมที่เกิดหลัง ๆ และวิตก ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๓๑๘] ๑๑. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ วิจารที่เกิดก่อนๆเป็นปัจจัยแก่วิจารที่เกิดหลังๆด้วยอำนาจของ
อาเสวนปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมที่เกิดหลัง ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
[๓๑๙] ๑๒. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 493
คือ วิจารที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๓๒๐] ๓. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ วิจารที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรมที่เกิดหลัง ๆ และวิจาร ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๓๒๑] ๔. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแต่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายเป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดก่อนๆ และวิจาร
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจ
ของอาเสวนปัจจัย.
[๓๒๒] ๑๕. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดก่อน ๆ และวิจาร
เป็นปัจจัยแก่วิจารที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๓๒๓] ๑๖. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 494
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดก่อน ๆ และวิจาร
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดหลัง ๆ และวิจาร
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๓๒๔] ๑๗. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรมเป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดก่อนๆ และวิตก
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจ
ของอาเสวนปัจจัย
อนุโลม และวิตก เป็นปัจจัยแก่โคตรภู.
อนุโลม และวิตก เป็นปัจจัยแก่โวทาน.
โคตรภู และวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม.
โวทาน และวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของเสวนปัจจัย.
[๓๒๕] ๑๘. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวน-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดก่อน ๆ และวิตกเป็น
ปัจจัยแก่วิตกที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย,
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 495
บริกรรมแห่งฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิตก เป็นปัจจัย
แก่ฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
โคตรภู และวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม.
โวทาน และวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๓๒๖] ๑๙. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ บริกรรมแห่งทุติยฌาน และวิตก เป็นปัจจัยแก่วิจารในทุติยฌาน
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
บริกรรมแห่งเนวสัญญานาสัญญายตนะ และวิตก ฯลฯ บริกรรมแห่ง
ทิพยจักษุ และวิตก ฯลฯ บริกรรมแห่งอนาคตังสญาณ และวิตก เป็นปัจจัย
แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
โคตรภู และวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และ
วิจาร ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
โวทาน และวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรค ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม
และวิจาร ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๓๒๗] ๒๐. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 496
คือ บริกรรมแห่งฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิตก เป็น
ปัจจัยแก่ฌานที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร.
โคตรภู และวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิจาร.
โวทาน และวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิจาร ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๓๒๘] ๒๑. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดก่อน ๆ และวิตก
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดหลัง ๆ และวิตก ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย.
อนุโลม และวิตก เป็นปัจจัยแก่โคตรภู และวิตก.
อนุโลม และวิตก เป็นปัจจัยแก่โวทาน และวิตก.
โคตรภู และวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
วิตก.
โวทาน และวิตก เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
วิตก ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 497
๑๓. กัมมปัจจัย
[๓๒๙] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๓๓๐] ๒. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก ด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 498
เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก ซึ่งเป็นวิบาก
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๓๓๑] ๓. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้ง-
หลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่
กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อวิตักกอวิจารธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย.
[๓๓๒] ๔. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 499
เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย.
[๓๓๓] ๕. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก และจิตตสมุฐาน-
รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก
และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก ซึ่งเป็นวิบาก
และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 500
[๓๓๔] ๖. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
และวิตก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และวิตก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และวิตก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๓๓๕] ๗. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย, วิตก และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 501
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย, วิตก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมม-
ปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็น
สวิตักสวิจารธรรม ซึ่งเป็นวิบาก, วิตก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ
ของกัมมปัจจัย.
[๓๓๖] ๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลาย ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๓๓๗] ๙. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 502
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิจาร และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่
วิจาร ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิจาร ซึ่งเป็นวิบาก
และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
[๓๓๘] ๑๐. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย, วิจาร และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย วิจาร และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมม-
ปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 503
เจตนาที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก วิจาร และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
[๓๓๙] ๑๑. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็น
อวิตักกอวิจารธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย.
๑๔. วิปากปัจจัย
[๓๔๐] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัย แก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 504
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ ฯลฯ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ ฯลฯ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
[๓๔๑] ๒. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัย
แก่วิตก ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
สวิตักกสวิจารมูลกะ มี ๗ วาระ บริบูรณ์.
[๓๔๒] ๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์
๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ.
อวิตักกวิจารมัตตมูล พึงกระทำหัวข้อปัจจัย ๒พึงกำหนดคำว่า
วิบาก
๑. วาระที่ ๓-๗ ย่อไว้ เพราะฉะนั้นข้อ (๓๔๒) จึงเป็น วาระที่ ๘.
๒. วาระที่ ๘-๑๒ ย่อไว้ข้อ (๓๔๓) จึงเป็น วาระที่ ๑๓.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 505
[๓๔๓] ๑๓. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์
๒ ฯลฯ
วิจารซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วย
อำนาจของวิปากปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจ
ของวิปากปัจจัย วิจาร เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
[๓๔๔] ๑๔. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ วิจาร ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ วิจาร ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
[๓๔๕] ๑๕. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ วิจาร ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 506
ในปฏิสนธิขณะ วิจาร ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอวิ-
ตักกวิจารมัตตธรรม และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
[๓๔๖] ๑๖. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และวิจาร
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิ
ขณะ ฯลฯ.
[๓๔๗] ๑๗. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และ
วิจาร เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
[๓๔๘] ๑๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของวิปากปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 507
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และวิจาร
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก
และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
[๓๔๙] ๑๙. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และวิตก เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๓๕๐] ๒๐. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และวิตก
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๓๕๑] ๒๑. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่ เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ซึ่งเป็นวิบาก และวิตก เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 508
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๑๕. อาหารปัจจัย
[๓๕๒] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คืออาหารทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๓๕๓] ๒. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก ด้วย
อำนาจของอาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
สวิตักกสวิจารมูลกะ พึงแจกเป็น ๗ วาระ ด้วยเหตุนี้.
[๓๕๔] ๓. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 509
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๓๕๕] ๔. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
อวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิจาร
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๓๕๖] ๕. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอาหาร-
ปัจจัย
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย วิจาร และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ
อาหารปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๓๕๗] ๖. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
คือ อาหารทั้งหลายที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของ
อาหารปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 510
๑๖. อินทริยปัจจัย
[๓๕๘] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๓๕๙] ๒. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก
ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
สวิตักกสวิจารมูลกะ พึงแจกเป็น ๗ วาระ (วาระที่๑-๗) ด้วยเหตุนี้.
[๓๖๐] ๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
๑. ข้อ ๓-๗ ย่อไว้ เพราะฉะนั้นข้อ (๓๖๐) จึงเป็นข้อ ๘.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 511
[๓๖๑] ๙. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
อวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทริย์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิจาร
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๓๖๒] ๑๐. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย วิจาร และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ
ของอินทริยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๓๖๓] ๑๑. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย
คือ อินทรีย์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ
กายินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ
อินทริยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 512
๑๗. ฌานปัจจัย
[๓๖๔] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย
คือ องค์ฌานทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สวิตักกสวิจารมูลกะ พึงแจกเป็น ๗ วาระ โดยเหตุนี้.
[๓๖๕] ๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย
คือ องค์ฌานทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
อวิตักกวิจารมัตตมูลกะ พึงแจกเป็น ๕ วาระ โดยเหตุนี้.
[๓๖๖] ๑๓. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย
คือ องค์ฌานทั้งหลายที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สัม-
ปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
วิจาร เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 513
ในปฏิสนธิขณะ วิจาร เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจ
ของฌานปัจจัย. วิจาร เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
[๓๖๗] ๑๔. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย
คือ วิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ วิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
[๓๖๘] ๑๕. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย
คือ วิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ วิจารเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
[๓๖๙] ๑๖. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย
คือ องค์ฌานทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 514
[๓๗๐] ๑๗. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย
คือ องค์ฌานทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๓๗๑] ๑๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของฌานปัจจัย
คือ องค์ฌานทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของฌาน
ปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ องค์ฌานทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และ
วิจาร เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ
ฌานปัจจัย.
[๓๗๒] ๑๙. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย
คือ องค์ฌานทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 515
[๓๗๓] ๒๐. วิตักกสวิจารธรรมและอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย
คือ องค์ฌานทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๓๗๔] ๒๑. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของฌานปัจจัย
คือ องค์ฌานทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานทั้งหลาย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๑๘. มัคคปัจจัย
[๓๗๕] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย
คือ องค์มรรคทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
สวิตักกสวิจารมูลกะ พึงแจกเป็น ๗ วาระ (วาระที่ ๑-๗) โดยเหตุนี้.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 516
[๓๗๖] ๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย
คือ องค์มรรคทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
อวิตักกวิจารมัตตมูลกะ พึงแจกเป็น ๕ วาระ (วาระที่ ๘ - ๑๒)
โดยเหตุนี้.
[๓๗๗] ๑๓. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย
คือ องค์มรรคทั้งหลายที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๓๗๘] ๑๔. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย
คือ องค์มรรคทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๓๗๙] ๑๕. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารธรรม ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 517
คือ องค์มรรคทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๓๘๐] ๑๖. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของมัคคปัจจัย
คือ องค์มรรคทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๑๙. สัมปยุตตปัจจัย
[๓๘๑] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วย
อำนาจของสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๓๘๒] ๒. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 518
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก ด้วย
อำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๓๘๓] ๓. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
วิตก ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และ
วิตก.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๓๘๔] ๔. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๓๘๕] ๕. อวิตักกวิจารมัคคธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักก-
สวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 519
คือ วิตก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๓๘๖] ๖. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิจาร
ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๓๘๗] ๗. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตต-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และ
วิจาร ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และ
วิจาร.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๓๘๘] ๘. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร
ธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 520
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วย
อำนาจของสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๓๘๙] ๙. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย
คือ วิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๓๙๐] ๑๐. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจาร เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๓๙๑] ๑๑. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๓ ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก ฯลฯ.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 521
๒๐. วิปปยุตตปัจจัย
[๓๙๒] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัย
แก่ กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๓๙๓] ๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
อวิจารธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมและวิตกที่เกิดพร้อมกัน เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิตก
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 522
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมและวิตกที่เกิดภายหลัง เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๓๙๔] ๓. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมที่เกิดพร้อม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปยุตตปัจจัย.
วิจาร เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตต-
ปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
วิจาร เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
วิจาร เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิจาร ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 523
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และ
วิจาร ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมที่เกิดภายหลัง และวิจาร เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๓๙๕] ๔. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๓๙๖] ๕. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 524
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิตก ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๓๙๗] ๖. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิจาร ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๓๙๘] ๗. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 525
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
วิตก ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๓๙๙] ๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหขาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดพร้อม และวิจาร เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดภายหลัง และวิจาร
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๔๐๐] ๙. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 526
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดพร้อม และวิตก เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดภายหลัง และวิตก เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๒๑. อัตถิปัจจัย
[๔๐๑] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๘๐๒] ๒. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 527
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่วิตก ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๔๐๓] ๓. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัย
แก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่
กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในสวิตักกสวิจารมูลกะ หัวข้อปัจจัยที่เหลือ เหมือนกับ สหชาต-
ปัจจัย๑.
[๔๐๔] ๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
๑. ในสหชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ในที่นี้แสดงย่อไว้เพียง ๓ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 528
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๔๐๕] ๙. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ วิตก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๔๐๖] ๑๐. อวิตักกอวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
อวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดพร้อมกัน และวิตก
เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมและวิตก
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 529
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดภายหลัง และวิตก
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
อวิตักกวิจารมัตตมูลกะ มี ๕๑ วาระ เหมือนสหชาตปัจจัย.
[๔๐๗] ๑๑. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และอินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
วิจาร เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
วิจาร เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิจาร ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูป
ทั้งหลายที่เป็นอุปาทารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๑. ดูข้อ ๒๐๖ ถึงข้อ ๒๑๐
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 530
พาหิรรูป. . . อาหารสมุฏฐานรูป . . .อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ
ส่วนพวกอสัญญสัตว์ทั้งหลาย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป
๓ ฯลฯ มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ที่เป็นอุปาทารูป
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรม และ
วิจาร ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกอวิจารธรรมที่เกิดภายหลัง และวิจาร เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย
[๔๐๘] ๑๒. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัย แก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 531
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะย่อม
เกิดขึ้น โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลพิจารณาเห็นโสตะ ฯลฯ กายะ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ
ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ
โทมนัสย่อมเกิดขึ้น.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๔๐๙] ๑๕. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
วิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 532
ในปฏิสนธิขณะ วิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น วิตกย่อม
เกิดขึ้น.
บุคคลพิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง กลิ่น รส
โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น วิตกย่อม
เกิดขึ้น
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิตก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๔๑๐] ๑๖. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
วิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 533
ในปฏิสนธิขณะ วิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และกฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม
และวิจาร ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๔๑๑] ๑๗. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักก-
สวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ขันธ์ทั้งหลาย
ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลพิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความ
เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 534
เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
วิตก ย่อมเกิดขึ้น ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๔๑๒] ๑๘. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดพร้อมกันและหทยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๔๑๓] ๑๙. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดพร้อมกัน และหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่วิตก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่วิตก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 535
[๔๑๔] ๒๐. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และ
รวมกับ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดพร้อมกันและมหาภูตรูป เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดภายหลัง และกวฬีการา-
หารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่
ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดภายหลัง และรูปชีวิตินทรีย์เป็น
ปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๔๑๕] ๒๑. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และสหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 536
ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดพร้อมกันและหทยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และวิตก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทย-
วัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และวิตก ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๔๑๖] ๒๒. อวิตักกสวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจาร-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
วิตก และ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ วิตก และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๔๑๗] ๒๓. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 537
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจารเป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิจาร เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักวิจารมัตตธรรม และหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๔๑๘] ๒๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๔ อย่าง คือ สหชาตะ, สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ, ปัจฉาชาตะ
รวมกับ อาหาระ และรวมกับ อินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ที่เกิดพร้อมกัน และ
วิจาร เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดพร้อมกัน และมหาภูตรูปทั้ง
หลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 538
วิตกที่เกิดพร้อมกัน และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ-
ฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดพร้อมกัน และหทย-
วัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิจาร ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ วิตก และมหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่กฏัตตา-
รูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และหทย-
วัตถุเป็นปัจจัยแก่วิจาร ด้วยอำนาจชองอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดภายหลัง และวิจาร-
เป็นปัจจัยแก่กาย ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดภายหลัง วิตก และ
กวฬีการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 539
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดภายหลัง วิตก และ
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๔๑๙] ๒๕. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ
วิจาร ฯลฯ.
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ และวิจาร ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทยวัตถุ ฯลฯ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๔๒๐] ๒๖. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 540
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๔๒๑] ๒๗. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดพร้อมกัน และวิตก เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดภายหลัง และวิตก เป็น
ปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[๔๒๒] ๒๘. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และวิตก
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 541
[๔๒๓] ๒๙. สวิตักกสวิจารธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดพร้อมกัน วิตก และหทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิชณะ ฯลฯ
[๔๒๔] ๓๐. สวิตักกสวิจารธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และรวมกับ
ิอินทริยะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดพร้อมกัน วิตก และมหา-
ภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดภายหลัง วิตก และกวฬี-
การาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 542
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ รวมกับ อินทริยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรมที่เกิดภายหลัง วิตก และรูป-
ชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
๒๒. นัตถิปัจจัย
๒๓. วิคตปัจจัย
[๔๒๕] วิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรมด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของวิคต-
ปัจจัย.
นัตถิปัจจัย วิคตปัจจัย เหมือนกับ อนันตรปัจจัย.
อวิคตปัจจัย เหมือนกับ อัตถิปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลม แห่งปัญหาวาระ
สุทธมูลกนัย
[๔๒๖] ในเหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๒๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในสมนันตร-
ปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓๐ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี
๒๘ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓๐ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๕ วาระ
ในปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาเสวน-
ปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒๑ วาระ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 543
ในอาหารปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในฌานปัจจัย
มี ๒๑ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ใน
วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓๐ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๒๕
วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓๐ วาระ.
ปัจจัยฆฏนา เหมือนกับ กุสลติกะ นั่นเทียว. การนับปัญหาวาระ
ผู้มีปัญญาพึงกระทำอย่างนี้.
อนุโลม จบ
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ
[๔๒๗] ๑. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๔๒๘] ๒. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย. เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 544
[๔๒๙] ๓. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสห-
ชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๔๓๐] ๔. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย. เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๔๓๑] ๕. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย.
[๔๓๒] ๖. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๔๓๓] ๗. สวิตักกสวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร
ธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 545
[๔๓๔] ๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๔๓๕] ๙. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๔๓๖] ๑๐. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิ-
จารธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๔๓๗] ๑๑. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักก-
สวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๔๓๘] ๑๒. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของสหชาต-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 546
[๔๓๙] ๑๓. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักก-
สวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๔๔๐] ๑๔. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจาร
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๔๔๑] ๑๕. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจาร-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๔๔๒] ๑๖. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 547
[๔๔๓] ๑๗. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาของ
อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๔๔๔] ๑๘. อวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิ-
จารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๔๔๕] ๑๙. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
[๔๔๖] ๒๐. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
[๔๔๗] ๒๑. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 548
มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และ
รวมกับ อินทริยะ
[๔๔๘] ๒๒. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ฯลฯ
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
[๔๔๙] ๒๓. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุป-
นิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๔๕๐] ๒๔. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, ปุเรชาตปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๔๕๐] ๒๕. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุป-
นิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 549
อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.
[๔๕๒] ๒๖. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[๔๕๓] ๒๗. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
[๔๕๔] ๒๘. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย, เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
[๔๕๕] ๒๙. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 550
[๔๕๖] ๓๐. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย. เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๔๕๗] ๓๑. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัย แก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย.
[๔๕๘] ๓๒. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตต-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๔๕๙] ๓๓. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัย แก่สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย. เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๔๖๐] ๓๔. สวิตักกสวิจารธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักกสวิจารธรรม ฯลฯ
มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และ สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 551
[๔๖๑] ๓๕. สวิตักกสวิจารธรรม อวิตักกวิจารมัตตธรรม
และอวิตักกอวิจารธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ฯลฯ
มี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ, ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ และ
รวมกับ อินทริยะ
ปัจจนียมาติกา จบ
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๔๖๒] ในนเหตุปัจจัย มี ๓๕ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓๕
วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๓๕ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๓๕ วาระ ใน
นสมนันตรปัจจัย มี 6 วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๒๙ วาระ ในนอัญญ-
มัญญปัจจัย มี ๒๙ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๒๙ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓๔ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓๕ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย ๓๕ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๓๕ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓๕ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๓๕ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๓๕ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๓๕ วาระ
ในนฌานปัจจัย มี ๓๕ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๓๕ วาระ ในนสัมปยุตต-
ปัจจัย มี ๒๙ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๗ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี ๒๗-
วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓๕ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๓๕ วาระ ในโน-
อวิคตปัจจัย มี ๒๗ วาระ.
ผู้มีปัญญา เมื่อจะนับปัจจนียะ พึงนับตามบทเหล่านี้.
ปัจจนียะ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 552
อนุโลมปัจจนียะ
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๔๖๓] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๑ วาระ. . .
ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนสมนันตร-
ปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนอัญญนัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย
มี ๑๑ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๑
วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนวิปาก-
ปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑๑ วาระในนอินทริยปัจจัย มี ๑๑ วาระ
ในนฌานปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๑๑ วาระ ใน
โนวิคตปัจจัย มี ๑๑ วาระ.
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ พึงนับโดยเหตุนี้.
อนุโลมปัจจนียะ จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๔๖๔] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ . . . ใน
อธิปติปัจจัย มี ๒๓ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๒๕ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓๐ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒๘ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๓๐ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในปุเรชาต-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 553
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๒๑
วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒๑ วาระ ในอาหารปัจจัย
มี ๑๑ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๒๑ วาระ ใน
มัคคปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย
มี ๙ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๓๐ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในวิคต-
ปัจจัย มี ๒๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓๐ วาระ.
ปัจจนียานุโลม พึงแจก โดยเหตุนี้.
ปัจจนียานุโลม จบ
วิตักกติกะที่ ๖ จบ
อรรถกถาวิตักกติกะ
ใน วิตักกติกะ คำว่า ยถากมฺมูปคาณสฺส ปริกมฺม ได้แก่
บริกรรมแห่งทิพยจักษุญาณนั่นเอง เป็นบริกรรมเพื่อให้ยถากัมมูปคญาณนั้น
เกิดขึ้น ก็คำนี้ตรัสหมายบริกรรมในเวลาใช้ญาณที่เกิดขึ้นแล้ว. คำที่เหลือใน
อธิการนี้ท่านอธิบายไปตามบาลีนั่นเอง.
อรรถกถาวิตักกติกะ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 554
๗. ปีติติกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
[๔๖๕] ๑. ปีติสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์
๓, ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ
ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
๒. สุขสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคต-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ที่เป็นสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
ปีติสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
๓. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยปีติ-
สหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์
๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 555
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
[๔๖๖] ๔. สุขสหคตธรรม อาศัยสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคตธรรม, ขันธ์ อาศัย
ขันธ์ ๒๑.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคตธรรม ขันธ์ ๑
อาศัยขันธ์ ๒.
๕. ปีติสหคตธรรม อาศัยสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นปีติสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคต-
ธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ที่เป็นปีติสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
สุขสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
๖. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยสุข-
สหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์
๑ ที่เป็นสุขสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.
๑. องค์ธรรมของสุขสหคตธรรม ได้แก่ สุขสหคตจิต ๖๓ เจ. ๔๖. (เว้นเวทนาขันธ์) เพราะ
ฉะนั้น จึงแสดงได้เพียงนามขันธ์ ๓ อาศัยกันเท่านั้น
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 556
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.
[๔๖๗] ๗. อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัย
ขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๔๖๘] ๘. ปีติสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม และสุข-
สหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นปีติสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ที่เป็นปีติสหคต-
ธรรม และสุขสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ ที่เป็นปีติสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
๙. สุขสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม และสุข-
สหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ ที่เป็นสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ที่เป็นปีติสหคต-
ธรรมและสุขสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ ที่เป็นสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น
ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 557
๑๐. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยปีติ-
สหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์
๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม
อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.
เหตุปัจจัย จบ
[๔๖๙] ปีติสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณ๑ปัจจัย, เพราะอธิปติปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ไม่มี.
เพราะ อนันตรปัจจัย เพราะ สมนันตรปัจจัย เพราะ สหชาตปัจจัย
เพราะ อัญญมัญญปัจจัย เพราะ นิสสยปัจจัย เพราะ อุปนิสสยปัจจัย
เพราะ ปุเรชาตปัจจัย ในปุเรชาตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ไม่มี.
เพราะ อาเสวนปัจจัย ในอาเสวนปัจจัย วิบาก ไม่มี.
เพราะ กัมมปัจจัย เพราะ วิปากปัจจัย เพราะ อาหารปัจจัย เพราะ
ฯลฯ เพราะ อินทริยปัจจัย เพราะ ฌานปัจจัย เพราะ มัคคปัจจัย เพราะ
สัมปยุตตปัจจัย เพราะ วิปปยุตตปัจจัย เพราะ อัตถิปัจจัย เพราะ นัตถิ-
ปัจจัย เพราะ วิคตปัจจัย เพราะ อวิคตปัจจัย.
มาติกา จบ
๑. ตั้งแต่อารัมมณปัจจัย ถึง อวิคตปัจจัย แต่ละปัจจัย มี ๑๐ วาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 558
การนับจำนวนวาระในอนุโลมนัยแห่งปฏิจจวาระ
สุทธมูลกนัย
[๔๗๐] ในเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑๐ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๑๐ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๐ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย
มี ๑๐ วาระ ในอาเสวนปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๐ วาระ ใน
วิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี
๑๐ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในสัม-
ปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี
๑๐ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอวิคต-
ปัจจัย ทั้งหมด มีปัจจัยละ ๑๐ วาระ.
การนับอนุโลม พึงนับอย่างนี้.
อนุโลม จบ
ปัจจนียนัย
นเหตุปัจจัย
[๔๗๑] ๑. ปีติสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ
ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 559
๒. สุขสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม
ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
๓. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยปีติ
สหคตธรรม เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์
๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ๒.
[๔๗๒] ๔. สุขสหคตธรรม อาศัยสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ,
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.
๕. ปีติสหคตธรรม อาศัยสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นปีติสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นสุขสหคต-
ธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
๖. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยสุข-
สหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นสุขสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 560
[๔๗๓] ๗. อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ
ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.
ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอุเบกขาสหคต-
ธรรม ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ อาศัยขันธ์
ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.
[๔๗๔] ๘. ปีติสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม และสุข-
สหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ ที่เป็นปีติสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคต-
ธรรม และสุขสหคธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒.
๙. สุขสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม และสุข-
สหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ ที่เป็นสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม
และสุขสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.
๑๐. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยปีติ-
สหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 561
คือ ขันธ์ ๒ ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ ๑
ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ, ขันธ์ ๑ อาศัย
ขันธ์ ๒.
[๔๗๕] ๑. ปีติสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนอธิปติปัจจัย
นอธิปติปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ พึงใส่ให้เต็ม.
เพราะนปุเรชาตปัจจัย พึงกำหนดว่า ในอรูปและในปฏิสนธิขณะ
ด้วย.
ฯลฯ เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย
นกัมมปัจจัย
๑. ปีติสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะน-
กัมมปัจจัย
คือ เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคต-
ธรรม.
๒. สุขสหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะน-
กัมมปัจจัย.
คือ เจตนาที่เป็นสุขสหคตธรรม อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคต-
ธรรม.
วาระทั้ง ๑๐ พึงให้พิสดารโดยเหตุนี้.
ปีติสรหคตธรรม อาศัยปีติสหคตธรรม เกิดขึ้น เพราะ
นวิปากปัจจัย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 562
พึงใส่ให้เต็ม, ปฏิสนธิไม่มี.
นฌานปัจจัย
[๔๗๖] ๑. สุขสหคตธรรม อาศัยสุขสหคตธรรม เกิดขึ้น
เพราะนฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ ที่เป็นสุขสหคต-
ธรรม, ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๒.
[๔๗๗] ๒. อุเบกขาสหคตธรรม อาศัยอุเบกขาสหคตธรรม
เกิดขึ้น เพราะนฌานปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยจตุวิญญาณ, ขันธ์ ๑ อาศัย
ขันธ์ ๒.
เพราะนมัคคปัจจัย เหมือนกับ เพราะนเหตุปัจจัย โมหะไม่มี.
เพราะนวิปปยุตตปัจจัย. อรูปปัญหาเท่านั้น พึงใส่ให้เต็ม.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๔๗๘] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ
ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในน-
อาเสวนปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี
๑๐ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๒ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๑๐วาระ.
ปัจจนียะ พึงกระทำให้บริบูรณ์.
ปัจจนียะ จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 563
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๔๗๙] เพราะเหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ. . .ในน
ปุเรชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอาเสวน-
ปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑๐
วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ.
อนุโลมปัจจนียะ พึงนับโดยพิสดาร.
อนุโลมปัจจนียะ จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๔๘๐] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑๐ วาระ. . .ใน
อนันตรปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในสหชาตปัจจัย
มี ๑๐ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ
ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอาเสวนปัจจัย
มี ๑๐ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ ใน
อาหารปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในฌานปัจจัย
มี ๑๐ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนัตถิปัจจัย
มี ๑๐ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ.
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาระ จบ
สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี สังสัฏฐวาระก็ดี
สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับ ปฏิจจวาระ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 564
ปัญหาวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๔๘๑] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
[๔๘๒] ๒. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๔๘๓] ๓. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม
และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 565
[๔๘๔] ๔. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ฯลฯ
๕. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ฯลฯ
๖. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคต-
ธรรม ฯลฯ
ในสุขมูละ มี ๓ นัย.
[๔๘๕] ๗. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
[๔๘๖] ๘. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
ปีติสหคตธรรม ฯลฯ
๙. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ฯลฯ
๑๐. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็น
ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วย
อำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 566
๒. อารัมมณปัจจัย
[๔๘๗] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมด้วยจิตที่เป็น
ปีติสหคตธรรมแล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้นด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม.
บุคคลออกจากฌานที่เป็นปีติสหคตธรรม ออกจากมรรค ออกจากผล
แล้ว พิจารณากุศลกรรนนั้นด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม.
พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นปีติสหคตธรรม
พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อนด้วยจิต
ที่เป็นปีติสหคตธรรม.
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม โดยความเป็น
ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม ย่อมยินดี
ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นปีติสหคตธรรม ย่อม
เกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
ปีติสหคตธรรมย่อมเกิดขึ้น.
[๔๘๘] ๒. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือบุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมด้วยจิตที่เป็น
ปีติสหคตธรรมแล้ว พิจารณาด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 567
บุคคลออกจากฌานที่เป็นปีติสหคตธรรม, ออกจากมรรค, ออกจาก
ผลแล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้นด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม.
พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นปีติสหคตธรรม
พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้ว ในกาลก่อนด้วยจิต
ที่เป็นสุขสหคตธรรม.
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม โดยความเป็น
ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม ย่อมยินดี
ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นสุขสหคตธรรม ย่อม
เกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
สุขสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
[๔๘๙] ๓. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมด้วยจิตที่เป็น
ปีติสหคตธรรม แล้วพิจารณากุศลธรรมนั้นด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม
บุคคลออกจากฌานที่เป็นปีติสหคตธรรม, ออกจากมรรค, ออกจาก
ผล, แล้วพิจารณากุศลกรรมนั้น ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.
พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นปีติสหคตธรรม
พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อนด้วยจิต
ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 568
บุกคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม โดยความเป็น
ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ย่อม
ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอุเบกขาสหคต-
ธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉาย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม ด้วย
เจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อุเบกขาสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
[๔๙๐] ๔. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และ
สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน มาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่เป็น
ปีติสหคตธรรมแล้ว พิจารณากุศลกรรม ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และ
สุขสหคตธรรม.
บุคคลออกจากฌานที่เป็นปีติสหคตธรรม. ออกจากมรรค. ออกจาก
ผลแล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้นด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคต-
ธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 569
พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้วที่เป็นปีติสหคตธรรม,
พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ด้วยจิต
ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม โดยความเป็น
ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และ
สุขสหคตธรรม, ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น
ราคะที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อม
เกิดขึ้น.
เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
[๔๙๑] ๕. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
๖. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ฯลฯ
๗. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ
๘. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่
เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 570
[๔๙๒] ๙. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมด้วยจิตที่เป็น
อุเบกขาสหคตธรรมแล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้น ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคต-
ธรรม
บุคคลออกจากฌานที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ออกจากมรรค ฯลฯ
ออกจากผลแล้ว พิจารณากุศลธรรมนั้นด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.
พระอริยะทั้งหลาย พิจารนากิเลสที่ละแล้วที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม,
พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว, รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อนด้วยจิต
ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม โดยความ
เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม,
ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอุเบกขา-
สหคตธรรมย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น วิจิกิจฉา ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ
ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม
ด้วยเจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจ
ของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 571
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่
เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังส-
ญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่
เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
[๔๙๓] ๑๐. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคต-
ธรรม ฯลฯ
๑๑. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ฯลฯ
๑๒. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมด้วยจิตที่เป็น
อุเบกขาสหคตธรรมแล้ว พิจารณากุศลกรรมนั้นด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม
และสุขสหคตธรรม.
บุคคลออกจากฌานที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม, ออกจากมรรค, ออก
จากผลแล้ว, พิจารณากุศลกรรมนั้นด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และเป็นสุข
สหคตธรรม.
พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอุเขกขาสหคตธรรม
พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นและในกาลก่อน ด้วย
จิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 572
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม โดยความ
เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และ
สุขสหคตธรรม ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ
ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิย่อมเกิดขึ้น.
เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
[๔๙๔] ๑๓. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย
แก่ปีติสหคตธรรม ฯลฯ
๑๔. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ฯลฯ
๑๕. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วย-
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ด้วยจิตที่เป็น
ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสหคตธรรม และสุขสหคต-
ธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ด้วยจิตที่เป็น
อุเบกขาสหคตธรรม ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น
ราคะที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ
อุทธัจจะ ย่อมเกิดขึ้น.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 573
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรมและ
สุขสหคตธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากกัมมูปคตญาณ แก่อนาคตังส-
ญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และเป็นสุขสหคต-
ธรรม ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ย่อมเกิดขึ้น
[๔๙๕] ๑๖. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย-
แก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย ฯลฯ
๓. อธิปติปัจจัย
[๔๙๖] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระ
ทำอุโบสถกรรมด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรมแล้ว กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรมแล้ว พิจารณา.
บุคคลออกจากฌานที่เป็นปีติสหคตธรรม ออกจากมรรค ออกจาก
ผลแล้ว กระทำฌานเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นด้วยจิตที่เป็นปีติ-
สหคตธรรมแล้ว พิจารณา.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 574
บุคคลกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่าง
หนักแน่น ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรมแล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง
เพราะกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่เป็นปีติสหคตธรรม
ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นปีติสหคตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๔๙๗] ๒. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทานด้วยจิตที่เป็นปีติ-
สหคตธรรม ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นปีติสหคตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติ
ปัจจัย.
[๔๙๘] ๓. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทานด้วยจิตที่
เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ แล้ว กระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก
แน่นด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 575
[๔๙๙] ๔. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม
และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทานด้วยจิตที่เป็นปีติสหคต-
ธรรม ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นปีติสหคตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๕๐๐] ๕. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่บุคคลให้ทานด้วยจิตที่เป็นสุขสหคต-
ธรรม ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสุขสหคตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๕๐๑] ๖. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 576
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสุขสหคตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติ-
ปัจจัย.
[๕๐๒] ๗. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ฯลฯ
[๕๐๓] ๘. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม
และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสุขสหคตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๕๐๔] ๙. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม
เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 577
[๕๐๕] ๑๐. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ฯลฯ
๑๑. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ฯลฯ
[๕๐๖] ๑๒. อุเบกขาสหคตธรรม ปัจจัยเป็นแก่ปีติสหคต-
ธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ฯลฯ
[๕๐๗] ๑๓. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย
แก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นปีติสหคตธรรม
และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[๕๐๘] ๑๔. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย
แก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 578
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นปีติสหคตธรรม
และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
[๕๐๙] ๑๕. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย
แก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ฯลฯ
[๕๑๐] ๑๖. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย
แก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ฯลฯ
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นปีติสหคตธรรม
เละสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม
และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
๔. อนันตรปัจจัย
[๕๑๑] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 579
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคต ธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
พึงแสดงว่าเป็นปัจจัยสำหรับบททั้งปวง ด้วยเหตุนี้.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน, โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน
เป็นปัจจัยแก่มรรค, มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล, ผลเป็นปัจจัยแก่ผล, อนุโลม
เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๕๑๒] ๒. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่เป็นสุขสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่โวทานที่เป็นสุขสหคต-
ธรรม ฯลฯ
อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นสุขสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 580
[๕๑๓] ๓. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ จุติจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็น
อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ภวังค์ที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
วิบากมโนวิญญาณธาตุที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กิริยามโน-
วิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ภวังค์ที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นอุเบกขาสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
กุศลอกุศลที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอุเบกขา-
สหคตธรรม, กิริยาเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ, ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๕๑๔] ๔. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรมและ
สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่เป็นปีติสหคต-
ธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย ฯลฯ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 581
อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นปีติสหคต-
ธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๕๑๕] ๕. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรมที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจอนันตรปัจจัย.
อนุโลมที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่เป็นสุขสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย ฯลฯ
อนุโลมที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นสุขสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๕๑๖] ๖. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรมที่เกิดหลัง ๆ ฯลฯ
อนุโลมที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นปีติสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๕๑๗] ๗. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 582
คือ จุติจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็นอุเบกขา-
สหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ภวังค์ที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนวิญญาณธาตุ
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
วิบากมโนวิญญาณธาตุที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่กิริยามโน-
วิญญาณธาตุ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ภวังค์ที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นอุเบกขาสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
กุศลอกุศลที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอุเบกขา-
สหคตธรรม, กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๕๑๘] ๘. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และ
สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรมที่เกิดหลัง ๆ ฯลฯ
อนุโลมที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นปีติสหคต-
ธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 583
[๕๑๙] ๙. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรมที่เกิดหลัง ๆ ฯลฯ.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ปัญจวิญญาณ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
อนุโลมที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติที่เป็นอุเบก-
ขาสหคตธรรม.
เนวสัญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผล-
สมาบัติที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๕๒๐] ๑๐. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคต-
ธรรมด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ จุติจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็น
ปีติสหคตธรรม.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม.
วิบากมโนธาตุ เป็นปัจจัยแก่วิบากมโนวิญญาณธาตุที่เป็นปีติสหคต-
ธรรม.
ภวังค์ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์ที่เป็นปีติสหคต-
ธรรม.
กุศลอกุศลที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นปีติ-
สหคตธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 584
กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.
ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.
เนวสัญญานาสัญญายตนะของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผล
สมาบัติที่เป็นปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๕๒๑] ๑๑. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคต-
ธรรม
๑๒. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
พึงกำหนดถือเอาข้อความตามบาลีข้างต้นนั้นแหละ เป็นอรรถาธิบาย
ในที่นี้ด้วย.
[๕๒๒] ๑๓. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย
แก่ปีติสหคตธรรม ฯลฯ
๑๔. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ฯลฯ
๑๕. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย
คือ จุติจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย
แก่อุปปัตติจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.
ภวังค์ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
อาวัชชนะ.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 585
วิบากมโนวิญญาณธาตุที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม
เป็นปัจจัยแก่กิริยามโนวิญญาณธาตุ.
ภวังค์ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ภวังค์
ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม กุศลและอกุศลที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคต-
ธรรมเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.
กิริยา เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ.
ผล เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๕๒๓] ๑๖. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย
แก่ปีติสหคตธรรม และแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรมที่เกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ฯลฯ.
อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
ผลสมาบัติที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.
๕. สมนันตรปัจจัย
[๕๒๔] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย
เหมือนกับ อนันตรปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 586
๖. สหชาตปัจจัย
[๕๒๕] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ด้วยอำนาจของสหชาต
ปัจจัย.
เหมือนกับ ปฏิจจวาระ ในสหชาตปัจจัย ปัญหาวาระมี ๑๐ วาระ.
๗. อัญญมัญญปัจจัย
๘. นิสสยปัจจัย
[๕๒๖] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย. เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสย-
ปัจจัย.
พึงกระทำให้เป็น ๑๐ วาระ.
๙. อุปนิสสยปัจจัย
[๕๒๗] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมูณธิปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 587
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน สมาทาน-
ศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นปีติสหคตธรรมให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา
ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็น
ปีติสหคตธรรม.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ สุตะ ฯลฯ จาคะ ฯลฯ
ปัญญา แล้วให้ทาน สมาทานศีล ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นปีติ-
สหคตธรรม.
บุคคลเข้าไปอาศัยราคะที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ โมหะ มานะ ทิฏฐิ
ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม, ยังฌานที่
เป็นปีติสหคตธรรมให้เกิดขึ้น ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคต-
ธรรม.
บุคคลย่อมถือเอาสิ่งของที่ผู้อื่นมิได้ให้, กล่าวเท็จ, กล่าวส่อเสียด,
พูดเพ้อเจ้อ, ตัดช่องย่องเบา, ลอบขึ้นไปลักทรัพย์ ปล้นบ้านหลังหนึ่ง, ดัก
ปล้นตามทาง ผิดภรรยาผู้อื่น ฆ่าคนในหมู่บ้าน ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็น
ปีติสหคตธรรม.
ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ
โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ที่เป็นปีติสหคต-
ธรรม แก่ศีล สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ แก่ความ
ปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๕๒๘] ๒. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 588
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็น ปีติสหคตธรรม ให้ทาน ฯลฯ ยังสมา-
บัติให้เกิดขึ้น ก่อมานะ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปีติสหคตธรรม สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ
โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังสมาบัติ ให้เกิดขึ้น
ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม.
บุคคลย่อมถือเอาสิ่งของที่เจ้าของเขามิได้ให้ ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วย
จิตที่เป็นสุขสหคตธรรม.
ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม แก่ความปรารถนา แก่กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๕๒๙] ๓. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยัง
อภิญญาให้เกิดขึ้น ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็น
อุเบกขาสหคตธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 589
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนาแล้ว
ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.
ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา
ที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๕๓๐] ๔. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และ
สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม แล้วให้ทาน ฯลฯ ถือ
ทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ
แล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคต-
ธรรม.
ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่
ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม แก่ความปรารถนา ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๕๓๑] ๕. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 590
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือ
ทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ
กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิต
ที่เป็นสุขสหคตธรรม.
ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ กายวิญญาณ
ที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม แก่ความ
ความปรารถนา แก่กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๕๓๒] ๖. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือ
ทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 591
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ
อาศัยกายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรม แล้วให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วย
จิตที่เป็นปีติสหคตธรรม.
ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ กายวิญญาณ
ที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม แก่ความ
ปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๕๓๓] ๗. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยัง
อภิญญาให้เกิดขึ้น ฯลฯ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ
กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรม ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็น
อุเบกขาสหคตธรรม.
ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ กายวิญญาณ
ที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม แก่ความ
ปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 592
[๕๓๔] ๘. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม
และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือ
ทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.
บุคคลเข้าไปอาศัลศีลที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ
กายวิญญาณที่เป็นสุขสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิต
ที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.
ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ กายวิญญาณ
ที่เป็นสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุข-
สหคตธรรม แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๕๓๕] ๙. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยะปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ
ยังอภิญญาให้เกิดขึ้น ฯลฯ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 593
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา
แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคมด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.
ศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ เป็น
ปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
[๕๓๖] ๑๐. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ
ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา
แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นสหคตธรรม.
ศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัย
แก่ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๕๓๗] ๑๑. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 594
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ
ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา
แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม.
ศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัย
แก่ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม แก่ความปรารถนา แก่กายวิญญาณที่เป็นสุข-
สหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๕๓๘] ๑๒. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติติสหคต-
ธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรมแล้ว ให้ทาน ฯลฯ
ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา
แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุข-
สหคตธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 595
ศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัย
แก่ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม แก่ความปรารถนา ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๕๓๙] ๑๓. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย
แก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม
แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ฯลฯ
ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม
ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
[๕๔๐] ๑๔. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย
แก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 596
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม
แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ฯลฯ
ความปรารถนาแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นสุขสหคตธรรม
ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นสุขสหคตธรรม แก่ความปรารถนา แก่กายวิญญาณ
ที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๕๔๑] ๑๕. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย
แก่อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม
แล้ว ให้ทาน ฯลฯ ยังอภิญญาให้เกิดขึ้น ฯลฯ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขา
สหคตธรรม.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรมแล้ว
ให้ทาน ฯลฯ ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 597
ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม แก่ความปรารถนา ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย.
[๕๔๒] ๑๖. ปีตสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย
แก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย
มี ๓ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม
แล้ว ให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นปีติสหคตธรรม
และสุขสหคตธรรมให้เกิดขึ้น ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติ ให้
เกิดขึ้น ฯลฯ ก่อมานะ ถือทิฏฐิ ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.
บุคคลเข้าไปอาศัยศีลที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ฯลฯ
สุตะ จาคะ ปัญญา ราคะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ความปรารถนาแล้ว ให้
ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรม ยังฌานที่เป็นปีติสหคตธรรม และ
สุขสหคตธรรม ฯลฯ ยังวิปัสสนา ฯลฯ ยังมรรค ฯลฯ ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น
ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม.
บุคคลย่อมถือเอาสิ่งของที่ผู้อื่นมิได้ให้ กล่าวเท็จ กล่าวส่อเสียด พูด
เพ้อเจ้อ ตัดช่องย่องเบา ลอบขึ้นไปลักทรัพย์ ปล้นบ้านหลังหนึ่ง ดักปล้นตาม
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 598
ทาง ผิดภรรยาผู้อื่น ฆ่าคนในหมู่บ้าน ฆ่าคนในนิคม ด้วยจิตที่เป็นปีติสหคต-
ธรรม และสุขสหคตธรรม.
ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ฯลฯ ความปรารถนา
เป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่เป็นปีติสหคตธรรมและสุขสหคตธรรม ฯลฯ แก่ความ
ปรารถนา ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
๑๐. อาเสวนปัจจัย
[๕๔๓] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่เป็นปีติสหคต-
ธรรม.
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน.
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค.
โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๕๔๔] ๒. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 599
อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่โคตรภูที่เป็นสุขสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
อนุโลมที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่โวทานที่เป็นสุขสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
โคตรภูที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นสุขสหคตธรรม
โวทานที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นสุขสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๕๔๕] ๓. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม
และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย ฯลฯ.
โวทานที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นปีติสหคตธรรม
และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๕๔๖] ๔. สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ฯลฯ
๕. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ฯลฯ.
๖. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย ฯลฯ
พึงดูปีตินัย แล้วกระทำไปตามนั้น
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 600
[๕๔๗] ๑. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ที่เกิดหลังๆ ด้วยอำนาจของอาเสวน-
ปัจจัย ฯลฯ
โวทานที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่มรรคที่เป็นอุเบกขา
สหคตธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
[๕๔๘] ๘. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย
แก่ปีติสหคตธรรม ฯลฯ
๙. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ สุขสหคตธรรม ฯลฯ
๑๐. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุขสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรมที่เกิด
ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม
ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย ฯลฯ
โวทานที่เป็นปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรมเป็นปัจจัยแก่มรรค
ที่เป็นปีติสหคตธรรมและสุขสหคตธรรม
๑๑. กัมมปัจจัย
[๕๔๙] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 601
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติ-
สหคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๕๕๐] ๒. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัม-
ปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
สุขสหคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 602
[๕๕๑] ๓. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอุเบกขา
สหคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๕๕๒] ๔. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรมและ
สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
ที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปีติ-
สหคตธรรมและสุขสหคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๕๕๓] ๕. สุขสกคตธรรมเป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ฯลฯ
พึงดูแล้ว กระทำการนับทั้ง ๔ วาระต่อไป.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 603
[๕๕๔] ๙. อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
๑๐. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจ
ของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ.
๑๑. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจ
ของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียวคือ นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม
๑๒. ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และสุข
สหคตธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือ นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอุเบกขาสหคตธรรม ฯลฯ
๑๓. ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัย
แก่ปีติสหคตธรรม ฯลฯ
พึงกระทำเป็น ๔ วาระ (รวมเป็น ๑๖ วาระ)
ผู้มีปัญญาพึงแจก ปีติสหคตธรรม.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 604
๑๒. วิปากปัจจัย
[๕๕๕] ๑. ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรมด้วย
อำนาจของวิปากปัจจัย
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓
ฯลฯ ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ฯลฯ.
พึงทำ วิปากปัจจัยทั้ง ๑๐ วาระ ให้พิสดาร เหมือนกับ เหตุปัจจัย
ในปฏิจจวาระ.
๑๓. อาหารปัจจัย ฯลฯ ๑๗. อัตถิปัจจัย
[๕๕๖] ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วย
อำนาจของอาหารปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย.
พึงทำทุกปัจจัยปัจจัยละ ๑๐ วาระ ให้พิสดาร.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 605
๑๘. นัตถิปัจจัย ๑๙. วิคตปัจจัย
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของวิคตปัจจัย.
นัตถิปัจจัยก็ดี วิคตปัจจัยก็ดี เหมือนกับ อนันตรปัจจัย.
๒๐. อวิคตปัจจัย
เป็นปัจจัยด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในอนุโลมแห่งปัญหาวาระ
สุทธมูลกนัย
[๕๕๗] ในเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๑๖ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๑๖ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๐ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในอาเสวนปัจจัย
มี ๑๐ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ ใน
อาหารปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในฌานปัจจัย มี
๑๐ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ใน
อัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๖ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑๖
วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ
ผู้มีปัญญาพึงนับตาม กุสลติกะอนุโลม.
อนุโลม จบ
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 606
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ
[๕๕๘] ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย.
[๕๕๙] ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย.
[๕๖๐] ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย.
[๕๖๑] ปีติสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และ
สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๕๖๒] สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 607
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย.
[๕๖๓] สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
กัมมปัจจัย.
[๕๖๔] สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุเบกขาสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๕๖๕] สุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม และ
สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๕๖๖] อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัย แก่อุเบกขาสหคต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๕๖๗] อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย. เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยะ
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 608
[๕๖๘] อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่สุขสหคตธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสย-
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๕๖๙] อุเบกขาสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปีติสหคตธรรม
และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๕๗๐] ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
ปีติสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็น
ปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๕๗๑] ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
สุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๕๗๒] ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
อุเบกขาสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
[๕๗๓] ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม เป็นปัจจัยแก่
ปีติสหคตธรรม และสุขสหคตธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
อุปนิสสยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 609
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะแห่งปัญหาวาระ
สุทธมูลกนัย
[๕๗๔] ในนเหตุปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๖
วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในน-
สมนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนสหชาตปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนอัญญมัญญ-
ปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนนิสสยปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี
๑๖ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๖ วาระ
ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๖ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๑๖ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑๖ วาระ
ในนฌานปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนสัมมปยุตต-
ปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในโนอัตถิปัจจัย มี
๑๖ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๑๖ วาระ ใน
โนอวิคตปัจจัย มี ๑๖ วาระ.
ผู้มีปัญญาพึงนับปัจจนียะ.
ปัจจนียะ จบ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๕๗๕] เพราะนเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๑๐ วาระ. . .ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอนันตรปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนสมนันตร-
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 610
ปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี
๑๐ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๑๐ วาระ
ในนกัมมปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนอาหารปัจจัย
มี ๑๐ วาระ ในนอินทริยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนฌานปัจจัย มี ๑๐ วาระ
ในนมัคคปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๑๐วาระ ในโนนัตถิ-
ปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในโนวิคตปัจจัย มี ๑๐วาระ.
ผู้มีปัญญาพึงนับอนุโลมปัจจนียะ.
อนุโลมปัจจนียะ จบ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๕๗๖] เพราะนหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๑๖ วาระ. . . ใน
อธิปติปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในอนันตรปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๑๖ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑๐ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในอาเสวนปัจจัย
มี ๑๐ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑๐ วาระ ใน
อาหารปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในฌานปัจจัย มี
๑๐ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๑๐ วาระ ใน
พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๒ - หน้าที่ 611
อัตถิปัจจัย มี ๑๐ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๑๖ วาระ ในวิคตปัจจัย มี ๑๖
วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑๐ วาระ.
ผู้มีปัญญาพึงนับปัจจนียานุโลม.
ปัจจนียานุโลม จบ
ปีติติกะ ที่ ๗ จบ
อรรถกถาปีติติกะ
ใน ปีติติกะ คำว่า ภวังค์ที่สหรคตด้วยสุข เป็นปัจจัยแก่
ภวังค์ที่สหรคตด้วยอุเบกขา ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย พระผู้มี-
พระภาคเจ้า ตรัสด้วยอำนาจของตทารัมมณะ ภวังค์ และมูลภวังค์ คำที่เหลือ
ทั้งหมดในอธิการนี้ พึงทราบด้วยอำนาจบาลีนั่นเอง.
อรรถกถาปีติติกะ จบ